ด้วยพระบุญญาธิการ 20 ช้างเผือกคชสารแห่งบารมี

ในห้อง 'ในหลวงกับพุทธศาสนา' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 พฤศจิกายน 2008.

แท็ก: แก้ไข
  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%">

    ลักษณะสำคัญของช้างเผือก

    โดยที่ช้างเผือกได้มีราชประเพณีนิยมนับถือ มีความสำคัญแก่บ้านเมืองมาแต่โบราณ การได้ช้างเผือกเท่าที่มีหลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ๔ วิธีคือ
    ๑. ทำการแทรกโพนคล้องช้าง คือวิธีการได้มาจากบนยอดภูเขาสูง หรือมาจากที่อยู่ในป่าใหญ่
    ๒. ตั้งคอกดัก
    ๓. ลูกช้างตกในบ้าน ( ช้างพังที่เลี้ยงไว้ตกลูกช้างออกมา )
    ๔.ตามกฎหมายว่าด้วยช้างป่า มีบัญญัติไว้ดังนี้...........ฯ
    ๑. ตาขาว
    ๒. เพดานขาว
    ๓. เล็บขาว
    ๔. ขนขาว
    ๕.พื้นหนังขาวหรือคล้ายสีหม้อใหม่
    ๖. ขนหางยาว
    ๗. อัณฑโกศขาวหรือคล้ายหม้อใหม่
    (มาตราถัดต่อไป)

    [​IMG]


    เมื่อช้างเผือกเกิดขึ้นในแผ่นดิน ตามตำราคชศาสตร์และตามพระราชบัญญัติกฎหมายดังกล่าวแล้ว ทางราชการย่อมประกอบพระราชพิธีรับขึ้นระวางสมโภชเป็นพระยาช้างต้น หรือช้างเผือกตามคตินิยมอันเป็นพระราชประเพณีที่มีมาแต่โบราณ
    </td></tr></tbody></table></center>​
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%"> ช้างสำคัญ ๓ เชือก เป็นสมบัติของแผ่นดินต้องนำขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และจะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานบำเหน็จให้ตามสมควรตามมาตรา ๑๒ แห่ง พ.ร.บ.รักษาช้างป่า พ.ศ. ๒๔๖๔ ช้างสำคัญทั้ง ๓ เชือก มีประวัติดังนี้

    พลายภาศรี กิดประมาณเดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ จากแม่ช้างป่าในเขตุตำบล สองพี่น้อง อ. ท่ายาง จ. เพชรบุรี

    [​IMG]

    ขณะที่อายุได้ประมาณ ๑ สัปดาห์ ชาวบ้านกะเหรี่ยงหนองปืนแตก จับได้(ฆ่าแม่ช้างตาย)และนำไปขายให้ตำรวจ ต.ช.ด.หมวดโจมตี ๗๐๖ บ้านหนองมน ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่ายาง ในราคา ๒๐๐๐ บาท ต่อมาเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๑๙ ต.ช.ด.ที่รับซื้อได้ติดต่อขายให้กับนายสุรเดช มหารมย์ กรรมการผู้จัดการ บ.ภาศรีฟาร์มจำกัด รับซื้อไว้เป็นช้างของบริษัท ฯ ในราคา ๓๐๐๐ บาท นำมาเลี้ยงไว้ที่ฟาร์มของบริษัทไกล้อ่างแก่งกระจาน เพชรบุรีและตั้งชื่อช้างเชือกนี้ว่า " ภาศรี"

    </td> </tr> <tr> <td width="100%"> </td></tr></tbody></table></center>​
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%"> ๒. พังขวัญตา เกิดเมื่อประมาณเดือนพฤศจิกายน ๒๕๑๙จากแม่ช้างป่าในเขตุพื้นที่ป่าเด็ง ป่า ชุม ต.สองพี่น้อง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี เมื่ออายุได้ประมาณ ๒ สัปดาห์ ชาวบ้านจากอำเภอ ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งรับจ้างทำไม้ให้แก่นายสนิท ศิริวานิช กำนัน ต. เขาย้อย อ.ปราณบุรี ได้เข้าไปทำไม้ในเขตป่าละอู ป่าเด็ง ป่าชุม อ.ท่ายาง คนงานได้พบโขลงช้าง และจับได้ลูกช้างนำมามอบให้กำนันสนิท และนำออกมาทาง ต.ห้วยทรายเหนือ อ.ชะอำ กำนันสนิทได้ให้รางวัลลูกจ้างคนงานทำไม้ที่นำช้างมาให้เป็นเงิน ๕๐๐๐ บาท และตั้งชื่อให้ลูกช้างว่า " กำพร้า " ต่อมากำนันสนิท ศิริวานิชได้ถึงแก่กรรมทายาทจึงได้ถวายลูกช้างพังกำพร้าให้แก่พระปลัดบุญส่ง ธมมปาโล เจ้าอาวาสวัดเขาบรรไดอิฐ อำเภอเมืองเพชรบุรี

    [​IMG]

    ( มีข่าวเล่าลือเกี่ยวกับช้างพังขวัญตาเชือกนี้ว่า เจ้าของผู้ที่ครอบครองช้างพังขวัญตามักมีอันเป็นไปดังเช่นคนงานผู้จับช้างพังขวัญตามาให้กำนันสนิท ถูกคนร้ายยิงตาย ต่อมาเมื่อช้างตกมาอญู่กับกำนันสนิทเพียง ๑ วัน กำนันสนิทพร้อมกับคนใกล้ชิดก็ถูกคนร้ายยิงตายที่หน้าบ้าน รวม ๔ คน และเจ้าอาวาสวัดเขาบรรไดอิฐคนปัจจุบันเชื่อว่า ช้างพังขวัญตาเป็นช้างที่มีอาถรรพ์ทำให้เจ้าของผู้ครอบครอง ประสบเคราะห์กรรมถึงแก่ชีวิตเจ้าของเดิมจึงต้องถวายวัด)
    กำนัน สนิทเดิมมีภูมิลำเนาอยู่ที่ต.หาดเจ้าสำราญเคยบวชที่วัดเขาบรรไดอิฐเป็นลูก ศิษย์หลวงพ่อแดงทายาทจึงพร้อมใจกันถวายที่วัดนี้เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฏาคม ๒๕๒๗ และได้ให้ชื่อใหม่ว่า " พังขวัญตา "

    </td> </tr> <tr> <td width="100%">
    เชือกที่ ๓ พลายดาวรุ่ง
    </td></tr></tbody></table></center>​
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793

    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td width="100%"> ๓.พลายดาวรุ่ง เกิดเมื่อประมาณเดือนสิงหาคม ๒๕๒๐ จากแม่ช้างป่าในป่าชายแดนด่านสิงขร อ.เมือง จ.ประจวบฯ.เขตต่ดเมืองมะริด สหภาพพม่า ราษฏรได้นำมมาฝากขายไว้ที่วัดหนองหิน ต.คลองวาฬ อ.เมือง จ.ประจวบฯ. เจ้าอาวาสวัดหนองหินได้เล่าให้ท่านเล่าให้ท่านเจ้าคุณเทพประสิทธิคุณ(วัด ประยุรวงศ์ กรุงเทพฯ เจ้าคณะภาค ๑๕) ฟัง ว่ามีราษฏรนำลูกช้างมาไว้ที่วัด ๑ เชือก ท่านเจ้าคุณเทพประสิทธิคุณจึงได้มีหนังสือถึงเจ้าคณะเพชรบุรี(วัดยาง) ขอให้พระปลัดบุญส่งไปดูลูกช้างเชือกนี้เพื่อนำมาเลี้ยงเป็นเพื่อนกับพังขวัญ ตาพระปลัดบุญส่งได้ไปดูช้างเชือกนี้เห็นว่าเป็นลูกช้างตัวเล็กผอมดำยืนซึม เกรงว่าจะล้มและตายเสีย จึงเวทนายินดีที่จะรับมาเลี้ยง จึงได้นำรถยนต์ไปรับมาเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๒๑ และได้ให้เงินแก่เจ้าของไว้ ๗๐๐๐ บาท

    [​IMG]

    ได้นำมาถึงวัดเขาบันไดอิฐเมื่อเวลาใกล้รุ่ง จึงให้ชิ่อช้างเชือกนี้ว่า " ดาวรุ่ง " เมื่อพลายดาวรุ่งได้มาอยู่วัดเขาบันไดอิฐ พระปลัดบุญส่ง ฯ ได้เลี้ยงดูเป็นอย่างดี จึงมีสุขภาพแข็งแรง ผิวพรรณดีขึ้นกว่าเดิมอย่างรวดเร็วและมีกิติศัพท์ว่ามีลักษณะพิเศษ คือมีเล็บครบ ถูกต้องตามลักษณะ เจ้าของเดิมเคยติดต่อขอซื้อคืนแต่ทางวัดไม่ขายให้

    </td> </tr> <tr> <td width="100%"> </td></tr></tbody></table>
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="1" bordercolor="#ffffff" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%">

    พระราชพิธีรับและขึ้นระวางสมโภชช้างสำคัญ ๓ เชือก
    พระเศวตภาสุรคเชนทร์ ฯ พระบรมนขทัศ ฯ และพระเทพวัชรกิริณี
    วันที่ ๒๔ - ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๒๑

    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]

    </td> </tr> </tbody></table> </center> ​
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="1" bordercolor="#ffffff" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%">

    ภาพประวัติศาสตร์


    [​IMG]


    [​IMG]

    </td> </tr> </tbody></table> </center> ​
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกเมืองเพชร

    ข้อมูล นิทรรศการ ช้างเผือกเมืองเพชร ณ พระนครคีรี
    เวบไซต์โดย โรงเรียนบางจานวิทยา เพชรบุรี


    / ลักษณะช้างเผือก / พลายภาศรี / พังขวัญตา / พลายดาวรุ่ง / พระราชพิธีที่เพชรบุรี / ภาพประวัติศาสตร์ /
    <center> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber2" width="90%" border="1" bordercolor="#ffffff" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="100%">

    ภาพประวัติศาสตร์


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    </td> </tr> </tbody></table> </center> ​
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="75"><tbody><tr valign="top" align="left"><td width="29%" height="75">[​IMG]</td> <td width="15%" height="75"> [​IMG]</td> <td width="35%" height="75"> <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td valign="top" align="left"> [​IMG]</td> </tr> <tr> <td valign="top" align="left" bgcolor="#acd7b0"> <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="21"> <tbody><tr valign="top" align="left"> <td width="6%" height="49">[​IMG]</td> <td width="94%" height="49"> <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <form method="post" action="find.php3"></form> <tbody><tr> <td valign="middle" width="92%" align="right" height="40"> <input name="s" id="s" size="20" type="text"> </td> <td valign="top" width="8%" align="left" height="40"> </td> </tr> <tr> <td valign="top" width="92%" align="right" height="2"> <input name="imageField" src="http://www.thailandelephant.org/images/search03.gif" type="image" width="79" border="0" height="22"> </td> <td valign="top" width="8%" align="left" height="2"> </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td valign="top" align="left"> [​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr valign="top" align="left"><td width="2%" height="75">[​IMG]</td> <td width="74%" height="75"> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber32" width="100%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" height="81"> <tbody><tr> <td width="100%" height="1">
    </td> </tr> <tr> <td width="100%" height="19"> <table style="border-collapse: collapse;" id="AutoNumber33" width="100%" border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="3%"> </td> <td width="93%">[​IMG]</td> <td width="4%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="93%">
    </td> <td width="4%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="93%"> </td> <td width="4%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ตั้งแต่อดีตกาล ช้างเผือกถือเป็นสัตว์มงคลแห่งองค์พระมหากษัตริย์ ช้างเผือกในที่นี้ มิใช่ช้างที่เกิดลักษณะการสร้างเม็ดสีรงควัตถุ (Pigment) ของผิวหนังผิดปกติที่เรียกว่า Albino หากแต่เป็นช้างที่มีคชลักษณะที่ดีต้องตามตำราคชศาสตร์
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ช้างเผือกเป็นสิ่งที่หาได้ยากยิ่ง จึงถือว่าเป็นสิ่งสำคัญคู่บ้านคู่เมือง ทำให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล ทำให้บ้านเมืองรุ่งเรือง ช้างเผือกเป็นสิ่งหนึ่งในแก้ว ๗ ประการ อันเป็นเครื่องหมายของพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ ๑. จักรแก้ว ๒. ช้างแก้ว (เป็นช้างเผือกชื่ออุโบสถ) ๓. ม้าแก้ว ๔. มณีแก้ว ๕. นางแก้ว ๖. ขุนคลังแก้ว ๗.ขุนพลแก้ว ความนิยมเกี่ยวกับ ช้างเผือก ในอินเดียมีมาแต่ก่อนพุทธกาลแล้ว ดังนั้น แนวความเชื่อ และตำราเกี่ยวกับช้างเผือกในประเทศไทย ตลอดจนถึงพวกพม่า มอญ เขมร ลาว อาจมีมานานพอ ๆ กับระยะเวลาที่ศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนาแพร่มาถึงและจำเริญรุ่งเรืองในภูมิภาคแถบนี้ก็ว่าได้
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ตำราพระคชศาสตร์และกฏหมายเกี่ยวกับช้างเผือก</td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> "ช้างเผือก" เป็นคำสามัญ ที่คนส่วนใหญ่ เข้าใจว่าใช้เรียกช้างที่มีสีของผิวหนังเป็นสีขาวอมชมพูแกมเทา เช่นเดียวกับควายเผือก แต่การดูที่สีผิวอย่างเดียวจะไม่สามารถกำหนดได้ว่า ช้างเชือกนั้น ๆ เป็นช้างเผือกในความหมายของ "ช้างสำคัญ" ซึ่งมีมงคลลักษณะครบถ้วน นอกเหนือจากลักษณะอื่น ๆ ที่จะระบุว่าช้างนั้นอยู่ในพงศ์ใด ตระกูลใดแล้ว จึงจะถือเป็นช้างของผู้มีบุญญาธิการ ดังที่กล่าวข้างต้น
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> พระราชบัญญัติรักษาช้างป่าพุทธศักราช ๒๔๖๔ มาตรา ๔ ระบุว่า "ช้างสำคัญ" ให้พึงเข้าใจว่า เป็นช้างที่มีมงคลลักษณะ ๗ ประการตามตำราพระคชศาสตร์ (ตำราพระคชศาสตร์แบ่งเป็นสองตอน ตอนหนึ่งว่าด้วยแบบคชลักษณ์ คือรูปพรรณสัณฐานของช้างต่าง ๆ ซึ่งดีและชั่วถ้าได้ไว้จะให้คุณและให้โทษอย่างไร อีกตอนหนึ่งเป็นที่รวบรวมเวทมนต์เรียกว่า คชกรรม คือ กระบวนการจับช้างรักษาช้าง และบำบัด เสนียดจัญไรต่าง ๆ ) มงคลลักษณะ ๗ ประการ [​IMG]ประกอบด้วย ๑. ตาขาว ๒. เพดานปากขาว ๓. เล็บขาว ๔. ขนขาว ๕. พื้นหนังขาว หรือสีคล้ายหม้อใหม่ ๖. ขนหางขาว ๗. อัณฑโกสขาว หรือสีคล้ายหม้อใหม่ จากความหมายแห่งพระราชบัญญัตินี้ชี้ให้เห็นว่า "ช้างสำคัญ" คือช้างเผือกที่มีลักษณะครบถ้วน สำหรับช้างเผือกตามความหมายของคนทั่ว ๆ ไป ซึ่งสังเกตุจากลักษณะครบถ้วนก็ได้ ในกรณีที่ช้างมีลักษณะมงคลอย่างหนึ่งอย่างใด (หรือหลายอย่างแต่ไม่ครบ) ใน ๗ อย่าง ตามพระราชบัญญัติตามมาตรานี้ ให้เรียกว่า "ช้างประหลาด" หรือ "ช้างสีประหลาด" นอกจาก "ช้างสำคัญ" และ "ช้างประหลาด" แล้ว กฏหมายฉบับนี้ยังได้กล่าวถึง "ช้างเนียม" ไว้ด้วยโดยระบุลักษณะของช้างเนียมไว้ ๓ ประการ คือ พื้นหนังดำ งามีลักษณะดังรูปปลีกกล้วย และเล็บดำ ซึ่งเป็นลักษณะของช้างที่แปลกประหลาดและหายาก
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ช้างทั้งสามประเภทเป็นช้างคู่บารมีของพระมหากษัตริย์เท่านั้น ดังนั้นในมาตรา ๑๒ ของกฏหมายฉบับดังกล่าวจึงกำหนดให้ผู้ที่ครอบครองช้างสำคัญ ช้างประหลาดและช้างเนียม ต้องนำช้างดังกล่าว ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นช้างทรงต่อไปตามราชประเพณีที่ถือปฏิบัติมาแต่โบราณกาล ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะมีบทลงโทษ
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ช้างเผือกถือว่ามีศักดิ์สูงเทียบชั้นเจ้าฟ้า การอ่าน ฉันท์ ดุษฏี สังเวยและขับไม้สมโภชนั้น ถือว่าเป็น ของสูงจะมีได้เฉพาะในงานพระราชพิธีที่สำคัญ ๆ เพียง ๓ งานเท่านั้น คือ ๑. การสมโภชพระมหาเศวตฉัตร และเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ์ในงานพระราชพิธีฉัตรมงคล ๒. การสมโภชในงานพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอที่ดำรงพระยศชั้น "เจ้าฟ้า" และ ๓. พระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างสำคัญ ด้วยเหตุนี้ในสมัยโบราณจึงถือว่าช้างเผือกนั้นมีศักดิ์สูงเทียบชั้นเจ้าฟ้า
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> สัตว์เลี้ยงไว้คู่กับช้างเผือก สัตว์ที่จะนำมาเลี้ยงไว้คู่กับช้างเผือกมี ๒ ชนิด คือ ลิงเผือก และกาเผือก เพราะถือกันว่าสัตว์ทั้งสองชนิดนี้เป็นของคู่บุญของช้างเผือก และจะป้องกันสิ่งอวมงคลที่จะมาสู่ช้างเผือกได้
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> เมื่อมีเหตุเกิดแก่ช้างเผือกถือว่าเป็นลางร้าย หากมีเหตุต่าง ๆ เกิดขึ้นแก่ช้างเผือก เช่น เจ็บ งาหัก หรือล้ม เชื่อกันว่าเป็นลางร้ายของแผ่นดิน จะเกิดอาเพทเหตุภัยร้ายแรงขึ้นแก่บ้านเมืองและประชาชน หรือแม้แต่บ้านเมืองเกิดวิกฤตการณ์ช้างเผือกก็จะสำแดงอาการประหลาดต่าง ๆ ให้เห็น ทั้งจากความสำคัญในสถาบันหลักของแผ่นดินทั้งจากคติความเชื่อและประเพณี[​IMG]พิธีกรรม ต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าวัตรปฏิบัติระหว่างคนไทยกับช้างนั้นเป็นสัมพันธ์ที่แนบแน่นยิ่ง นัก ชาวต่างชาติต่างก็ประจักษ์ถึงความผูกพัน ระหว่างคนกับช้างในแผ่นดินสยามนี้มาเนิ่นนาน ดังจะเห็นได้จากบันทึกของลาลูแบร์ซึ่งเป็นเอกอัครราชทูตของพระเจ้ากรุง ฝรั่งเศสในสมัยอยุธยาได้บันทึกถึงความสัมพันธ์อันแนบแน่นนี้ว่า ชาวสยามพูดถึงช้างราวกับว่าช้างเป็นมนุษย์ เขาเชื่อกันว่าช้างมีความรู้สึกนึกคิดกอปรด้วยเหตุผลอันสมบูรณ์อย่างยิ่ง ดังกรณีที่สมเด็จพระนารายณ์ฯ ประทานลูกช้าง ๓ เชือก ไปถวายสมเด็จพระเจ้ากรุงฝรั่งเศส เมื่อคนเลี้ยงช้างนำช้างไปลงเรือ มีการรำพึงรำพันสั่งเสียเหมือนคนด้วยกัน จะต้องพรากจากกันดังที่ลาลูร์แบร์เล่าว่า
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> "เขาได้จัดลำเลียงลูกช้าง ๓ เชือก ซึ่งสมเด็จพระเจ้ากรุงสยามตรัสให้ส่งไปพระราชทานแด่พระเจ้าหลานยาเธอแห่งพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ฝรั่งเศส) ทั้ง ๓ พระองค์ ไปลงเรือ ครั้นคนสยาม ๓ คนที่นำช้างมาส่งถึงเรือกำปั่นคณะอัครราชฑูตแล้วก็รำพันร่ำลาลูกช้างทั้งสาม เชือกประหนึ่งว่ามันเป็นเพื่อนของพวกเขาก็ว่าได้เข้าไปพูดกรอกหูช้างแต่ละ เชือกว่า "จงไปดีเถิดหนา-พ่อ ถึงพ่อจะตกไปเป็นทาสของท่านก็จริงแล้ว แต่พ่อก็จะได้เป็นทาสเจ้าใหญ่นายโตในโลกถึงสามพระองค์พ่อคงไม่ต้อทำงานหนัก และยังจะมีเกียรติสง่าผ่าเผยเสียอีก" ครั้นแล้ว พวกลูกเรือ (ฝรั่งเศส) ก็ชักรอกกว้านเอาลูกช้างทั้งนั้นขึ้นเรือกำปั่น และโดยที่เห็นมันพากันยอบตัวลงเมื่อลอดใต้สะพานเรือ ก็พากันร้องชมเชยราวกับว่าสัตว์อื่นทั้งหลายจะมิพึงทำ ยามจะลอดไปในที่ต่ำเช่นฉะนั้น"
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> แม้กระทั่งปัจจุบัน ภาพแห่งความผูกพันระหว่างช้างกับควาญก็ยังคงสร้างความชื่นชม และยอมรับถึงความสามารถในการควบคุมสัตว์ใหญ่ที่สุดในโลกได้เป็นอย่างดีของควาญช้างไทย เพราะในสายตาของชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวตะวันตกนั้น ช้างคือสัตว์ที่น่ากลัวโดยเฉพาะในช่วงที่มันตกมัน ซึ่งช้างจะกลายเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายอย่างบ้าคลั่ง
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> ภาพของสัตว์ใหญ่ที่ยังมีสัญชาตญาณป่า ทว่ายอมค้อมหัวให้ควาญช้างไทยตัวเล็ก ๆ อย่างศิโรราบ เช่น นี้เอง อาจเป็นคำตอบว่าทำไม่หลายชาติในยุโรปและเอเซียที่มีภารกิจเกี่ยวพันกับช้าง จึงยอมรับที่จะส่งคนมาดูงานประเทศไทย หรือว่าจ้างควาญช้างไทยไปฝึกฝนให้คนของเขา
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> เหตุที่ควาญช้างไทยมีความเข้าใจธรรมชาติและผูกพันกับช้างอย่างลึกซึ้งนี่เอง ทำให้เกิดความแตกต่างระหว่าง "ควาญ" หรือ Mahout ของไทยกับคำว่า "คนดูแลช้าง" หรือ Elephant Keeper ของต่างชาติ เพราะในขณะที่ ควาญช้างไทยเลี้ยงช้างเหมือนลูกหรือเพื่อนชีวิต มีเครื่องมือบังคับเพียงตะขอหรือหนังสะติ๊กไว้ขู่ แต่คนดูแลช้างในต่างประเทศควบคุมช้างด้วยกระบองไฟฟ้า และทำงานดูแลช้างเฉพาะเวลางานเท่านั้น แต่ละปีจึงมีช้างจากต่างประเทศถูกส่งเข้ามาพักพิงอยู่ที่สถาบันคชบาลแห่งชาติ จังหวัดลำปาง ในปริมาณที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
    </td> <td width="3%"> </td> </tr> <tr> <td width="3%"> </td> <td width="94%"> </td> <td width="3%"> </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td width="100%" height="19"> </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ช้างเผือกมีจริงหรือเนี่ย
    <!--Main-->[SIZE=-1]ตอน แรกคิดว่าช้างเผือกมีแค่ในนิยาย แต่พอได้รับเมล์ฉบับหนึ่ง เพิ่งได้เห็นนี่แหละว่าช้างเผือกเป็นแบบนี้ เลยเอามาลงให้เพื่อนๆ ดู กันค่ะ

    <center>[​IMG]

    [​IMG]</center>[/SIZE]<!--End Main-->

    <table width="100%" border="0"><tbody><tr> <td width="50%">[SIZE=-1]Create Date : 25 มกราคม 2551[/SIZE]</td> </tr> <tr> <td width="50%">[SIZE=-1]Last Update : 25 มกราคม 2551 8:47:01 น. [/SIZE]</td> <td>
    </td><td>
    [SIZE=-1]5 comments[/SIZE] ​
    </td></tr></tbody></table>
    http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=patthanid&month=01-2008&date=25&group=9&gblog=47
     
  10. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,672
    ค่าพลัง:
    +51,946
    ภาพกษัตริย์ทรงช้าง ...

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  11. หางอึ่ง

    หางอึ่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +118
    ขอแสดงความนับถือที่ค้นหามาให้ชมกันขอบคุณมากเลยครับ
     
  12. หางอึ่ง

    หางอึ่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +118
    ผมว่าน่าจะมีการสมโภชน์ช้างเผือกทั้งหมดที่มีอยู่ชักครั้งเพื่อเป็นศิริมงคลของประเทศเหตุการณ์วุ่นวายต่างๆจะได้สงบบ้างเพราะช้างเผือกเป็นของสูงมีบุญและบารมีมากและจะได้เป็นการประกาศถึงบารมีของพ่อหลวงที่มีช้างเผือกมากที่สุดด้วย อยากเห็นการสมโภชน์เร็วๆจังเลย
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ไม่ทราบว่าใครมีรูปในหลวง ทรงช้าง บ้าง
    (ไม่เคยเห็นมาก่อน) อยากได้จัง
     
  14. starter

    starter สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2009
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +14
    อ่านแล้วน่าเวทนาจริงๆ น่าสงสารช้างมาก โดนจับมาจากป่า ทั้งๆที่มันเป็นสัตว์ป่า อยู่กับลูกอยู่กับครอบครัวของมันในป่า ไม่น่าถูกจับมาล่ามโซ่ในที่แคบๆอย่างนี้เลย


    น่าเศร้าจริงๆ

    ผมขอให้ช้างเหล่านี้จงมีแต่ความสุข ปราศจากความทุกข์ และประสบแต่สิ่งที่น่าปราถณาครับ
     
  15. Dragon_king

    Dragon_king เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2009
    โพสต์:
    730
    ค่าพลัง:
    +1,388
    คู่บุญ บารมี จักรีเกริกฟ้า
     

แชร์หน้านี้

Loading...