โชว์ พูดคุย สายเขาอ้อ

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย P Safe, 12 เมษายน 2012.

  1. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระลีลาเกราะเพชร ลพ.หมุน วัดเขาแดงออก</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระลีลาเกราะเพชร หรือพระกำแพงแขย่งที่ลูกศิษย์รุ่นเก่าเรียกกัน สร้างโดยหลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก นำมาให้ชมทั้งสองพิมพ์ทั้ง พิมพ์หนา และพิมพ์บาง พระชุดนี้ลูกศิษย์รุ่นที่ทันท่านเล่าให้ฟังว่า หลวงพ่อได้นำ เครื่องมือเครื่องใช้ของคนโบราณภายในถ้ำคนธรรพ์บนเขาแดง ( ปัจจุบันคือถ้ำที่มีพระพุทธรูปหินอ่อนประดิษฐานอยู่ ซึ่งสร้างโดยลูกศิษย์ของท่านทีี่สร้างใบปรกองค์เล็ก มาสร้างไว้ในตอนหลัง) โลหะภายในถ้ำที่หลวงพ่อได้นำมาเป็นชนวน เช่น มีด หอก ปืนคาบศิลา และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างที่เป็นของคนโบราณ มารวมกับของบริจาคจากชาวบ้านที่ศรัทธา มาหลอม แล้วรีดเป็นแผ่นจารอักขระยันต์ทำซ้ำแล้วซ้ำเล่าอยู่หลายครั้งจนครบสูตรตามตำรา ก่อนจะนำมาหล่อเป็นองค์พระ เป็นของดีที่หลวงพ่อท่านได้สร้างไว้ แต่เป็นพระใบหอกที่มีขนาดใหญ่เขื่อง และมีน้ำหนักคนจึงไม่เอากัน ตอนหลังท่านจึงนำโลหะเก่ามาหล่อสร้างเป็นพระปิดตาองค์เล็ก ที่รู้กันคือพระปิดตาวัดคูหาสวรรค์ ที่มีสกุลช่างงานหล่อคนเดียวกัน กับพระลีลาเกราะเพชร</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระปิดตา อ.เซ็น วัดท่ามิหรำ</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระปิดตา อ.เซ็น วัดท่ามิหรำ ปี2484 เป็นพระปิดตาในสายเขาอ้อที่น่าใช้มากไ่ม่แพ้ของเกจิองค์อื่นๆเลย และเป็นพระพิมพ์ที่เล่นง่ายไม่สับสน อีกทั้งยังได้ อ.เอียด วัดดอนศาลา ร่วมปลุกเสกอีกด้วย จึงมั่นใจได้ว่าพุทธคุณไม่เป็นสองรองใคร</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    ให้ดูอีกชักช่ออุตสาห์รื้อกรุมาให้ดู

    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระกริ่งศรีเพ็ชรัตน์ อ.ศรีเงิน วัดดอนศาลา ยกช่อ9องค์</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระกริ่งศรีเพ็ชรัตน์ อ.ศรีเงิน วัดดอนศาลา พัทลุง ปี2525 เนื้อนวะโลหะสูตรเขาอ้อ เป็นพระกริ่งรุ่น2ของท่าน พระอาจารย์ศรีเงิน ที่ได้จัดสร้างขึ้นโดยพิธีการอันรัดกุม และถูกต้องตามตำหรับสายเขาอ้อโดยเฉพาะ องค์พระกริ่งถอดพิมพ์มาจากพระกริ่งจีน (กริ่งนอก) โดยนายช่างสุเทพ สุนทรประธาน จ.นครปฐม เพื่อสมนาคุณแก่ผู้ร่วมทำบุญสมทบทุนสร้างเมรุเผาศพให้กับวัดดอนศาลา โดยผู้ที่ร่วมบริจาคเงิน2000 บาท จะได้รับพระกริ่งฯ ๑ องค์ ซึ่งนับว่าแพงมากสำหรับสมัยนั้น องค์นี้เป็น เนื้อนวโลหะสูตรพิเศษตำรับ (เขาอ้อ) โลหะที่นำมาสร้างพระกริ่งรุ่นนี้เป็นเนื้อชนวนล้วนๆ ที่เหลือจากการสร้าง พระสมเด็จหล่อ พิมพ์เล็กและ เหรียญหล่ออาจารย์ทองเฒ่า รวมทั้งชนวนที่เป็นแกนในการหล่อพระคราวนั้น ผสมกับแผ่นทองลงจารของพระอาจารย์ชื่อดังทั่วประเทศ เนื้อทองมหาสัตโลหะที่เหลือจากการสร้างพระสมเด็จหล่อ พิมพ์เล็ก และ เหรียญหล่ออาจารย์ทองเฒ่า ที่ได้เพิ่มพิเศษคือ พระอาจารย์ศรีเงิน ได้ลงแผ่นทองโลหะเป็นอักขระเลขยันต์ต่างๆอีก108 แผ่น และ นะ 29 นะ ไว้อีกด้วย สรุปแล้วโลหะที่ใช้หล่อพระกริ่งรุ่นนี้ล้วนแต่เป็น “ โลหะมงคล” ทั้งสิ้น พิธีสร้าง เมื่อแม่พิมพ์แกะเสร็จแล้ว ได้หล่อเบ้าพิมพ์โบราณแล้วนำเบ้าพิมพ์ไปที่วัดดอนศาลา ประกอบพิธีกรรมหลอมโลหะเบ้าบรรจุเม็ดกริ่งและปลุกเสกในพิธีเดียวกัน โดยเริ่มปลุกเสกตั้งแต่เริ่มเททองจนบรรจุเบ้า เวลา 06.10 น. จนถึงเมื่อเวลา 22.39 น. ของวันที่ 4 พฤศจิกายน 2525 ณ. หน้ามณฑปรูปเหมือนของพระอาจารย์เอียด พระอาจารย์นำ ภายในวัดดอนศาลา จำนวนสร้าง 309 องค์ ทุกองค์จะมีโค้ด “ นะมหามงคล ” และหมายเลขประจำองค์พระตั้งแต่1ถึง309โดยไม่เกินจำนวนนี้ ส่วนที่นำมาลงให้ชมนี้เป็นพระที่ยังไม่ได้ตัดออกจากช่อครับ ซึ่งมีน้อยและหาโคตรยากมากครับ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระปิดตาใบพาย อ.เจ็ก</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระปิดตาใบพาย อ.เจ็ก วัดเขาแดงตะวันตก ยุคปี 248กว่า ดูง่ายครบสูตรตามแบบฉบับพระหล่อโบราณของพัทลุง</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    [​IMG]



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระนาคปรกใบมะขาม วัดดอนศาลา</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระนาคปรกใบมะขาม ภ.ป.ร.วัดดอนศาลา พัทลุง ปี 2530 ชุดกล่องกรรมการ ประกอบด้วยเนื้อทองคำ,เนื้อเงินพิเศษ และ เนื้อธาตุกายสิทธิ์ เป็นปรกใบมะขามหนึ่งเดียวที่มีพระปรมาภิไทยย่อ" ภปร." ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ด้านหลังองค์พระ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ผู้สร้างเหรียญอาจารย์นำเป็นประธานการจัดสร้าง คณะกรรมการที่สร้างได้แก่ เสธ.เกรียงพล ชัยบุตร ,คุณประกอบ กำเนิดพลอย ,คุณสุธน ศรีหิรัญ ,คุณมนูญเลาหวนิช ,คุณถวิล ศรีอินท,คุณณรงค์ เรติกุล ,รศ.กมล ฉายาวัฒน วัตถุประสงค์ในการสร้างเพื่อหาทุนบูรณะปฏิสังขรณ์โรงธรรมวัดดอนศาลา และเพื่อฉลองในงานครบรอบ10ปีที่พระอาจารย์นำมรณะภาพ </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระเครื่องชุดภูธราวดี พิมพ์โมคคัลลาน์ สารีบุตร (พระปางปาฏิหารย์)</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระเครื่องชุดภูธราวดี ปี2506 พุทธลักษณะเป็นพระปางห้ามญาติซึ่งเลียนแบบพุทธลักษณะมาจากพระร่วงโรจน์ฤทธิ์ที่วัดพระปฐมเจดีย์ ด้านหลังมียันต์ตัว "นะ"ขึ้นยอดเป็นอุนาโลมอยู่ในกรอบรูปสามเหลี่ยมลักษณะคล้ายพระเจดีย์มีขนาดกว้างประมาณ1 ซม. สูงประมาณ 2.3 ซม. มีทั้งสีน้ำตาลแบบเนื้อดินผสมว่านและสีดำแบบว่านผสมผงซึ่งส่วนผสม สำคัญ ๆ ของพระเครื่องเนื้อดินผสมผงชุดภูธราวดี ได้แก่ 1. ดินจากสังเวชนียสถาน ทั้ง 4 แห่งในประเทศอินเดีย, 2.ว่านสำคัญ ทั้งว่านยา ว่านไสยศาสตร์ ยาแก้ยากันต่าง ๆ และว่านหายากชนิดต่าง ๆ ประมาณ 400 ชนิด, 3.ดินจากหลักเมืองและจากภูเขา หรือสถานที่ชื่อเป็นมงคลทั่วราชอาณาจักร, 4.ตะไคร่จากพระเจดีย์องค์สำคัญ ๆ เช่นจากพระปฐมเจดีย์จังหวัดนครปฐม , จากวัดบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ, 5.พระผงแตกหักจากพระสมเด็จฯ ผงแตกหักจากพระนางตรา , ผงจากพระ๕ณาจารย์ทั่งราชอาณาจักรที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น(พศ.2505-2506 ) ตลอดจนน้ำพระพุทธมนต์จากพิธีสำคัญ ต่าง ๆ ในการจัดสร้างพระพิมพ์พระร่วงโรจน์ฤทธิ์,จำนวนการสร้างทั้งหมดประมาณ 168,000 องค์ ทุก ๆ 100 องค์จะมีพระคะแนนที่เป็นพิมพ์พิเศษแตกต่างออกอีกไป 1 องค์ เช่น พระพิมพ์พระนางตรา , พระพิมพ์ทวารวดี, พระพิมพ์วัดประตูทอง เป็นต้น รวมจำนวนพระพิมพ์คะแนนพิมพ์ละประมาณไม่เกิน 1,680 องค์ นอกจากนี้ยังมีพิมพ์พิเศษที่มีจำนวนน้อยยิ่งกว่า พิมพ์คะแนน อันได้แก่ พิมพ์พระสังกัจจายน์ ซึ่งไม่ถูกระบุในประวัติการจัดสร้าง ตลอดจนพระกริ่ง และ พระบูชาภูธราวดี หน้าตัก 5 นิ้ว ที่ไม่สามารถระบุจำนวนการสร้างที่แน่ชัดได้ ส่วนผสมที่สำคัญสำหรับการหล่อพระกริ่งและพระบูชาธวารวดีซึ่งเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีเฉพาะเนื้อนวะโลหะได้แก่ 1.ทองคำ, 2. เงิน, 3. ทองแดง, 4.ดีบุก, 5.พลวง, 6.สังกะสี, 7.เจ้าน้ำเงิน, 8.เหล็กละลายตัว, 9.เหล็กธรรมดาและเหล็กไหล, ซึ่งก่อนการจัดสร้างพระเนื้อโลหะได้มีการจัดส่งทั้งแผ่นเงิน,ทอง,นาค,เงิน,ดีบุก ให้คณาจารย์ต่าง ๆ ทั้งที่มาเข้าร่วมในพิธีด้วยตนเอง และไม่ได้เข้าร่วมพิธีลงจารอักขระมาด้วย พิธีพุทธาภิเศกของพระชุดภูทราวดี มีทั้งสิ้น 3 ครั้งด้วยกันได้แก่ -ครั้งที่1 และครั้งที่2 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยทั้งการกดพิมพ์พระเนื้อดิน และหล่อพระเนื้อโลหะต้องเตรียมการและจัดทำกันอยู่เป็นเดือน ๆ โดยผู้ที่กดพิมพ์ มีทั้งทหาร ตำรวจ พลเรือน ข้าราชการ ผู้ที่กดพิมพ์และช่วยหล่อพระจะต้องนุ่งห่มขาว รับศีลสมาทานทุกวัน หากผู้ใดออกนอกปะรำพิธี ก่อนกลับเข้าในพิธี ต้องประพรมน้ำพระพุทธมนต์ก่อน รวมถึงต้องรับศีลใหม่ ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดต้องถือพรมจรรย์ ห้ามรับของต่อมือผู้หญิงรวมถึงห้ามคนนนอกและผู้หญิงเข้าใกล้ในเขตพิธีด้วย เมื่อเข้าที่เป็นที่เรียบร้อย จึงใช้ไม้ที่มีนามเป็นมงคลลงเลขอักขระเป็นเชื้อเพลิง เมื่อสุมไฟได้ที่ จะต้องมีพระสวดชัยมงคลคาถา 9 รูป เมื่อนำพระขึ้นมาจะต้องประพรมด้วยน้ำมันจัทน์หอมอย่างดีจึงจะนำไปเข้าพิธีพุทธาภิเศกต่อไป( เป็นเรื่องแปลกที่ขณะที่จัดสร้างพระชุดนี้ได้เกิดมหาวาตภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก วิหารทั่วไปในวัดล้วนได้รับความเสียหายแต่ภายในเขตพิธีอันได้แก่ วิหารหลวง ไม่มีสิ่งใดได้รับความเสียหายเลยแม้แต่กระเบื้องมุงหลังคาสักแผ่นเดียว ครั้งที่ 3 ทำพิธีพุทธาภิเศกที่จังหวัดนครปฐม มีทั้งพราหมณ์ พระไทย พระจีน พระญวน ในนิกายต่าง ๆ รายนามพระคณาจารย์ต่าง ๆ เท่าที่รวบรวมได้ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าเข้าร่วมพิธีพุทธาภิเศกของพระเครื่องชุดภูธราวดีได้แก่ 1.สมเด็จพระสังฆราชเป็นองค์ประธานพิธีที่หน้าองค์พระปฐม เมื่อ 24 เมษายน 2506, 2.พระมหาวีรวงศ์-พิธีเดียวกับสมเด็จพระสังฆราช, 3.พระอาจารย์ปาน วัดเขาอ้อ, 4.พระอาจารย์คง วัดบ้านสวน, 5.หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก, 6.อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ( ขณะเข้าพิธียังเป็นฆราวาสอยู่และมีรูปถ่ายปรากฏเป็นหลักฐาน), 7.หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม, 8.หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, 9.หลวงปู่เพิ่ม วัดกลาบางแก้ว, 10. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม ฯลฯ นอกจากนี้มีเกจิฯ อีกมากมายที่สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้าพิธีพุทธาภิเศก ทั้ง 3 ครั้ง และไม่ได้มีหลักฐานบันทึกไว้ มูลเหตุแห่งการสร้างและผูดำเนินการจัดสร้าง พระเครื่องชุดนี้สร้างขึ้นจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าของนายตำรวจ 2 ท่านได้ แก่ 1. พล.ต.ท ประชา บูรณธนิต ท่านผู้นี้มีชื่อเสียงโด่งดังทางสายปราบปราม เคยพิชิตเสือชื่อดังต่าง ๆ ในยุคหลังสงครามที่โด่งดังในภาคกลางมากมายเช่น เสือใบ , เสือเจริญ , เสือผาด มีฉายาว่าเป็นมือปราบหนังเหนียว เนื่องจากการปะทะกับพวกโจรขณะเดินทางจากนครปฐม เข้ากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2495 โดยปรากฏหลักฐานว่าในขณะเกิดเหตุ ท่านพกพระท่ากระดาน และลูกม ของหลวงปู่เหรียญวัดหนองบัว ( น่าจะเป็นสาเหตุให้พระท่ากระดานมีราคาสูงมาตั้งแตครั้งนั้น ) 2.พล.ต.ต ขุนพันธรักราชเดช นามเดิม ชื่อ บุตร์ พันธรักษ์ ่านผู้นี้มีเสียงโด่งดังทางสายปราบปรามเช่นกัน มีฉายาเป็นภาษายาวี "รรยอกะจิ"เคย พิชิต เสือร้ายที่มีชื่อเสียงโด่งดังทางภาคใต้ทางแถบเทือกเขาบูโดจังหวัดนราธิวาส เช่น ขุนโจร อาแวสะดอ ที่กล่าวกันว่าหนังเหนียวเพราะเขี้ยวหมูทอง แดง อ้ายดำหัวแพร เป็นต้น ท่านผู้นี้เป็นศิษย์ฆราวาสของสำนักเขาอ้ออันโด่งดัง นอกจากนี้ยังมีบุคคลสำคัญที่ช่วยในการจัดเตรียมวัสดุมงคลเพื่อการจัดสร้างพระ โดย พลตรี พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล มูลเหตุในการจัดสร้างพระเครื่องชุดนี้นอกเหนือจากศรัทธ่อันแรงกล้าที่มีต่อพระพุทธศาสนาของคณะผู้ร่วมจัดสร้างเพื่อที่จะนำไปแจกจ่ายให้ผูศรัทธา และมีปรากฏในบันทึกของพล.ต.ท. ประชา ฯ ว่าได้มีการจัดพระเครื่องชุดนี้ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระตำหักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2506 โดยรายการที่จัดพระเครื่องทูลเกล้าถวายมีดังนี้ 1. พระเครื่องภูธราวดี 309 องค์ ในจำนวนนี้มีเลี่ยมทองคำรวม 5 องค์, 2.พระเครื่องคะแนน ปางปฐมเทศนาจำนวน 3 องค์, 3.พระเครื่องคะแนนพิมพ์พระนางตราจำนวน 3 องค์, 4.พระเครื่องคะแนนพิมพ์ประตูทอง จำนวน 3 องค์, 5.พระกริ่งภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน 2 องค์, 6.พระกริ่งยอดธงภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน9 องค์ (จัดสร้างเฉพาะเพื่อทูลเกล้าถวาย 9 องค์เท่านั้น) องค์นี้เป็นพิมพ์โมคคัลลานื สารีบุตร หรือ พระปางปาฏิหารย์ เป็นพระคะแนนร้อยซึ่งพบเจอน้อยมากครับ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG> พระเครื่องชุดภูธราวดี พิมพ์ซุ้มประตูทอง (ยอดขุนศึก)</BIG></TD><TR><TD vAlign=top><BIG>[ รายละเอียด ]</BIG> พระเครื่องชุดภูธราวดี ปี2506 พุทธลักษณะเป็นพระปางห้ามญาติซึ่งเลียนแบบพุทธลักษณะมาจากพระร่วงโรจน์ฤทธิ์ที่วัดพระปฐมเจดีย์ ด้านหลังมียันต์ตัว "นะ"ขึ้นยอดเป็นอุนาโลมอยู่ในกรอบรูปสามเหลี่ยมลักษณะคล้ายพระเจดีย์มีขนาดกว้างประมาณ1 ซม. สูงประมาณ 2.3 ซม. มีทั้งสีน้ำตาลแบบเนื้อดินผสมว่านและสีดำแบบว่านผสมผงซึ่งส่วนผสม สำคัญ ๆ ของพระเครื่องเนื้อดินผสมผงชุดภูธราวดี ได้แก่ 1. ดินจากสังเวชนียสถาน ทั้ง 4 แห่งในประเทศอินเดีย, 2.ว่านสำคัญ ทั้งว่านยา ว่านไสยศาสตร์ ยาแก้ยากันต่าง ๆ และว่านหายากชนิดต่าง ๆ ประมาณ 400 ชนิด, 3.ดินจากหลักเมืองและจากภูเขา หรือสถานที่ชื่อเป็นมงคลทั่วราชอาณาจักร, 4.ตะไคร่จากพระเจดีย์องค์สำคัญ ๆ เช่นจากพระปฐมเจดีย์จังหวัดนครปฐม , จากวัดบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ, 5.พระผงแตกหักจากพระสมเด็จฯ ผงแตกหักจากพระนางตรา , ผงจากพระ๕ณาจารย์ทั่งราชอาณาจักรที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น(พศ.2505-2506 ) ตลอดจนน้ำพระพุทธมนต์จากพิธีสำคัญ ต่าง ๆ ในการจัดสร้างพระพิมพ์พระร่วงโรจน์ฤทธิ์,จำนวนการสร้างทั้งหมดประมาณ 168,000 องค์ ทุก ๆ 100 องค์จะมีพระคะแนนที่เป็นพิมพ์พิเศษแตกต่างออกอีกไป 1 องค์ เช่น พระพิมพ์พระนางตรา , พระพิมพ์ทวารวดี, พระพิมพ์วัดประตูทอง เป็นต้น รวมจำนวนพระพิมพ์คะแนนพิมพ์ละประมาณไม่เกิน 1,680 องค์ นอกจากนี้ยังมีพิมพ์พิเศษที่มีจำนวนน้อยยิ่งกว่า พิมพ์คะแนน อันได้แก่ พิมพ์พระสังกัจจายน์ ซึ่งไม่ถูกระบุในประวัติการจัดสร้าง ตลอดจนพระกริ่ง และ พระบูชาภูธราวดี หน้าตัก 5 นิ้ว ที่ไม่สามารถระบุจำนวนการสร้างที่แน่ชัดได้ ส่วนผสมที่สำคัญสำหรับการหล่อพระกริ่งและพระบูชาธวารวดีซึ่งเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีเฉพาะเนื้อนวะโลหะได้แก่ 1.ทองคำ, 2. เงิน, 3. ทองแดง, 4.ดีบุก, 5.พลวง, 6.สังกะสี, 7.เจ้าน้ำเงิน, 8.เหล็กละลายตัว, 9.เหล็กธรรมดาและเหล็กไหล, ซึ่งก่อนการจัดสร้างพระเนื้อโลหะได้มีการจัดส่งทั้งแผ่นเงิน,ทอง,นาค,เงิน,ดีบุก ให้คณาจารย์ต่าง ๆ ทั้งที่มาเข้าร่วมในพิธีด้วยตนเอง และไม่ได้เข้าร่วมพิธีลงจารอักขระมาด้วย พิธีพุทธาภิเศกของพระชุดภูทราวดี มีทั้งสิ้น 3 ครั้งด้วยกันได้แก่ -ครั้งที่1 และครั้งที่2 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยทั้งการกดพิมพ์พระเนื้อดิน และหล่อพระเนื้อโลหะต้องเตรียมการและจัดทำกันอยู่เป็นเดือน ๆ โดยผู้ที่กดพิมพ์ มีทั้งทหาร ตำรวจ พลเรือน ข้าราชการ ผู้ที่กดพิมพ์และช่วยหล่อพระจะต้องนุ่งห่มขาว รับศีลสมาทานทุกวัน หากผู้ใดออกนอกปะรำพิธี ก่อนกลับเข้าในพิธี ต้องประพรมน้ำพระพุทธมนต์ก่อน รวมถึงต้องรับศีลใหม่ ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดต้องถือพรมจรรย์ ห้ามรับของต่อมือผู้หญิงรวมถึงห้ามคนนนอกและผู้หญิงเข้าใกล้ในเขตพิธีด้วย เมื่อเข้าที่เป็นที่เรียบร้อย จึงใช้ไม้ที่มีนามเป็นมงคลลงเลขอักขระเป็นเชื้อเพลิง เมื่อสุมไฟได้ที่ จะต้องมีพระสวดชัยมงคลคาถา 9 รูป เมื่อนำพระขึ้นมาจะต้องประพรมด้วยน้ำมันจัทน์หอมอย่างดีจึงจะนำไปเข้าพิธีพุทธาภิเศกต่อไป( เป็นเรื่องแปลกที่ขณะที่จัดสร้างพระชุดนี้ได้เกิดมหาวาตภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก วิหารทั่วไปในวัดล้วนได้รับความเสียหายแต่ภายในเขตพิธีอันได้แก่ วิหารหลวง ไม่มีสิ่งใดได้รับความเสียหายเลยแม้แต่กระเบื้องมุงหลังคาสักแผ่นเดียว ครั้งที่ 3 ทำพิธีพุทธาภิเศกที่จังหวัดนครปฐม มีทั้งพราหมณ์ พระไทย พระจีน พระญวน ในนิกายต่าง ๆ รายนามพระคณาจารย์ต่าง ๆ เท่าที่รวบรวมได้ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าเข้าร่วมพิธีพุทธาภิเศกของพระเครื่องชุดภูธราวดีได้แก่ 1.สมเด็จพระสังฆราชเป็นองค์ประธานพิธีที่หน้าองค์พระปฐม เมื่อ 24 เมษายน 2506, 2.พระมหาวีรวงศ์-พิธีเดียวกับสมเด็จพระสังฆราช, 3.พระอาจารย์ปาน วัดเขาอ้อ, 4.พระอาจารย์คง วัดบ้านสวน, 5.หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก, 6.อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ( ขณะเข้าพิธียังเป็นฆราวาสอยู่และมีรูปถ่ายปรากฏเป็นหลักฐาน), 7.หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม, 8.หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, 9.หลวงปู่เพิ่ม วัดกลาบางแก้ว, 10. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม ฯลฯ นอกจากนี้มีเกจิฯ อีกมากมายที่สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้าพิธีพุทธาภิเศก ทั้ง 3 ครั้ง และไม่ได้มีหลักฐานบันทึกไว้ มูลเหตุแห่งการสร้างและผูดำเนินการจัดสร้าง พระเครื่องชุดนี้สร้างขึ้นจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าของนายตำรวจ 2 ท่านได้ แก่ 1. พล.ต.ท ประชา บูรณธนิต ท่านผู้นี้มีชื่อเสียงโด่งดังทางสายปราบปราม เคยพิชิตเสือชื่อดังต่าง ๆ ในยุคหลังสงครามที่โด่งดังในภาคกลางมากมายเช่น เสือใบ , เสือเจริญ , เสือผาด มีฉายาว่าเป็นมือปราบหนังเหนียว เนื่องจากการปะทะกับพวกโจรขณะเดินทางจากนครปฐม เข้ากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2495 โดยปรากฏหลักฐานว่าในขณะเกิดเหตุ ท่านพกพระท่ากระดาน และลูกม ของหลวงปู่เหรียญวัดหนองบัว ( น่าจะเป็นสาเหตุให้พระท่ากระดานมีราคาสูงมาตั้งแตครั้งนั้น ) 2.พล.ต.ต ขุนพันธรักราชเดช นามเดิม ชื่อ บุตร์ พันธรักษ์ ่านผู้นี้มีเสียงโด่งดังทางสายปราบปรามเช่นกัน มีฉายาเป็นภาษายาวี "รรยอกะจิ"เคย พิชิต เสือร้ายที่มีชื่อเสียงโด่งดังทางภาคใต้ทางแถบเทือกเขาบูโดจังหวัดนราธิวาส เช่น ขุนโจร อาแวสะดอ ที่กล่าวกันว่าหนังเหนียวเพราะเขี้ยวหมูทอง แดง อ้ายดำหัวแพร เป็นต้น ท่านผู้นี้เป็นศิษย์ฆราวาสของสำนักเขาอ้ออันโด่งดัง นอกจากนี้ยังมีบุคคลสำคัญที่ช่วยในการจัดเตรียมวัสดุมงคลเพื่อการจัดสร้างพระ โดย พลตรี พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล มูลเหตุในการจัดสร้างพระเครื่องชุดนี้นอกเหนือจากศรัทธ่อันแรงกล้าที่มีต่อพระพุทธศาสนาของคณะผู้ร่วมจัดสร้างเพื่อที่จะนำไปแจกจ่ายให้ผูศรัทธา และมีปรากฏในบันทึกของพล.ต.ท. ประชา ฯ ว่าได้มีการจัดพระเครื่องชุดนี้ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระตำหักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2506 โดยรายการที่จัดพระเครื่องทูลเกล้าถวายมีดังนี้ 1. พระเครื่องภูธราวดี 309 องค์ ในจำนวนนี้มีเลี่ยมทองคำรวม 5 องค์, 2.พระเครื่องคะแนน ปางปฐมเทศนาจำนวน 3 องค์, 3.พระเครื่องคะแนนพิมพ์พระนางตราจำนวน 3 องค์, 4.พระเครื่องคะแนนพิมพ์ประตูทอง จำนวน 3 องค์, 5.พระกริ่งภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน 2 องค์, 6.พระกริ่งยอดธงภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน9 องค์ (จัดสร้างเฉพาะเพื่อทูลเกล้าถวาย 9 องค์เท่านั้น) องค์นี้เป็นพิมพ์ซุ้มประตูทอง หรือ พระยอดขุนศึก เป็นพระคะแนนร้อยซึ่งพบเจอน้อยมากครับ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    พระยอดขุนพล อ.ชุม ปี2497
     
  9. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระพิมพ์หลวงพ่อโต อ.ชุม ปี2497</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระผงบารมีพระบรมธาตุ ปี2497 พิมพ์หลวงพ่อโต สุดยอดมวลสารจากพระกรุทั่วประเทศ มาดำเนินการสร้างพระชินราชท่าเรือนี้จากการรวบรวมปรากฎว่าได้พระกรุมากว่า 108 กรุ ว่านยาอีก108ชนิด รวมทั้งผงวิเศษ อาทิเช่น พระกรุนางตรา-ท่าเรือ, กรุท้าวโคตร, สมเด็จวัดระฆัง, สมเด็จบางขุนพรหม, พระผงสุพรรณ, ผงดำผงแดงหุ่นพยนต์, หลวงพ่อเกตุ วัดขวิด, ขุนแผนวัดพระรูปและวัดบ้านกร่าง, พระนางพญาวัดนางพญาและวัดต้นจันทร์ สุพรรณบุรี, พระกรุต่าง ๆ ในกำแพงเพชร, พระกรุต่างๆ ในสุโขทัย, หูยานลพบุรี, ท่ากระดานหูไห กาญจนบุรี, พระกรุวัดท่ามะปราง, พระวัดชินราช พิษณุโลก, พระหลวงพ่อจุก, พระจุฬามณี พิษณุโลก, พระรอด พระคง พระเปิม-ลำพูน, มหาว่านวัดเขาอ้อ-พัทลุง, และพระกรุศรีวิชัยฯลฯ การประกอบพิธีพุทธาภิเษก จัดให้มีขึ้นตลอดพรรษา ณวิหารวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ได้ฤกษ์พิมพ์องค์พระในวันที่ 2 สิงหาคม 2497 ครบ 84,000 องค์ วันที่ 1 กันยายน 2497 ทำพิธีปลุกเสกวันที่ 14 กันยายน2497ออกพิธีวันที่ 12 ตุลาคม 2497 ซึ่งเป็นวันออกพรรษา โดย พิธีนี้ได้นิมนต์พระเถราจารย์ ผู้เรืองเวทวิทยาคม 108 รูป มาร่วมประกอบพิธีมีท่านเจ้าคุณพระภัทรมุนี เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุฯ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ สำหรับพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกขอยกมาเป็นบางส่วนได้แก่ หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขันจันดี,หลวงพ่อโอภาสี บางมด ธนบุรี, หลวงพ่อเขียว วัดหรงบน, หลวงพ่อเมือง วัดท่าพญา, หลวงพ่อคง วัดคลองน้อย, หลวงพ่อมุ่ย วัดป่าระกำ ปากพนัง, หลวงพ่อแดง วัดโท ท่าศาลา, หลวงพ่อคลิ้งวัดถลุงทอง ร่อนพิบูลย์, หลวงพ่อแดง วัดเขาหลัก ทุ่งใหญ่, หลวงพ่อตุด วัดทุ่งกง กระบี่, หลวงพ่อวัน มะนะโสวัดประสิทธิชัย, หลวงพ่อแสงวัดคลองน้ำเจ็ด ตรัง, หลวงพ่อปาล วัดเขาอ้อ, หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน, หลวงพ่อดิษฐ์ วัดปากสระ. หลวงพ่อเจ็กวัดเขาแดงตะวันตก, หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก พัทลุง, หลวงพ่อพัว วัดเขาราหู (วัดบางเดือน). หลวงพ่อแดง วัดคลองไทร, หลวงพ่อวิรัช วัดกะเปา คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี, หลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน, หลวงพ่อสงฆ์วัดศาลาลอย, หลวงพ่อจีด วัดถ้ำเขาพลู, หลวงพ่อรุ่ง วัดบางแหวน ชุมพร, หลวงพ่อท้วม วัดเขาโบสถ์บางสะพาน, หลวงพ่อเปี่ยมวัดเกาะหลัก ประจวบคีรีขันธ์, หลวงพ่อทองศุข วัดโตนดหลวง เพชรบุรี, หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ เพชรบุรี, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม, หลวงพ่อเต๋วัดสามง่าม นครปฐม ฯลฯอาจารย์ที่เป็นฆราวาสได้แก่ อ.ชุม ไชยคีรี, อ.นำแก้วจันทร์, พล.ต.ต. ขุนพันธรักษ์ราชเดช การปลุกเสกเน้นเด่นเฉพาะทางแบ่งออกเป็นช่วง ช่วงละ 7 วัน เช่น ปลุกเสกเน้นด้านคงกระพันชาตรี 7 วัน มหาอุด 7 วัน ป้องกันสัตว์ร้ายและโจรร้าย 7 วันป้องกันโรคภัยไข้เจ็บและภูตผีปีศาจ 7 วัน เมตตามหานิยม 7 วันเนรมิตกายกำราบศัตรูให้เห็นเราคนเดียวเป็นหลายคน ดังนี้เป็นต้น (สุดยอดจริงๆในพิธีมีการทดลองด้วยศาตราวุธ ให้เห็นว่าพุทธคุณในองค์พระนั้นมีจริง) องค์นี้เป็นพระพิมพ์หลวงพ่อโต หลังใบไม้ เป็นพิมพ์ที่หาชมยากมากครับ </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระเครื่องชุดภูธราวดี พิมพ์หลวงพ่อโต</BIG></TD><TR><TD vAlign=top><BIG>[ รายละเอียด ]</BIG> พระเครื่องชุดภูธราวดี ปี 2506 พุทธลักษณะเป็นพระปางห้ามญาติซึ่งเลียนแบบพุทธลักษณะมาจากพระร่วงโรจน์ฤทธิ์ที่วัดพระปฐมเจดีย์ ด้านหลังมียันต์ตัว "นะ"ขึ้นยอดเป็นอุนาโลมอยู่ในกรอบรูปสามเหลี่ยมลักษณะคล้ายพระเจดีย์มีขนาดกว้างประมาณ1 ซม. สูงประมาณ 2.3 ซม. มีทั้งสีน้ำตาลแบบเนื้อดินผสมว่านและสีดำแบบว่านผสมผงซึ่งส่วนผสม สำคัญ ๆ ของพระเครื่องเนื้อดินผสมผงชุดภูธราวดี ได้แก่ 1. ดินจากสังเวชนียสถาน ทั้ง 4 แห่งในประเทศอินเดีย, 2.ว่านสำคัญ ทั้งว่านยา ว่านไสยศาสตร์ ยาแก้ยากันต่าง ๆ และว่านหายากชนิดต่าง ๆ ประมาณ 400 ชนิด, 3.ดินจากหลักเมืองและจากภูเขา หรือสถานที่ชื่อเป็นมงคลทั่วราชอาณาจักร, 4.ตะไคร่จากพระเจดีย์องค์สำคัญ ๆ เช่นจากพระปฐมเจดีย์จังหวัดนครปฐม , จากวัดบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ, 5.พระผงแตกหักจากพระสมเด็จฯ ผงแตกหักจากพระนางตรา , ผงจากพระ๕ณาจารย์ทั่งราชอาณาจักรที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น(พศ.2505-2506 ) ตลอดจนน้ำพระพุทธมนต์จากพิธีสำคัญ ต่าง ๆ ในการจัดสร้างพระพิมพ์พระร่วงโรจน์ฤทธิ์,จำนวนการสร้างทั้งหมดประมาณ 168,000 องค์ ทุก ๆ 100 องค์จะมีพระคะแนนที่เป็นพิมพ์พิเศษแตกต่างออกอีกไป 1 องค์ เช่น พระพิมพ์พระนางตรา , พระพิมพ์ทวารวดี, พระพิมพ์วัดประตูทอง เป็นต้น รวมจำนวนพระพิมพ์คะแนนพิมพ์ละประมาณไม่เกิน 1,680 องค์ นอกจากนี้ยังมีพิมพ์พิเศษที่มีจำนวนน้อยยิ่งกว่า พิมพ์คะแนน อันได้แก่ พิมพ์พระสังกัจจายน์ ซึ่งไม่ถูกระบุในประวัติการจัดสร้าง ตลอดจนพระกริ่ง และ พระบูชาภูธราวดี หน้าตัก 5 นิ้ว ที่ไม่สามารถระบุจำนวนการสร้างที่แน่ชัดได้ ส่วนผสมที่สำคัญสำหรับการหล่อพระกริ่งและพระบูชาธวารวดีซึ่งเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีเฉพาะเนื้อนวะโลหะได้แก่ 1.ทองคำ, 2. เงิน, 3. ทองแดง, 4.ดีบุก, 5.พลวง, 6.สังกะสี, 7.เจ้าน้ำเงิน, 8.เหล็กละลายตัว, 9.เหล็กธรรมดาและเหล็กไหล, ซึ่งก่อนการจัดสร้างพระเนื้อโลหะได้มีการจัดส่งทั้งแผ่นเงิน,ทอง,นาค,เงิน,ดีบุก ให้คณาจารย์ต่าง ๆ ทั้งที่มาเข้าร่วมในพิธีด้วยตนเอง และไม่ได้เข้าร่วมพิธีลงจารอักขระมาด้วย พิธีพุทธาภิเศกของพระชุดภูทราวดี มีทั้งสิ้น 3 ครั้งด้วยกันได้แก่ -ครั้งที่1 และครั้งที่2 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยทั้งการกดพิมพ์พระเนื้อดิน และหล่อพระเนื้อโลหะต้องเตรียมการและจัดทำกันอยู่เป็นเดือน ๆ โดยผู้ที่กดพิมพ์ มีทั้งทหาร ตำรวจ พลเรือน ข้าราชการ ผู้ที่กดพิมพ์และช่วยหล่อพระจะต้องนุ่งห่มขาว รับศีลสมาทานทุกวัน หากผู้ใดออกนอกปะรำพิธี ก่อนกลับเข้าในพิธี ต้องประพรมน้ำพระพุทธมนต์ก่อน รวมถึงต้องรับศีลใหม่ ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดต้องถือพรมจรรย์ ห้ามรับของต่อจากมือผู้หญิงรวมถึงห้ามคนนอกและผู้หญิงเข้าใกล้ในเขตพิธีด้วย เมื่อเข้าที่เป็นที่เรียบร้อย จึงใช้ไม้ที่มีนามเป็นมงคลลงเลขอักขระเป็นเชื้อเพลิง เมื่อสุมไฟได้ที่ จะต้องมีพระสวดชัยมงคลคาถา 9 รูป เมื่อนำพระขึ้นมาจะต้องประพรมด้วยน้ำมันจันทร์หอมอย่างดีจึงจะนำไปเข้าพิธีพุทธาภิเศกต่อไป( เป็นเรื่องแปลกที่ขณะที่จัดสร้างพระชุดนี้ได้เกิดมหาวาตภัยขึ้นที่แหลมตะลุมพุก วิหารทั่วไปในวัดล้วนได้รับความเสียหายแต่ภายในเขตพิธีอันได้แก่ วิหารหลวง ไม่มีสิ่งใดได้รับความเสียหายเลยแม้แต่กระเบื้องมุงหลังคาสักแผ่นเดียว ครั้งที่ 3 ทำพิธีพุทธาภิเศกที่จังหวัดนครปฐม มีทั้งพราหมณ์ พระไทย พระจีน พระญวน ในนิกายต่าง ๆ รายนามพระคณาจารย์ต่าง ๆ เท่าที่รวบรวมได้ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าเข้าร่วมพิธีพุทธาภิเศกของพระเครื่องชุดภูธราวดีได้แก่ 1.สมเด็จพระสังฆราชเป็นองค์ประธานพิธีที่หน้าองค์พระปฐม เมื่อ 24 เมษายน 2506, 2.พระมหาวีรวงศ์-พิธีเดียวกับสมเด็จพระสังฆราช, 3.พระอาจารย์ปาน วัดเขาอ้อ, 4.พระอาจารย์คง วัดบ้านสวน, 5.หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก, 6.อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ( ขณะเข้าพิธียังเป็นฆราวาสอยู่และมีรูปถ่ายปรากฏเป็นหลักฐาน), 7.หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม, 8.หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, 9.หลวงปู่เพิ่ม วัดกลาบางแก้ว, 10. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม ฯลฯ นอกจากนี้มีเกจิฯ อีกมากมายที่สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้าพิธีพุทธาภิเศก ทั้ง 3 ครั้ง และไม่ได้มีหลักฐานบันทึกไว้ มูลเหตุแห่งการสร้างและผูดำเนินการจัดสร้าง พระเครื่องชุดนี้สร้างขึ้นจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าของนายตำรวจ 2 ท่านได้ แก่ 1. พล.ต.ท ประชา บูรณธนิต ท่านผู้นี้มีชื่อเสียงโด่งดังทางสายปราบปราม เคยพิชิตเสือชื่อดังต่าง ๆ ในยุคหลังสงครามที่โด่งดังในภาคกลางมากมายเช่น เสือใบ , เสือเจริญ , เสือผาด มีฉายาว่าเป็นมือปราบหนังเหนียว เนื่องจากการปะทะกับพวกโจรขณะเดินทางจากนครปฐม เข้ากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2495 โดยปรากฏหลักฐานว่าในขณะเกิดเหตุ ท่านพกพระท่ากระดาน และลูกม ของหลวงปู่เหรียญวัดหนองบัว ( น่าจะเป็นสาเหตุให้พระท่ากระดานมีราคาสูงมาตั้งแตครั้งนั้น ) 2.พล.ต.ต ขุนพันธรักราชเดช นามเดิม ชื่อ บุตร์ พันธรักษ์ ่านผู้นี้มีเสียงโด่งดังทางสายปราบปรามเช่นกัน มีฉายาเป็นภาษายาวี "รรยอกะจิ"เคย พิชิต เสือร้ายที่มีชื่อเสียงโด่งดังทางภาคใต้ทางแถบเทือกเขาบูโดจังหวัดนราธิวาส เช่น ขุนโจร อาแวสะดอ ที่กล่าวกันว่าหนังเหนียวเพราะเขี้ยวหมูทอง แดง อ้ายดำหัวแพร เป็นต้น ท่านผู้นี้เป็นศิษย์ฆราวาสของสำนักเขาอ้ออันโด่งดัง นอกจากนี้ยังมีบุคคลสำคัญที่ช่วยในการจัดเตรียมวัสดุมงคลเพื่อการจัดสร้างพระ โดย พลตรี พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล มูลเหตุในการจัดสร้างพระเครื่องชุดนี้นอกเหนือจากศรัทธ่อันแรงกล้าที่มีต่อพระพุทธศาสนาของคณะผู้ร่วมจัดสร้างเพื่อที่จะนำไปแจกจ่ายให้ผูศรัทธา และมีปรากฏในบันทึกของพล.ต.ท. ประชา ฯ ว่าได้มีการจัดพระเครื่องชุดนี้ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระตำหักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2506 โดยรายการที่จัดพระเครื่องทูลเกล้าถวายมีดังนี้ 1. พระเครื่องภูธราวดี 309 องค์ ในจำนวนนี้มีเลี่ยมทองคำรวม 5 องค์, 2.พระเครื่องคะแนน ปางปฐมเทศนาจำนวน 3 องค์, 3.พระเครื่องคะแนนพิมพ์พระนางตราจำนวน 3 องค์, 4.พระเครื่องคะแนนพิมพ์ประตูทอง จำนวน 3 องค์, 5.พระกริ่งภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน 2 องค์, 6.พระกริ่งยอดธงภูธราวดีสร้างด้วยนวโลหะจำนวน9 องค์ (จัดสร้างเฉพาะเพื่อทูลเกล้าถวาย 9 องค์เท่านั้น) องค์นี้เป็นพิมพ์หลวงพ่อโต เป็นอีกพิมพ์นึงที่หาชมยากมากครับ </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>ปิดตา อ.ดิษฐ์ พิมพ์อกกว้าง</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระปิดตา อ.ดิษฐ์ วัดปากสระ พิมพ์อกกว้าง เป็นพิมพ์ที่เล่นหากันมาตรฐานสากล องค์นี้สภาพสวยผิวเดิม </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>รูปหล่อ หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน</BIG></TD><TR><TD vAlign=top>รูปหล่อ หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน ปี2533 รุ่นประจุผงธาตุบารมี(อุดผงเถ้าอังคารหลวงพ่อคง) เนื้อจ้าวน้ำเงิน หายากมากๆครับ มาพร้อมกล่องเดิมๆครับ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>เหรียญอาจารย์ช่วง วัดควนปันตาราม</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> เหรียญรุ่นแรก อาจารย์ช่วง วัดควนปันตาราม ปี2542 เนื้อเงินหมายเลข113 เนื้อนวะโลหะ หมายเลข19 และเนื้อทองแดง หมายเลข496(เนื้อเงินสร้าง 172 เหรียญ,เนื้อนวะโลหะสร้าง 27 เหรียญ) </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>เหรียญอาจารย์เน วัดควนปันตาราม</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> เหรียญรุ่นแรกพระครูรัตนาภิรัตน์(แก้ว)หรือตาหลวงเน วัดควนปันตาราม ปี2499 เป็นเหรียญที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ ถึงแม้จะเป็นเหรียญที่ไม่ทันท่านปลุกเสก แต่ได้เกจิสายเขาอ้อในยุคนั้นหลายท่านปลุกเสกให้ เป็นเหรียญยุคเก่าที่มากด้วยประสบการณ์ในเรื่องความเหนียว ไม่เป็นสองรองใคร อีกทั้งแคล้วคลาด มหาอุตม์ เป็นเลิศครับ </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>พระกลีบบัว หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> พระกลีบบัว ว.บ.ส. หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน ปี2483 เนื้อตะกั่วผสมเงินยวง

    ประวัติการสร้างพระกลีบบัวคร่าวๆครับ เนื่องจากพระเวียง โกวิโท ศิษย์รูปหนึ่งของหลวงพ่อคง ได้เดินธุดงค์ไปตามป่าเขาในเขตจังหวัดพัทลุง-ตรัง ในช่วงปี2482 มีอยู่คืนหนึ่งพระเวียงได้นอนหลับด้วยความเหน็ดเหนื่อยและได้นิมิตรเห็นเทพองค์หนึ่งมาบอกว่า "มานอนอยู่ทำไม ให้ไปเชิญพระเก่าในถ้ำจังหวัดตรังมาบูชาเถิด จักเป็นมงคลยิ่ง ทั้งจะเพิ่มบารมีให้แก่ท่าน" พอรุ่งเช้าหลังจากตื่นนอนแล้ว พระเวียงจึงได้เดินทางไปตามนิมิตรเข้าไปในถ้ำแห่งหนึ่งและได้พบพระเงินยวงจำนวนหนึ่ง แล้วท่านจึงได้ทำพิธีขอต่อองค์เทพผู้เฝ้ารักษาเพื่อที่จะนำไปไว้สักการะบูชา เมื่อพระเวียงได้กลับถึงวัดบ้านสวนก็ได้มอบพระเงินยวงให้แก่หลวงพ่อคง หลวงพ่อคงเมื่อได้รับพระเงินยวงแล้ว จึงได้เพ่งพิจารณาลักษณะบารมีขององค์พระเงินยวงแล้วจึงได้คิดที่จะสร้างพระเครื่องเนื้อเงินยวงขึ้นมาเป็นพระทรงกลีบบัวตรงกลางเป็นพระพุทธนั่งขัดสมาธิเพขร มีเส้นรัศมี27เส้น ประทับนั่งบนแท่นอาสนะ มีกลีบบัว10กลีบ ด้านหลังมีอักขระยันต์ อุณาโลม มีอักษรขอม5ตัว อ่านได้ว่า นะโมพุทธายะ ใต้อักษรขอมมีตัวอักษรย่อว่า ว.บ.ส ซึ่งย่อมาจากวัดบ้านสวน หลวงพ่อคงได้สร้างพระกลีบบัวนี้ขึ้นเมื่อปี 2483 พระกลีบบัวของหลวงพ่อคงมีพุทธคุณเด่นด้านแคล้วดคลาดคงกระพัน และเมตตาโชคลาภเป็นเลิศ พระกลีบบัวถือเป็นวัตถุมงคลรุนแรกของหลวงพ่อคง วัดบ้านสวน ส่วนใหญ่พระกลีบบัวรุ่นนี้จะมีการระเบิดปริแตกของเนื้อพระจึงทำให้พบเจบพระที่มีสภาพสวยไดน้อยมากครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>เหรียญหลวงพ่อเมฆ วัดเจนตก</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> เหรียญรุ่นแรก หลวงพ่อเมฆ วัดประจิมทิศาราม(เจนตก) ปี 2518 บล๊อคนิยม อีกหนึ่งเหรียญประสบการณ์ของสายพัทลุงครับ </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    วันนี้จัดให้จุใจครับ
     
  18. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    เดี๋ยวจะลงเพิ่มให้อีกนะครับ
    ขออนุญาติพักเหนื่อยหน่อย
     
  19. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>ล็อกเก็ต อาจารย์ศรีเงิน</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> ล็อกเก็ตรุ่นแรก อาจารย์ศรีเงิน วัดดอนศาลา ปี2542 จำนวนการสร้าง 55 องค์ แยกเป็นแบบไม่ปิดหลัง54 องค์ และ หลังปิดทองคำ1 องค์ (คุณโจ้ พัทลุง เป็นผู้ขออนุญาติจัดสร้างเพื่อทำบุญวันเกิด)</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. P Safe

    P Safe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    439
    ค่าพลัง:
    +328
    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD><BIG>เหรียญหลวงพ่อคง วัดบ้านสวน</BIG></TD><TR><TD vAlign=top> เหรียญรุ่นแรก หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน ปี2516 เนื้อทองแดง ไม่รมดำ จัดสร้างโดย อ.ชุม ไชยคีรี ซึ่งเป็นศิษย์ที่รักและเคารพท่านมาก พิธีที่วัดชำนิหัตถการ (สามง่าม) กทม. เกจิคณาจารย์สายเขาอ้อปลุกเสกหลายท่าน ได้จัดพิธีขึ้นในวันเสาร์ 5 เดือน 5 ขึ้น 5 ค่ำ 2516 เป็นวันอำมฤคโชค ราชาโชค เป็นมหาวัน พระยาวัน นานปีจะบรรจบพบกับวันเสาร์ 5 ที่พร้อมด้วยคุณสมบัติเช่นนี้ พระอาจารย์เจ้าตั้งแต่ครั้งโบราณกาล จนถึงปัจจุบันกาล ถือว่าเป็นวันเข้มแข็ง..........หลวงพ่อคง สิริมฺโต แห่งวัดบ้านสวน จ.พัทลุง เป็นหนึ่งในพระผู้ทรงคุณในสายเขาอ้อ ที่ผู้คนให้ความเคารพนับถือกันอย่างมาก ในงานพุทธาภิเษกแทบทุกครั้งของทางสายใต้ มักจะมีนามของท่านปรากฎอยู่เสมอ วัตถุมงคลของท่านดีทางอยู่ยงคงกระพัน มหาอุตม์ เป็นที่เชื่อได้ และมีการทดลองกันบ่อยครั้ง</TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...