รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,632
    พยายามจัดเตรียมเท่าที่ทำได้ อันดับแรก
    1.เป้สะพายหลังราคาไม่ต้องใช้ของแพง แต่ขอให้มีคุณภาพพอสมควร อาจจะเป็นแบบที่ทหารใช้ราคา 250 บาท ร้านสหกรณ์ทหารบก /ของ ตชด. ผมซื้อสำรองไว้ 1 เป้
    2.พวกไฟฉาย จาน ช้อน ไฟแช็ค ยารักษาโรค รองเท้าหุ้มข้อ/รองเท้ากีฬา เสื้อกันฝนปันโจ(เขาเรียกทั่วไปแบบ ค้างคาว) ราคา 19-30 บาท ให้พยายามจัดเตรียมจากของที่มีใช้อยู่แล้วในบ้าน ที่ขาดค่อยหาซื้อ และค่อยจัดหาของที่ใช้เฉพาะงานในภายหลัง ผมก็จัดเตรียมแบบนี้ แต่เพราะผมเคยเป็นทหาร จึงมีอุปกรณ์ที่ติดตัวมาบ้าง เช่น เป้สนาม กระติกสนาม เข็มขัด เสื้อแจ็คเกตฟิลด์ นอกนั้นก็มาซื้อที่หลัง เขาให้บ้าง เช่น มีดเดินป่า หรือหาจากร้านค้าที่ขายของทุอย่าง 20 บาท
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2011
  2. คนไม่รุ้

    คนไม่รุ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +116
    ขอบคุณมากเลยครับ ที่สำคัญต้องหมั่นออกกำลังกายให้แข็งแรงพร้อมเสมอ
     
  3. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ยืนยันค่ะ สารในยี่ห้อคลอรอกซ์ (ชนิดเหลวเท่านั้น) เป็นคลอรีน นับเป็นยาฆ่าแบคทีเรีย
    ใส่แปดหยดในน้ำหนึ่งแกลลอน (ห้าลิตร) ตั้งทิ้งไว้สักพักดื่มได้ไม่ต้องต้ม
    (แบบน้ำประปาดื่มได้ ..)
    ยี่ห้ออื่นไม่รับประกันนะคะ น้ำไม่ต้องต้มค่ะ
     
  4. ยาล้างตา

    ยาล้างตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2007
    โพสต์:
    494
    ค่าพลัง:
    +3,539
    กรณีหาคลอรีนไม่ได้ ใช้ด่างทับทิมแทนได้ไหมครับ ?
     
  5. น า ทู รี

    น า ทู รี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    152
    ค่าพลัง:
    +164
    คนท่าขนอน มีบ้านสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก

    บ้านลอยน้ำชาวใต้

    ชุมชนบ้านลอยน้ำ ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นชุมชนที่สามารถพัฒนาวิถีชีวิต และสภาพการอยู่อาศัยของบ้านเรือนตามภูมิปัญญาชาวบ้านของบรรพบุรุษมากกว่าศตวรรษแล้ว

    แนวคิดบ้านลอยน้ำ ที่เป็นลักษณะการไข้ไม้ไผ่ผูกเป็นแพ ทำเป็นฐานรองรับตัวอาคารพักอาศัย และผูกเชือกติดกับเสากระโดง เพื่อไม่ให้น้ำพัดพาออกจากตำแหน่ง ลักษณะของบ้านในชุมชนนี้มีลักษณะเป็นบ้านสะเทินน้ำสะเทินบก

    เนื่องจากเขตชุมชนนี้ตั้งอยู่ในที่ลุ่มใกล้แม่น้ำในหุบเขา ในฤดูฝนของภาคใต้จะท่วมอย่างฉับพลัน บางฤดูกาลท่วมสูงถึง 10 เมตร

    ผู้พักอาศัยในชุมชนดังกล่าว แก้ปัญหาตามภูมิปัญญาของชาวบ้านโดยสร้างบ้านเรือนทับอยู่บนแพไม้ไผ่

    ลักษณะของบ้านประเภทนี้ จะมีลำไผ่กองไว้ใต้ถุนบ้านมัดเป็นแพ ผูกเข้าด้วยกันกับเสาใต้ถุนบ้านส่วนเสาใต้ถุนก็ไม่ปักยึดลงไปในดินบ้านจึงตั้งอยู่บนพื้นดินง่าย ๆ เมื่อน้ำท่วมถึง บ้านในชุมชนจะลอยขึ้นมาพร้อมกันทั้งหมู่บ้าน มีทั้ง ร้านค้า , คอกสัตว์ และบ้านพักอาศัย

    ทั้งนี้ จะไม่ลอยเคลื่อนที่ไปไหนได้ เพราะทุกบ้านมีเสากระโดงปักอยู่ทั้งสี่มุม มีโซ่ล่าม ไม่ให้ลอยไปกับกระแสน้ำ และเมื่อแปรสภาพเป็นชุมชนลอยน้ำแล้วจะใช้เรือสัญจรแทนรถยนต์ ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ไม่มีผลกระทบต่อการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของชุมชน



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=580 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 align=center border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffebcc height=25>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพบ้านลอยน้ำในตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 23 มีนาคม พ.ศ.2544[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.5 แสดงบ้านไม้ชั้นเดียว มีฐานะรากไม้ยึดกับพื้นดิน แต่เป็นโครงไม้ไว้สอดมัดไม้ไผ่ไว้ ด้านล่างของตัวบ้านเพื่อช่วยในการลอยตัวเมื่อเกิดน้ำท่วม (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.6 แสดงโครงไม้เพื่อสอดมัดไม้ไผ่ไว้ด้านล่างของตัวบ้าน โดยมีโครงที่ไม่ได้ยึดติดกับพื้นดินเมื่อเกิดน้ำท่วม โครางสร้างนี้ก็จะทำหน้าที่เช่นเดียวกับแพลอยน้ำนั่นเอง (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.7 แสดงการเสริมถังน้ำมันเปล่ายึดติดกับตัวฐานของบ้าน เป็นการเสริมในส่วนที่ไม้ไผ่ชำรุด เพื่อช่วยในการลอยตัวได้ดีขึ้น (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544) [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.8 แสดงการผูกเชือกที่ฐานแล้วยึดติดกับต้นไม้ เพื่อไม่ให้ลอยไปกับน้ำเมื่อเกิดน้ำท่วม
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.9 แสดงเสาไม้ที่ขนาด 6” X 6” (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.10 แสดงผนังไม้โครงเคร่าไม้ และหน้าต่าง (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.11 แสดงฝ้าเพดานใช้ไม้กระดานแผ่นเรียบวางบนโครงไม้ เปิดช่องพอประมาณ เพื่อวางสิ่งของที่มีน้ำหนักเบา (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.12 แสดงรูปแบบของหลังคา มุงด้วยแผ่นสังกะสี (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.13 แสดงถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าและตู้เก็บสิ่งของเครื่องใช้ในตัว ฯลฯ โดยที่ไม่ได้เป็นลักษณะแบบยึดติดตายกับผนังหรือพื้น เพียงแค่วางบนพื้นเท่านั้น (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.14 แสดงห้องโถงเอนกประสงค์ เป็นทั้งที่นอน นั่งเล่น รับแขก ฯลฯ
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.15 แสดงห้องครัว ที่มีลักษณะการใช้เตาถ่านในการหุงต้มอาหาร
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.16 แสดงห้องครัวที่มีลักษณะการใช้เตาแก๊สในการหุงต้มอาหาร โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดน้ำท่วม ซึ่งจะสะดวกกว่าการใช้ถ่านมาก[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.17 แสดงรางน้ำฝนต่อเชื่อมกับกรวยที่มีสายยางส่งน้ำลงสู่โอ่งเพื่อเก็บน้ำไว้ใช้
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.18 แสดงการเก็บน้ำสำรองไว้ใช้โดยมีโอ่ง 2 ใบ และถังน้ำพลาสติก 1 ใบ อยู่ในห้องครัว
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.19 แสดงตำแหน่งการวางถังขยะ มีการใช้ถังขนาดเล็กวางอยู่ด้านหน้าตรงมุมเสานอกชานบ้าน เมื่อเต็มก็จะนำไปเททิ้งที่ถังใหญ่ ซึ่งเป็นถังรวมที่เทศบาลเตรียมไว้ให้
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.20 แสดงถังขยะที่เทศบาลเตรียมไว้ให้ตามริมถนน
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.21 แสดงสายไฟฟ้าที่มีลักษณะหย่อน ๆ นั้น เนื่องจากมีการเผื่อการลอยตัวของตัวบ้านและการใช้สะพานไฟแบบสมัยเก่า
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.22 แสดงการใช้ระบบไฟส่องสว่างแบบหลอดฟลูออเรสเซนต์
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.23 แสดงตำแหน่งของส้วม ส้วมนั้นก็จะอยู่นอกตัวบ้าน
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]ภาพที่ 2.24 แสดงลักษณะของห้องส้วมที่ยึดติดกับพื้นดิน
    (จังหวัดสุราษฎร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2544)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD height=45>
    [FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC][​IMG][/FONT][/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, AngsanaUPC]
    [/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    มีงานออกแบบของราชการด้วยค่ะ

    บ้านลอยน้ำของไทย

    [​IMG]

    กรมโยธาธิการและผังเมือง ออกแบบบ้านลอยน้ำ โดยปรับแนวคิดจาก

    “บ้านลอยน้ำท่าขนอน” และเรือนแพของชาวบ้านในอดีต ประยุกต์ใช้กับ
    สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน

    ในฤดูแล้งตัวบ้านจะตั้งอยู่บนพื้นดินตามปกติ แต่เมื่อมีน้ำท่วม จะลอยขึ้นตามระดับน้ำ

    มีการยึดตัวบ้านไว้กับเสาหลักทั้งสี่มุม ป้องกันการโคลงตัวหรือลอยไปตามกระแสน้ำ
    เมื่อระดับน้ำลด ตัวบ้านก็จะกลับมาตั้งอยู่บนพื้นดินตามเดิม


    <TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG] ...
    ทัศนียภาพกลุ่มอาคาร</TD><TD vAlign=top>บ้านหลังนี้มีขนาดพื้นที่รวม
    ประมาณ 60 ตารางเมตร
    ซึ่งเป็นขนาดที่ไม่ใหญ่มาก
    เพื่อความสะดวกในการก่อสร้างและการลอยน้ำ
    แต่หากมีความต้องการพื้นที่เพิ่มขึ้น
    ก็อาจเชื่อมต่อหลายหลังเข้าด้วยกัน
    โดยใช้สะพานทางเชื่อม
    พาดระหว่างชานรอบตัวบ้าน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ค่าก่อสร้างประมาณหลังละ 719,000 บาท
    หากจ้างเหมา ราคาประมาณหลังละ 915,000 บาท
    เนื่องจาก ต้องมีการคิดค่าดำเนินการ กำไรและภาษีด้วย


    สนใจสอบถามที่ 02 - 299-4471-72 , 02 - 299-4858 , 02 - 299-4877
    หรือชมรายละเอียดที่เว็บไซท์

    http://subweb2.dpt.go.th/pip/floating_house/floatingH.html




    [​IMG]

    ขนาดพื้นที่ประมาณ 60 ตารางเมตร ประกอบด้วย พื้นที่อยู่อาศัย
    23 ตารางเมตร ส่วนทำอาหาร ห้องน้ำและซักล้าง รวม 37 ตารางเมตร


    [​IMG]
    รูปด้านหลัง

    [​IMG]
    ด้านล่างของตัวบ้าน

    วัสดุก่อสร้าง ใช้วัสดุก่อสร้างพื้นฐานทั่วไป ที่สามารถหาได้ง่ายในท้องตลาด
    สามารถดัดแปลงได้ ตามความเหมาะสมแต่ละพื้นที่ ทุ่นลอยเป็นถังน้ำมัน
    ขนาด 200 ลิตร หรือถังไฟเบอร์กลาส กรณีต้องการความทนทาน

    ระบบสุขาภิบาล ใช้ระบบการย่อยสลาย โดยมีถังบรรจุจุลินทรีย์ EM
    ติดตั้งอยู่ใต้ห้องน้ำ เพื่อย่อยสลายและเร่งการตกตะกอนของสิ่งปฎิกูล



     
  6. bovybovy5

    bovybovy5 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2009
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +0
    เสนอไอเดีย

    ตอนนี้ ติดตามอ่านข้อมูลเพื่อรับมือภัยพิบัติอยู่เสมอค่ะ
    และก็เกิดไอเดียจากการที่เคยมีโอกาส ได้ฟังท่านอาจารย์
    ผู้ให้ข้อมูลเรื่องนี้มากว่าสองปี ท่านเคยทำงานนาซ่า
    (ไม่กล้าเอ่ยพาดพิงท่านค่ะ)

    ท่านเคยให้ความรู้ว่า นอกจากการเตรียมรับมือที่ดีๆ
    อย่างที่ทุกท่านรวบรวมข้อมูลมา
    เราน่าจะลอง รวบรวมข้อมูลที่เป็น วิถีชีวิต เพื่อความอยู่รอด
    อย่างง่ายๆ และสามัญ กันเพิ่มเติมดีไหมคะ
    เช่น ต้นไม้อะไรกินได้ กินไม่ได้ การเปิดกระป๋องเมื่อไม่มีที่เปิด
    อย่างนี้เป็นต้นค่ะ...

    ความรู้พวกนี้ เราสามารถใช้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันที
    หาก วินาทีนั้น เราอาจไม่มีอะไรติดตัว แต่อย่างน้อย
    เรามีข้อมูลความรู้ พื้นฐานต่างๆในการเอาชีวิตรอดได้
    น่าจะช่วยเพิ่มข้อมูลในการรับมือได้อีก มากยิ่งๆขึ้นไปค่ะ
    โดยส่วนตัว ก็หาข้อมูลแบบง่ายๆ เท่าที่ทำได้ค่ะ
     
  7. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    ต้นไม้กินได้หรือกินไม่ได้หรือการเอาตัวรอดในป่า ผมพอรู้บ้าง เพราะตอนเด็ก
    คุณตาคุณปู่พาไปเลี้ยงควายในป่าบ่อย ท่านเด็ดใบไม้มาให้กิน ลูกไม้ต่างๆ
    สอนให้ดูทางเดินของสัตว์ ให้ดูว่าทางไหนป่ารกมาก และที่รกแบบไหน
    พวกงู พวกสัตว์เลื้ยคลานชอบอยู่ หรือสอนให้หามันป่า ให้รู้จักใบว่าใบนี้คือ
    ต้นอะไร กินได้หรือไม่ หรือใช้เป็นสมุนไพรอะไร หรือดูตลิ่งก็รู้ว่าบริเวณไหน
    เป็นรังจรเข้ เป็นต้น ถือว่าโชคดีที่เกิดบ้านนอก อิอิ
     
  8. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    จริงๆ เรื่องการเตรียมตัว เตรียมของ เตรียมอุปกรณ์ก็เป็นส่วนหนึ่ง

    แต่การเรียนรู้ ด้านเทคนิค การเอาตัวรอด ก็ควรที่จะเรียนรู้ควบคู่กันด้วยครับ

    สำหรับคนเริ่มต้น อาจจะยากเล็กน้อย เพราะไม่รู้จะเริ่มอย่างไรดี ผมแนะนำว่า เริ่มจากง่ายๆ เทคนิคง่ายๆ และต้องปฏิบัติจริงๆ ด้วย เพราะไม่งั้นเราจะไม่มีทักษะอะไรเลย เหมือนเราได้ฝึกพิมพ์สัมผัสคอมพิวเตอร์ เหมือนเราได้ขับรถ พอเราห่างไปนานมาก แค่จับๆ นิดหน่อย แป๊บเดียวก็เป็นแล้วครับ

    ก่อนที่ผมจะเข้ามาที่นี่ ผมขี่จักรยานเสือภูเขา เดินป่า ดำน้ำลึก มามากกว่า 10 ปี เวลาที่ทำกิจกรรมเหล่านี้ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ที่ค่อนข้างดีหน่อย เพื่อให้เราปลอดภัย กลายเป็นว่า เราก็จะถนัดท้้ง 2 อย่าง ทั้งอุปกรณ์ และเทคนิค

    มันรวมไปถึง การตัดสินใจ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะ ช่วยเวลาที่ผมดำน้ำลึกมา มันมีการตัดสินใจอย่างรวดเร็วตลอดเวลา และคำนึงถึงความปลอดภัยด้วยครับ

    อาจจะเริ่มจากการไปเที่ยว หรือปฏิบัติธรรมก็ได้ครับ เดินป่าบ้าง ให้รู้ว่า จากการใช้ชีวิตในเมือง มีความแตกต่างกันแค่ไหน เวลาอยู่ในป่า และพึ่งพาความสะดวกสบายให้น้อยที่สุดครับ

    เพียงเท่านี้ เราก็สามารถใช้ชีวิตแบบกลางแจ้ง และปรับตัวให้เข้ากับมันได้ระดับหนึ่งครับ
     
  9. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    อันนี้ไม่ได้มาขายครับ

    ปีที่แล้ว เป็นไข้หวัดบ่อยมาก เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย ประมาณเกือบ 10 ครั้ง ไข้สูงประมาณ 39-39.5 บ่อยมาก

    และปีนี้ ผมว่าอากาศก็เปลี่ยนแปลงมากเหมือนกัน มากกว่าปีที่แล้ว แถมช่วง มกราคม ผมออกงานศพเยอะมาก บางวัน อยู่ยันตีสาม ตื่นมาหกโมงเช้า สวดอีกไม่ค่อยได้พักผ่อน หลายคนเป็นหวัดครับ ผมกับแฟน ไม่เป็นเลย เพราะกินน้ำสมุนไพรสกัดชีวภาพ

    ปกติเป็นคนท้วมๆ น้ำหนักเยอะ กินผักน้อย และไม่ค่อยออกกำลังกายครับ ผมกินมา 2 เดือนแล้ว ไม่มีอาการเจ็บคอ หรือป่วยเลย ทั้งที่อากาศเปลี่ยนขนาดนี้

    ที่มาบอก เพราะว่าเมื่อกี่ เวลาตีหนึ่งเศษๆ ผมเพิ่งอาบน้ำครับ ไม่มีน้ำอุ่น ด้วย น้ำเย็นอย่างกับใส่น้ำแข็ง แถมนอนดึกอีกต่างหาก คืนนี้ยังอยู่อีกยาวถึงตีสามครับ

    ผมกินยี่ห้อนี้ครับ "บีวี" เห็นว่าดี เลยบอกต่อ ไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียใดๆ ครับ

    [​IMG]
    http://www.ahinnovation.com/
     
  10. Doom day

    Doom day สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2011
    โพสต์:
    22
    ค่าพลัง:
    +0
    อยากได้ แต่ แพง จนปัญญา
     
  11. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,295
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,117
    มีวางขายที่ไหน

    หาซื้อได้ที่ไหนครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
     
  12. bovybovy5

    bovybovy5 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2009
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +0
    เพิ่งไปสั่งซื้อถุงมือมาค่ะ

    ตอนนี้ ซื้อไฟฉายไว้ทั้งที่บ้าน
    ในรถ และที่ทำงาน รวมไปถึงแบบพวงกุญแจในกระเป๋าตังค์ด้วยค่ะ

    พอเดินซื้อของจำเป็นบางอย่าง(ทยอยซื้อ)แถวๆออฟฟิศตัวเอง
    ก็ได้รู้ว่า แถวออฟฟิศเรานี่ ไม่มีของที่มันใช้ยามจำเป็นได้เลยค่ะ
    ถ้าไม่ใช่ร้านทุกอย่าง 20 ที่พอมีของบ้าง
    นอกนั้น มีแต่เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า
    แฟชั่นทั้งนั้น แว๊บนึง เลยนึกสะท้อนใจตัวเองขึ้นมาค่ะว่า
    จิงๆแล้ว คนเราก็ไม่ได้ต้องการอะไรที่มันจำเป็นมากไปกว่านี้นะ
    กลายเป็นว่า ของใช้ยามจำเป็นพื้นฐาน หายากจัง 5555

    วันนี้ก็เพิ่งสั่งซื้อถุงมือผ่านเว็บไปค่ะ เว็บโรงงานถุงมือ
    เผื่อใครสนใจ สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บของบริษัทเค๊าได้เลยค่ะ
    สะดวกดีมากๆ +++ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียไรกะเค๊านะคะ+++
    ขออนุญาติแนะนำ เพราะเราก็เพิ่งใช้บริการไปแล้วมันก็สะดวกดี
    และทำให้รู้ว่า ถุงมือ มันมีหลายแบบกว่าที่เรารู้จักนัก
    พอดีอยากได้ถุงมือหนัง(แบบแม่ค้าขายทุเรียน)อ่ะค่ะ เลยเสิดไปเจอ
    แอบได้แว่นตาแบบครอบรัดหัวมาด้วย 50 บาทเองค่ะ

    เพราะวันนี้เดินหาแถวออฟฟิศจนตาลาย มีแต่แบบแฟชั่นขายเพียบ
    (สาวๆรุมตรึม เพราะช่วงนี้ อากาศหนาวๆ) เลยแนะนำเผื่อใครต้องการ
    แล้วหาซื้อไม่ได้แบบเราค่ะ ^^

    ยังไงก็ Safety First กันถ้วนหน้านะคะ
     
  13. boriphat

    boriphat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มกราคม 2006
    โพสต์:
    542
    ค่าพลัง:
    +2,124
    อยากได้ที่ซื้อ Mask ครับ? หาซื้อที่ไหนบ้าง
    แบบ N95 ครับ
     
  14. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ร้านวัสดุก่อสร้าง ใหญ่ๆ อย่าง homepro , homework

    เดี๋ยวนี้ตามโลตัสก็มีบ้างครับ

    ร้านอุปกรณ์ safety ก็มี

    พวกหน้ากากมักจะอยู่ในโซนอุปกรณ์ความปลอดภัยครับ
     
  15. วัสสานะ

    วัสสานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +565
    เ็ห็นผ้าปิดปาก บางยี่ห้อตามร้านขายยาใหญ่ๆ บอกว่ากรองละเอียดระดับ2,3 ไมครอนเหมือนกันแต่ไม่ใช่ n95 และขนาดเล็กพกพาง่ายกว่า ไม่แน่ใจคุณภาพจะเหมือนกันไหม
     
  16. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    Review ตัวเต็ม : วิทยุ AM FM แบบฉุกเฉิน (Emergency Radio)

    ยี่ห้อ : ETON

    รุ่น : Scorpion Short Wave

    คุณสมบัติ :

    - ระบบค้นหาสัญญาณ AM FM แบบดิจิตอล
    - ไฟฉายแบบ หลอด LED ประหยัดไฟ
    - แผงโซล่าเซลล์ขนาดใหญ่ สำหรับชาร์จไฟ
    - มีมือหมุนไดนาโมสำหรับชาร์จไฟ
    - มีช่องเสียบ USB สำหรับชาร์จโทรศัพท์มือถือ
    - มีช่องเสียบลำโพง หรือ หูฟัง
    - มีตะขอเกี่ยวเป็นอลูมิเนียม หรือเรียกว่าคาราบิเนอร์
    - มีนาฬิกาแบบดิจิตอล
    - ระบบกันน้ำมาตรฐานยุโรป IPX 4 ย่อมาจาก "กันน้ำกระเด็นได้ ทุกทิศทาง"
    - มียางหุ้ม กันกระแทก สามารถใช้ได้ทุกสภาพพื้นดิน
    - มีที่เปิดขวด
    - ผู้ผลิต วิทยุฉุกเฉิน ให้กับ กาชาด สหรัฐอเมริกา American Red Cross

    ............................................................

    รูปร่างหน้าตาออกมา ดูแข็งแรง ทนทาน วัสดุหุ้มด้วยยาง ทนต่อแรงกระแทกเป็นอย่างดี ครับ ปุ่มต่างๆ เป็นยางทั้งหมดครับ

    [​IMG]


    ไฟฉาย เป็นหลอด L.E.D. ขยายโคมตรงกระจกไฟฉาย เพิ่มกำลังในการส่องสว่างมากขึ้น

    [​IMG]

    มือหมุนไดนาโม ขนาดใหญ่ ปั่นมือประมาณ 50 รอบ สามารถฟังวิทยุได้ ประมาณ 3-5 นาที และยังสามารถปั่นไป ฟังไป ได้ด้วยครับ

    [​IMG]

    ที่เปิดขวด

    [​IMG]


    ช่องเปลี่ยนแบตเตอรี่สำรอง สามารถเปลี่ยนได้ด้วยต้นเอง ด้วยน็อตเพียงตัวเดียวเท่านั้นครับ ซึ่งดีกว่ายี่ห้ออื่นๆ ที่ไม่สามารถเปลี่ยนด้วยตนเอง ต้องส่งบริษัทเท่านั้นครับ

    [​IMG]

    แผงโซล่าเซลล์ขนาดใหญ่ เป็นทางเลือกอีกทางในการชาร์จไฟ ครับ

    [​IMG]

    เสาวิทยุ ยืดได้ หดได้ พับได้ ครับ สัญญาณรับชัดเจนดีมากเลยครับ

    [​IMG]

    สามารถฟังได้ทั้ง AM และ FM หน้าจอมีไฟ สำหรับดูยามกลางคืน มีนาฬิกาแบบดิจิตอล ปุ่มปรับระดับเสียงลำโพง ถึง 30 ระดับ ค้นหาสัญญาณแบบดิจิตอล จึงมีความแม่นยำกว่าแบบแมนนวล

    [​IMG]


    ส่วนนี้เป็นลำโพง เสียงออกมาชัดเจนดีมาก เสียงออกมาใสดีครับ

    [​IMG]


    ส่วนนี้เป็นคาราบิเนอร์ หรือตะขอ ไว้เกี่ยวกับกระเป๋าหรือ กางเกงได้ ทำด้วยเหล็กอลูมิเนียม แข็งแรงมาก

    [​IMG]

    ช่องเสียบชาร์จ USB ช่องชาร์จด้วยหม้อแปลง ช่องลำโพงและหูฟัง พร้อมฝาปิดยาง กันน้ำครับ

    [​IMG]

    ไฟฉาย และสวิสต์หุ้มด้วยยางกันน้ำเช่นกัน

    [​IMG]


    เปรียบเทียบขนาดกับ Blackberry 9780 ครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF2129.jpg
      DSCF2129.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.3 KB
      เปิดดู:
      1,802
    • DSCF2130.jpg
      DSCF2130.jpg
      ขนาดไฟล์:
      26.2 KB
      เปิดดู:
      1,840
    • DSCF2131.jpg
      DSCF2131.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.1 KB
      เปิดดู:
      1,879
    • DSCF2132.jpg
      DSCF2132.jpg
      ขนาดไฟล์:
      40.3 KB
      เปิดดู:
      1,807
    • DSCF2133.jpg
      DSCF2133.jpg
      ขนาดไฟล์:
      45.8 KB
      เปิดดู:
      1,835
    • DSCF2134.jpg
      DSCF2134.jpg
      ขนาดไฟล์:
      46.8 KB
      เปิดดู:
      1,864
    • DSCF2135.jpg
      DSCF2135.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.4 KB
      เปิดดู:
      1,814
    • DSCF2136.jpg
      DSCF2136.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.5 KB
      เปิดดู:
      1,789
    • DSCF2137.jpg
      DSCF2137.jpg
      ขนาดไฟล์:
      49.5 KB
      เปิดดู:
      1,801
    • DSCF2138.jpg
      DSCF2138.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.8 KB
      เปิดดู:
      1,803
    • DSCF2139.jpg
      DSCF2139.jpg
      ขนาดไฟล์:
      32.2 KB
      เปิดดู:
      1,782
    • DSCF2140.jpg
      DSCF2140.jpg
      ขนาดไฟล์:
      25.3 KB
      เปิดดู:
      1,779
    • DSCF2142.jpg
      DSCF2142.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.2 KB
      เปิดดู:
      1,759
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2011
  17. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    นำรูปจากหนังสือฉบับหนึ่ง ที่คนญี่ปุ่นประสบภัยสึนามิ

    แห่กันไปซื้อ วิทยุ AM FM ครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • img014.jpg
      img014.jpg
      ขนาดไฟล์:
      149.4 KB
      เปิดดู:
      1,639
  18. joyplayerman1

    joyplayerman1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +331
    อยากได้สุดๆ ราคาเท่าไหร่ ซื้อได้ที่ไหนบ้างครับท่าน
     
  19. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
  20. bovybovy5

    bovybovy5 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2009
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +0
    จุดไฟอีกแบบ

    อันนี้ตั้ง 650 บาท แต่มันเท่ห์และดูน่าจะง่ายมากๆสำหรับผญค่ะ
    มีใครเคยใช้บ้าง เพราะเท่าที่ดู กลัวตัวเองจุดไม่ติด ได้แบบนี้คงดีค่ะ
    แต่ราคาสูงไป เลยคิดว่า แบบของสวีเดนดีแล้ว คงไม่เกินความสามารถ ^^

    <iframe title="YouTube video player" width="640" height="390" src="http://www.youtube.com/embed/RqdT_Mlbto8" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     

แชร์หน้านี้

Loading...