มาดูสมเด็จกัน

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย wasabi san, 25 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. คนกาญจน์

    คนกาญจน์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2010
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +81
    ขอบคุณครับ ได้ความรู้เพิ่มขึ้นอีก
     
  2. sin_pattaya

    sin_pattaya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    128
    ค่าพลัง:
    +233

    คุณวาซาบิ ถ้าตรง ๆ เริ่มไม่อยาก ก็อ้อม ๆ เอาบ้างก็ได้ครับจะได้ไม่อยาก อิอิ ผมก็ว่าจะเอามาลงเหมือนกันแต่ขอไปลงในอัลบั้มตัวเองก่อนครับ
     
  3. cc192

    cc192 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มกราคม 2007
    โพสต์:
    165
    ค่าพลัง:
    +372
    สวัสดีคุณ wasabi san

    ในความเห็นของผมก็ยังยืนยันนะครับ ว่าองค์นี้ เนื้อหาแบบนี้ การย่น ยุบ ตัวของพื้นผิว ตลอดจนพิมพ์ขององค์นี้ เป็นของวัดระฆัง และทันสมเด็จโต..... เพราะหลวงปู่นาค เท่าที่ติดตามมาไม่มี พิมพ์เจดีย์แบบนี้ และพระยุคต้นของหลวงปู่นาค ก็สร้างปี 2485 เท่านั้นพื้นผิวยังมิอาจยุบตัว
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 10"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 10"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:SimSun; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-alt:宋体; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@SimSun"; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0in; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:SimSun;} @page Section1 {size:8.5in 11.0in; margin:1.0in 1.25in 1.0in 1.25in; mso-header-margin:.5in; mso-footer-margin:.5in; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin:0in; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]--><meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 10"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 10"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:SimSun; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-alt:宋体; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"\@SimSun"; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0in; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:SimSun;} a:link, span.MsoHyperlink {color:blue; text-decoration:underline; text-underline:single;} a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed {color:purple; text-decoration:underline; text-underline:single;} @page Section1 {size:8.5in 11.0in; margin:1.0in 1.25in 1.0in 1.25in; mso-header-margin:.5in; mso-footer-margin:.5in; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin:0in; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]-->

    ผมว่างานนี้ผู้ที่ได้พระองค์นี้ไป โชคดีครับ.....


    จากข้อมูล http://p.moohin.com/115.shtml<o:p></o:p>


    ข้อมูลประวัติ หลวงปู่นาค วัดระฆัง<o:p></o:p>
    เกิด วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม 2427 ตรงกับขึ้น 10 ค่ำ เดือน 9 ปีวอก เป็นบุตรของ นายป้อม นางสวน มะเริงสิทธิ พื้นเพเป็นชาวนครราชสีมา<o:p></o:p>
    บรรพชา ณ วัดบึง โคราช<o:p></o:p>
    อุปสมบท อายุ 21 ปี พ.ศ.2448 ณ วัดระฆังโฆสิตาราม<o:p></o:p>
    มรณภาพ วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2514 เวลา 04.45 น. ณ โรงพยาบาลศิริราช<o:p></o:p>
    รวมสิริอายุ 87 ปี 66 พรรษา<o:p></o:p>
    <o:p></o:p> พระเนื้อผงรุ่นแรก สร้างปี 2485 ประกอบด้วยพิมพ์ทรงเทวดาอกตัน-อกร่อง เทวดาขัดเพชร และพิมพ์สามเหลี่ยม<o:p></o:p>

    นอกจากนี้ยังมีข้อมูลเพิมเติมเกี่ยวกับหลวงปู่นาค วัดระฆัง และมีพระสมเด็จ และพระพิมพ์ต่าง ๆ ของท่านที่เวปด้านล่างนี้ครับ

    http://www.thanormpit.th.edu/somdetteacher/punakexhibition.htm

    เรื่องนี้น่าศึกษากันครับ.......
     
  4. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    ต้องขออภัยคุณวาซาบิไว้ล่วงหน้านะครับ....

    เนื่องจากองค์นี้ผมเห็นแล้วยังรู้สึกว่าเนื้อขององค์พระออกจะแปลกๆ ไปนิดนะครับ

    สังเกตได้ว่าบริเวณที่ผมวงสีแดงไว้นั้น...จะปรากฎเศษกรวดชนิดฝังในองค์พระแบบตั้งใจ....

    ถามว่าถ้าเป็นเจ้าประคุณสมเด็จสร้างจริงเหตุใดจึงต้องฝังก้อนกรวดแบบนั้นหละครับ...???

    ด้านหน้าองค์พระโดยทั่วไปมีหลุมที่เกิดจากการฝังกรวดแล้วแกะเอากรวดออกเพื่อทำให้ผิวพระแลดูว่ามีการยุบตัวถือเป็นเจตนาในการทำเลียนแบบของเก่าครับ

    ส่วนด้านหลังพระนั้นรอยแตกรานนั้นไม่เป็นธรรมชาติเอาซะเลยครับ....
    เส้นที่แตกเป็นทางยาวเป็นการแตกลานที่เกิดจากความร้อนครับและดูไม่เป็นธรรมชาติขาดความสวยงามแบบธรรมชาติ....

    ความเหี่ยวแห้งหดตัวตามรอยลานผิดธรรมชาติอย่างมากครับ....

    สรุปคือ องค์นี้ไม่โดนใจผมอย่างแรงครับ....
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • E-1.jpg
      E-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      532
  5. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    สำหรับองค์นี้นั้นเรียนตามตรงครับว่าผิดพิมพ์ ผิดศิลปะของหลวงวิจารณ์มากครับ

    ทั้งขนาดขององค์พระ ก็ไม่สัมพันธ์กับเส้นซุ้มผ่าหวาย ถ้าอธิบายละเอียดจะยาวววววเชียววววครับ....

    สิ่งที่น่าสงสัยอย่างยิ่งก็คือ....เม็ดที่เป็นก้อนเหลี่ยมๆ ในองค์พระที่ผมวงไว้คือเม็ดอะไรครับ ???

    ถ้าเป็นผงพุทธคุณทำไมจึงเป็นเม็ดเหลี่ยมคมหละครับ....
    ถ้าเป็นกรวดแล้วสมเด็จท่านใส่ไปทำไมหละครับ ??

    สำหรับคราบน้ำผึ้ง หรือน้ำอ้อยนั้นเป็นคราบที่ขึ้นแบบผิดธรรมชาติครับ

    ธรรมดาแล้วคราบทั้งสองจะขึ้นอยู่ในเนื้อพระชนิดฝังลึกลงในเนื้อไม่ใช่คราบที่ฉาบติดเพียงแค่ผิวพระครับ....

    อย่างองค์นี้นั้นถ้าผมใช้แปรงปัดแรงหน่อยคิดว่าคราบน่าจะหลุดเห็นเนื้อพระขาวจั๋วน่าเจี้ยแน่เลยครับ...

    สรุป องค์นี้ไม่โดนใจอีกแล้วครับ.....หุหุหุ
    (ผมขอมองต่างมุมหาใช่ข้อโต้แย้งนะครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • D-1.jpg
      D-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.5 MB
      เปิดดู:
      356
  6. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG][​IMG]
    พระของคุณธนกฤต999 องค์นี้สวยมากครับ...น่าจะเป็นพิมพ์ปรกโพธ์ 8 ใบนะครับเนื้อพระและมวลสารขึ้นให้เห็นสวยงามครับ

    ดูจากด้านหน้ามีร่องรอยการลงรักมาก่อนครับ...เนื้อรักแห้งเก่าหลุดออกเกือบหมดแล้วครับที่สำคัญรักดำนั้นฟูโดยธรรมชาติจากความเก่าครับ....หาชมได้ยากจริงๆ ครับ

    ด้านหลังพระมีคราบน้ำอ้อยเคี่ยวที่ผสมกับเนื้อพระแบบไม่ได้สัดส่วนจึงปรากฎ คราบเป็นปื้นดังที่เห็นครับ

    ส่วนคราบเขียวๆ ที่เห็นตามองค์พระนั้นตอนแรกผมก็คิดว่าอาจจะเป็นคราบตะไคร่น้ำเนื่องจากมีคนนำพระไปแช่น้ำให้เกิดคราบดังกล่าวหรือไม่ ??

    หรือเป็นคราบตะไคร่ใบเสมาที่เกิดขึ้นเพราะเหงื่อกันแน่....ตรงจุดนี้ทำให้พระองค์นี้ตัดสินยากมากครับ

    ถ้าเป็นคราบตะไคร่ใบเสมาเก่าจะต้องปรากฎทั้งตะไคร่เก่าที่ตายไปนานแล้วติดเนื้อพระ และคราบตะไคร่ใหม่ที่เกิดขึ้นในภายหลังเหมือนกับพระกรุครับ

    สรุป สำหรับองค์นี้พิมพ์โดนใจ รักดำโดนใจ คราบน้ำอ้อยเคี่ยวก็โดนใจ
    ตะไคร่น้ำเขียวๆ เกือบจะโดนใจแล้วครับ...โดยรวมถือว่าเป็นพระสวยครับ
     
  7. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG]
    สำหรับพระของคุณ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->zachary<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2990652", true); </SCRIPT>
    ขออภัยจริงๆ ครับผมไม่ทราบว่าออกวัดไหนครับผม....เดี๋ยวรอผู้รู้ท่านอื่นมาตอบละกันครับ
     
  8. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG][​IMG]
    สำหรับพระองค์นี้ของคุณ คนกาญจน์<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2990792", true); </SCRIPT>
    ผมขออนุญาตมองต่างมุมนิดนึงนะครับ.....

    ถ้าเป็นพระกรุบางขุนพรหมจริง ไม่ว่าจะเป็นกรุเก่าหรือกรุใหม่นั้น.....
    สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ คราบกรุครับ

    ยิ่งเป็นกรุใหม่ด้วยแล้วคราบกรุจะต้องหนามาก ๆ ....

    ทีนี้เรามาดูกันครับว่าผงสีขาวๆ ที่จับบริเวณด้านหน้าองค์พระนั้นเกิดขึ้นสมเหตุสมผลหรือไม่ ??

    ถ้าเป็นผงพุทธคุณผุดขึ้นในเนื้อพระ....เมื่อผสมรวมกับดินในกรุ + คราบสนิมเหล็กในกรุผงพุทธคุณควรจะสีขาวจั๋ว หรือสีมอๆ ขาวตุ่น หรือ เหลือง หรือ อมแดง (สนิม) ดีหละครับ

    สรุป องค์นี้ยังไม่โดนใจครับผม....
     
  9. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG]
    พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้าย (ลวด) ของคุณวาซาบิองค์นี้สวยอีกแล้วครับ....

    องค์นี้เป็นพระที่แก่น้ำมันตั่งอิ๋วมากครับ....น้ำมันผสมในเนื้อพระแบบไม่ทั่วจึงปรากฎคราบตั่งอิ๋วแก่อ่อนไม่เท่ากันงามจริงๆ ครับ

    มองเผินๆ คิดว่าพระปลอม...แต่พอมองลึกลงไปถึงในเนื้อ...จะพบว่าน้ำมันตั่งอิ๋วซึมลึกงดงามมากครับ....

    พิมพ์สวยครับ...ผ่านเลยครับมีกรอบกระจกซะด้วย
    รอยแตกลานที่มุมพระด้านบนขวาเป็นธรรมชาติมีสีอ่อนแก่ของตั่งอิ๋วซึมอยู่งามจริงๆ ครับ

    สรุป องค์นี้สวยโดนใจขอรับคุณวาซาบิ หุหุหุ
    (คราบกรุหายหมดสงสัยจะโดนล้างนะครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • AA+1.jpg
      AA+1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      270.6 KB
      เปิดดู:
      317
    • AA+3.jpg
      AA+3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.7 KB
      เปิดดู:
      225
    • AA+ 2.jpg
      AA+ 2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      110.4 KB
      เปิดดู:
      322
  10. ทรงกลด999

    ทรงกลด999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,284
    ค่าพลัง:
    +1,510
    ขอบคุณคุณWasabi_san และคุณ elmen อย่างสูงครับ ผมมีอะไรบางอย่างอยากให้คุณทั้งสองคนครับ รบกวน PM ที่อยู่มาที่ผมครับ หรือถ้าอยู่ในกรุงเทพให้ผมนำไปให้ก็ได้ครับ
     
  11. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    ขอบคุณคุณWasabi_san และคุณ elmen อย่างสูงครับ ผมมีอะไรบางอย่างอยากให้คุณทั้งสองคนครับ รบกวน PM ที่อยู่มาที่ผมครับ หรือถ้าอยู่ในกรุงเทพให้ผมนำไปให้ก็ได้ครับ

    ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณธนกฤต999 ในความมีน้ำใจและเมตตามอบสิ่งที่ท่านเก็บสะสมมา และเป็นสิ่งที่ท่านรัก โดยมิได้รู้สึกเสียดาย นับเป็นทานอันประเสริฐ ผมขออนุโมทนาครับ

    ผมไม่อาจที่จะรับสิ่งที่ท่านจะมอบให้ได้ครับ ผมดูจากความเหมาะสมแล้ว ยังไม่สมควรจะรับครับ

    ขอให้ความหวังดีของท่านธนกฤต999 ที่มีต่อข้าพเจ้า เป็นเสมือนกระจกที่สะท้อนให้ท่าน จงมีแต่ความสุขความเจริญ จงมีแต่ความสำเร็จ สิ่งใดที่เป็นมงคลอันประเสริฐ และเป็นเลิศในไตรภพ ขอพรนั้น จงอำนวจพรชัยให้ท่านได้สมดังปรารถนาทุกประการ เทอญ

     
  12. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    xlmen<!-- google_ad_section_end --> <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2994487", true);</script>
    [​IMG]

    ผมได้คำตอบสุดยอดอีกแล้ว อนุโมทนาครับ ไม่เสียเชิง xlmen จริงๆ



    ส่วนเส้นด้ายสององค์แรก คงต้องเก็บไว้ก่อน เพราะผมเก็บพระสมเด็จหักไว้องค์หนึ่ง ภายในมี
    เศษนิล มีขนาดสันฐานใกล้เคียงกับพระที่โพสต์

    แต่ผมก็ยอมรับนะครับ ว่าบางครั้งในวงการยังไม่ยอมรับในจุดนี้(ทรายเสก)


    ในส่วนตัวผม เคยถามผู้เป็นอาจารย์ของผม(ท่านเป็นเซียนพระที่คนยุค 70-90ปีรู้จัก คนในวงการหนังสือพระรุ่นเก่าๆรู้จัก และเป็นนักโบราณ
    วัตถุยุคต้นๆ(เวิ้งนครเกษม) ในยุคนั้นกรมศิลป์ต้องเชิญไปเปิดกรุหลายกรุ รวมถึงเป็นคนดูพระสมเด็จให้เซียนรุ่นก่อน และนักธุรกิจ นักการเมืองหลายคน) เรื่องกรวดทรายเสก เม็ดพระธาตุ เศษนิล เศษอัญมณี ท่านบอกผมว่าต้องมี จะเห็นเม็ดเล็กหรือเม็ดใหญ่ขึ้นอยู่กับบางองค์ ถ้าในยุคต้นๆมักจะได้เห็น สันนิษฐาเจ้าพระคุณสมเด็จท่านน่าจะเสกเป็น หินปฐวีธาตุ ในองค์พระสมเด็จ

    ไว้ผมจะรวบรวมเรื่องนี้มาให้ศึกษานะครับ
     
  13. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    ข้อมูลดีมากครับ ไม่ธรรมดานะครับคุณcc192

    อนุโมทนาครับ
     
  14. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    โอวววว.....คุณวาซาบิ...ไม่โลภแบบนี้ดีมากเลยครับ....
    งั้นรบกวนคุณ ธนกฤต999<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2995050", true); </SCRIPT>

    ช่วยส่งให้ผมแทนคุณวาซาบิละกันครับ....หุหุหุ

    (ปล.หวังใจว่าจะไม่ใช่ระเบิดนะครับ...ถ้าเป็นบ้านพร้อมที่ดินจะยินดีมากเลยครับ...แหมะผมก็เกรงใจจังครับกลัวจะเสียศรัทธา ยินดีสนองศรัทธาขอรับ อิอิอิ)
     
  15. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    ได้มาแล้วข้อมูลในเน็ท เรื่องทรายเสก


    สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับพระสมเด็จ​
    มวลสารของเนื้อพระสมเด็จ​
    ดินสอมหาชัย ใช้เขียนลงเป็นผง วิเศษ 5 ประการ อันได้แก่​
    - ผงพระพุทธคุณ​
    - ผงปัตถะมัง​
    - ผงตรีนิสิงเห​
    - ผงมหาราช​
    - ผงอิทธิเจ​
    ดินสอมหาชัยเป็นผงดินสออาถรรพณ์ทำจากดินขาวอันบริสุทธิ ผสมด้วย น้ำคั้นใบตำลึง ยอดสวาท ยอดกาหลง ยอดรักซ้อน ดินโป่ง ไคลเสมา ยอดชัยพฤกษ์ ยอดราชพฤกษ์ ยอดมะลิจากข้าวในบาตร​
    ทั้งหมดเป็นมวลสารพระพุทธคุณ และได้ถือหลักการคุลีเนื้อพระจากตำรับไสยเวทย์ และเพทางคศาสตร์​
    2. ข้าวหอมจากบาตร บรรจุในชามเบญจรงค์ อันเป็นของที่เจ้าพระคุณสมเด็จฯ เก็บรักษาโดยเฉพาะ​
    3. กล้วยน้ำไท ผสมยางมะตูมทั้งสองสิ่งนี้เก็บรักษาไว้ในขันสัมฤทธิ์ ไม่เสีย​
    4. เกสรบัวสัตตบงกช พร้อมทั้งเกสรดอกไม่ป่าจากเมืองสุโขทัย เมื่อง​
    กำแพงเพชร เป็นเกสรที่เจ้าคุณสมเด็จฯ ได้รวบรวมไว้ถึง 108 ชนิด​
    5. เปลือกหอย ขาวบริสุทธิ์ นำมาป่นจนละเอียดแล้วผ่านกรรมวิธีจนกลายเป็น ปูนเปลือกหอย มวลสาร ชนิดนี้เมื่อ ปลุกเสกและอบด้วยพระเวทย์มนตราอาถรรพณ์แล้วจะเกิดทรายทองขึ้นเองด้วยวิทยาคมของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ​
    6. น้ำมันตั้งอิ๊ว เป็นตัวประสานมวลสารที่ใช้ในการสร้างพระให้ยึดรวมกันอย่างเหนียว ทั้งกระทำให้เนื้อพระ ชุ่มชื่นอีกด้วย​
    7. วัสดุอื่นๆ ที่กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ มวลสารที่มองเห็นด้วยตาเปล่าข้างต้นนี้ ฯลฯ​
    ปฏิกิริยาจากผงวิเศษห้าประการ​
    พระสมเด็จอันเกิดจากผงวิเศษห้าประการ ของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ เป็นสิ่งที่เกิดจากปูนเปลือกหอยเป็นหลัก แต่ประชาชน เรียกกันว่า "พระผง" เมื่อพิจารณาด้วยสายตาโดยใช้เลนส์ขยาย จะแลเห็นบนพระมีจุดเล็กๆ เรียกว่ารูพรุนปลาย เข็มเกิดเป็นหมู่ๆ ประปรายอยู่ทั่วบริเวณผิวขององค์พระ รวมทั้งแผ่นพื้นฐานด้วยรอยปูไต่​
    มีลักษณะ บุ๋มลึกลงไปรอยนี้มักเกิดเป็นคู่ๆเรียงกันไปเป็นทางคล้ายรอบปู จึงเรียกกันว่า "รอยปูไต่" รอยนี้เกิดขึ้นประปรายทั่วแผ่นพื้นฐานขององค์พระรอยหนอนด้น​
    บนผิวขององค์พระ เมื่อใช่เลนส์ขยายกำลัง 10 เท่า ส่องจะเห็นรอยโค้งเล็กๆ คล้ายตัวหนอนขาดเล็กมากปรากฏอยู่ รอยนี้ไม่ปรากฏในพระแบบอื่นนอกจากพระของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ เท่านั้น ผู้ศึกษาพึงพิจารณาให้ละเอียดบ่อน้ำ และลำธาร​
    เกิดบนผิวพื้นฐานขององค์พระอยู่โดยทั่วไป สมมติว่าเราขึ้นไปอยู่บนที่สูงๆ แล้วใช่กล้องส่องดูดาวที่มีกำลังขยายมากๆ ส่องดูดวงจันทร์ เราจะแลเห็นบนพื้นผิวดวงจันทร์ปรากฏเป็นหลุมเป็นบน่อ หุบ เหว ภูเขา และสายลำธาร ซึ่งขอเรียกว่า"ผิวพระจันทร์" อันเป็นสัญลักษณ์ที่เกิดในองค์พระสมเด็จโดยเฉพาะ​
    ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่ปรากฏอันเป็นความงดงามขององค์พระสมเด็จ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าจะมีผู้โชคดีได้เป็นเจ้าของพระสมเด็จ เมื่อใช้เลนส์ขยายดูเนื้อพระ เขาจะเฝ้าดูแล้วดูเล่าอย่างไม่รูสึกเบื่อหน่ายในความงามอันน่าอัศจรรย์ของพระผงวิเศษของเจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ชึ่งสามารถแลเห็นมวลสารเกสรเป็นจุดรูปต่างๆกัน มีสีสันแปลกๆเช่น สีแดง สีฟ้า สีเหลือง สีเขียว สีเทา สีน้ำตาล ฯลฯ มวลสารเกสรนี้ช่อนตัวของมันอยู่เงียบๆ ต้องใช้เวลาในการดูนานจึงจะปรากให้เห็น​
    ธรรมชาติของเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง มองทางกายภาพ​
    จากเลนส์ขยายในเนื้อพระสมเด็จวัดระฆังเท่าที่ได้สัมผัสมา มวลสารที่มองเห็นด้วยตาเปล่าประกอบด้วย​
    มวลสารดังต่อไปนี้​
    1. จุดสีขาวขุ่น มีทั้งขนาดใหญ่และเล็ก ขนาดเล็กตั้งแต่ปลายเข็มหมุดขนานใหญ่เท่าเมล็ดถั่วเขียวก็เคยพบ มีปรากฏอยู่ทั่วไปในเนื้อพระละเอียดแน่นนอน และ เนื้อพระชนิดหยาบเนื้อไม่แน่นนอน สันนิษฐานว่าคือ เม็ดพระธาตุ และเปลือกหอย
    2. จุดสีแดงหรือสีแดงอิฐ ตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่าคงจะเป็นเศษพระเครื่องหักของกำแพงเมืองเพรช สมัยที่สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) ได้ไปเดินธุดงค์พบพระเนื้อดินหัก แต่ยังเต็มเปี่ยมไปด้วยพระพุทธคุณ จึงนำมาสร้างพระเพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล และความขลังแก่พระสมเด็จ​
    3. จุดสีดำ มีขนาดเล็กก็คือ เกสรดอกไม้ เม็ดกล้วย ถ้าเป็นขนาดกลาง สันนิษฐานว่าเป็นผงถ่านใบลานและถ้าเป็นลักษณะยาว สันนิษฐานว่าเป็นกานธูป​
    4. จุดสีเขียวคล้ายสีคราม มีลักษณะใหญ่เล็กแล้วแต่จะพบในองค์พระ สันนิษฐานว่าเป็นหินเขียวหรือตะไคร่ ใบเสมา​
    5. จุดสีน้ำตาลอ่อน และ น้ำตาลแก่ สันนิษฐานว่า คือเกสรดอกไม้แห้งนานาชนิด อาจเป็นดอกไม้108 (ดอกไม้ที่ใช้บูชาพระ)​
    6. เม็ดทรายเสกขนาดกลาง และขนาดเล็ก พบในเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง
    7. เม็ดขาวขุ่นหรือพระธาตุ ส่วนมากจะพบกระจายอยู่ทั่วไปในองค์พระบางองค์ พบอยู่ด้านหลัง บางองค์ไม่พบ
    8. ทองคำเปลว จากพระประธานในโบสถ์วัดระฆัง ใช้บดผสมในเนื้อพระ​
    9. ผงวิเศษที่พบเป็นก้อน คล้ายกับก้อนดินสอพองก็คือ ผงวิเศษที่ได้จาก ผงอิทธิ​
    เจ ผงปัตถะมัง ผงตรีนิสิงเห ผงพุทธคุณ ผงมหาราช​
    10. การยุบตัวของเนื้อพระสมเด็จ เกิดจากปฎิกิริยาการหดตัว แห้งตัว ยุบตัวของ​
    เศษอาหาร จึงทำให้เนื้อพระยุบตัวลง ระยะเวลาและความร้อนของอากาศ​
    หลายๆปี ฤดูกาลธรรมชาติ​
    11. ที่แลเห็นพระบางองค์มีความมันบนองค์พระมาก เพราะว่าในเนื้อพระผสมนำ​
    มันตั้งอิ้วมากกว่าปกติ เนื้อพระชนิดนี้จึงหนึกนุ่มอยู่เสมอ​
    12. พระสมเด็จกับการลงรักปิดทอง พระสมเด็จวัดระฆังบางองค์มีการลงรักปิด​
    ทองไว้ แล้วในภายหลังได้ถูกล้างออก ซึ่งก็ทำให้สามารถดูเนื้อพระได้ง่ายขึ้น​
    13. คราบสีขาวบนองค์พระมักจะพบในพระสมเด็จวัดระฆังนั้นมี 2 นัย นัยแรก​
    เกิดจากแป้งโรยพิมพ์พระในตอนสร้าง (สันนิษฐานว่าใช้แป้งขาวเจ้าผสมปูน​
    ขาว) นัยที่สองเกิดจากเชื้อราบางชนิดซึ่งเกิดขึ้นเนื่องมาจากการเก่าเก็บไว้เป็น​
    เวลานานซึ่งไม่มีผลทำให้ผิวพระเสียแต่อย่างใด ซี่ง​
    ถ้าใช้นิ้วถูออกคราบสีขาวก็จะหายไปและจะไม่มีผงฝุ่นสีขาวติดนิ้วเลย แต่​
    ไม่ควรถูออกเพราะคราบสีขาวเป็นการแสดงความเก่ ความมีอายุอันยาวนาน​
    ขององค์พระ​
    14. รอยปริแยกแตกบนผิวพระสมเด็จวัดระฆัง สันนิษฐานว่าเกิดจากการยุบตัว​
    หดตัวของเนื้อพระเนื่องจากความชื้นและอุณหภูมิในอากาศเปลี่ยนแปลง แต่​
    ถ้าเนื้อพระมีส่วนผสมน้ำมัน ตังอิ้วที่เหมาะสมเป็นตัวประสานเนื้อพระก็จะ​
    ไม่พบลอยปริแตกบนผิว​
    15. กลิ่นหอมในเนื้อพระสมเด็จวัดระฆัง สันนิษฐานว่าเกิดจากการที่ส่วนผสม​
    มวลสารในเนื้อพระมีดอกไม้และเกสรหลายชนิดรวมกัน รวมทั้งน้ำมันจันทน์​
    ด้วย จึงทำให้พระสมเด็จมีกลิ่นหอม​
    16. รอยแตกลายงาบนผิวพระสมเด็จวัดระฆังเกิดจากการแห้งและหดตัวของผิว​
    เนื้อพระชั้นนอกเร็วกว่าเนื้อพระชั้นใน พบได้ในองค์ที่มีผิวละเอียดหนึกนุ่ม​
    ……………………………………..​
    หนังสืออ้างอิง​
    ปทานุกรมพระสมเด็จ อรรคเดช กฤษณดิลก​
    พระสมเด็จปัญจศิริ ประถม อาจสาคร​
    พระสมเด็ชวังหน้า ฯ มัตตัญญู​
    วังหน้ารัตนโกสินทร์ สุนิสา มั่นคง​
    เกร็ดพงศาวดารรัตนโกสินทร์ ลำจุล ฮวบเจริญ​
    กฤติยาคม กรมหลวงชุมพร ฯ วันชนะ​
    ประวัติพระซุ้มกอ พ.สุวรรณ​
     
  16. กวาวชไม

    กวาวชไม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2009
    โพสต์:
    4,336
    ค่าพลัง:
    +14,779
    พึ่งเข้ามาอ่านครับหวัดดีพี่ๆในกระทู้ครับขอสอบถามสัก4องค์ครับ 1.สมเด็จไม่ทราบว่าแท้หรือป่าวองค์พระแลไม่ค่อยเห็นพิมพ์แล้วถ่ายมาแต่ด้านหน้าครับรูปไม่ค่อยชัดเท่าไหร่ 2.สมเด็จวัดเกศไชโยแท้ม้๊ยครับมีคราบสีแดงอมชมภูไม่รู้ว่าอะไรระบายทั่วองค์พระ 3.สมเด็จปิลันท์ปรกโพธื์เนื้อขาวครับแท้มั๊ยครับ 4.สมเด็จอีกหนึ่งองค์ครับพ่อตาให้มานานแล้วพ่อบอกเป็นพระกรุวัดพระนอนใช่ที่เดียวกันกับวัดขุนอินทน์ประมูลหรือป่าวครับแท้มั๊ยครับ (พ่อตาผมคนอ่างทองครับ) ขอบคูณท่านพี่ทั้งหลายล่วงหน้านะขอรับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    เรื่องทรายเสกกับกรวดเสกนั้น....จะจริงเท็จแค่ไหนอันนี้คงต้องฟังหูไว้หูก่อนหละครับ

    อย่างประโยคท่อนนี้....ก่อนเราจะเชื่อก็ต้องวางใจให้เป็นกลางกันซะก่อนครับอย่าเพิ่งปักใจเชื่อ
    ถึงแม้ว่าจะเป็นหลักฐานที่บันทึกไว้น่าเชื่อถือก็ตาม(กาลามสูตร)<O:p</O:p
    v
    v
    5. เปลือกหอย ขาวบริสุทธิ์นำมาป่นจนละเอียดแล้วผ่านกรรมวิธีจนกลายเป็น ปูนเปลือกหอย มวลสารชนิดนี้เมื่อปลุกเสกและอบด้วยพระเวทย์มนตราอาถรรพณ์แล้วจะเกิดทรายทองขึ้นเองด้วยวิทยาคมของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เรื่องปูนเปลือกหอยนั้นมีการเข้าใจผิดคิดว่าเป็นทรายทองกันมากครับแท้ที่จริงแล้ว
    สิ่งที่เราเห็นระยิบระยับนั้นไม่ใช่ทรายทองหรอกครับ...แต่เป็นเม็ดของปูนเปลือกหอยละเอียดที่สะท้อนกับแสงแดดแล้วก็เป็นสีประกายรุ้งขึ้นมา....บางครั้งก็สะท้อนเป็นสีขาวเหลือง ฯลฯ สิ่งที่สะท้อนจึงไม่ใช่ทรายทองแน่นอนครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าวิเคราะห์จากประวัติสมเด็จจะพบว่า
    สมัยของท่านนั้นมีชาวบ้านมาช่วยกันตำมวลสารด้วย"ครกหิน" จำนวนมากทีเดียวครับ...
    <O:p</O:p

    ทีนี้ถ้าลองน้ำกรวดหินทรายใส่ลงไปตำในครกด้วยจะทำให้ครกแตกได้ไหมหละครับ....อันนี้แค่สงสัยนะครับ ??
    <O:p</O:p

    ขนาดตำเม็ดพริกไทยให้แตกยังมีกระเด็นเลยครับ...แล้วถ้าชาวบ้านช่วยกันตำกรวดนี่คงจะอลเวงกระเด็นเข้าตากันน่าดูเลยครับ.....หุหุหุ
    <O:p</O:p

    แต่ถ้าจะบอกว่าเป็นการผสมกรวดในขณะที่มวลสารเปียกเหนียวแล้วอันนี้จะยิ่งไม่สมเหตุผลใหญ่เลยครับ...
    <O:p</O:p

    ลองพิจารณาดูเถิดครับว่า....ถ้าเม็ดกรวดบังเอิญไปโผล่ที่หน้าพระแขนพระเข้า...พิมพ์นั้นแทบจะแลดูไม่งามเอาซะเลยนะครับ.....

    แทนที่การใส่กรวดจะทำให้พระออกมางามกลับจะสร้างปัญหาในการพิมพ์พระอีกตะหาก
    <O:p</O:p

    นี่ยังไม่รวมถึงผลกระทบของก้อนกรวดที่จะทำให้แม่พิมพ์แตกนะครับ....<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สรุปเรื่องพระสมเด็จใส่กรวดผมยังไม่ปักใจเชื่อครับผม....<O:p</O:p
    (ผมขอมองต่างมุมนิดนึงนะครับคุณวาซาบิ)<O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2010
  18. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    ขอออกตัวก่อนครับว่า ผมเองก็ไม่ใช่เซียนพระที่ดูเป็นหมดทุกพิมพ์นะขอรับ...

    บอกได้แค่ว่าพิมพ์สวยหรือไม่สวย ชอบหรือไม่ชอบเท่านั้นแหละครับ.....

    เรื่องแท้หรือไม่อันนี้ไม่ทราบจริงๆ ครับ
    เท่าที่ดูก็มีเข้าตาองค์นึงครับ

    [​IMG]
    สมเด็จปิลันท์ปรกโพธื์เนื้อขาว...สวยใช้ได้เลยครับ...ถ้าไม่ชอบยกให้ผมก็ได้นะครับคุณ
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->กวาวชไม<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2996916", true); </SCRIPT> หุหุหุ
     
  19. กวาวชไม

    กวาวชไม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2009
    โพสต์:
    4,336
    ค่าพลัง:
    +14,779
    ขอบคุณครับท่านx-menวันนี้ตอบผม2กระทู้เลยขอบคุณมากครับอีก3องค์ที่เหลือพี่ๆช่วยฟันหน่อยครับอย่าให้เหลือใย
     
  20. blackmore

    blackmore เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มกราคม 2010
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +114
    อยากรู้ว่านี่ สมเด็จอะไรอะครับ
    เป็นความรู้ครับ วัดใด ใครปลุกเสก เก่ามั้ยครับ
    ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...