พุทโธก็คือความคิด

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย วิษณุ12, 13 มีนาคม 2010.

  1. tivaratree

    tivaratree Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +67
    สวัสดีค่ะ คุณปราบเทวดา

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cmono%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; color:black; mso-font-kerning:18.0pt;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->เวลาดิฉันทำสมาธิ จะภาวนาคำพุทโธบ้าง แต่ส่วนใหญ่มักไม่ค่อยภาวนาคำอะไร แค่ตามรู้ร่างกาย ว่าตอนนี้หายใจเข้า ท้องก็พอง หายใจออก ท้องก็ยุบ

    ..ตรง นี้เล่าเพิ่มเติมอีกได้ไหม ว่า เวลาที่รู้ลม แค่เข้าออก มีความคล่องตัวไหม..ความคล่องตัวที่ ว่า คือ พอรู้สึกที่ ลมหายใจเข้าออกแล้ว ซักพัก
    ความตั้งใจที่ จะรู้ลม หรือคอยที่จะรู้ลม ความรู้สึก ตรงนี้ ยังมีไหม
    หรือสังเกตุ ง่ายๆว่า เราตั้งใจที่จะรู้ลม พอตั้งใจตรงนี้ไปซักพัก ไม่นาน ความตั้งใจตรงนี้หายไป แล้วมันไปมีความคิดอย่างอื่นตามมา ..เป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ

    ตอนแรก ดิฉันจะจดจ่ออยู่กับการรู้ลมหายใจเข้าออก พอทำไปสักพักนึง ความตั้งใจตรงนี้คลายไป แต่ยังคงรู้ตัว รู้ลมหายใจอยู่ ไม่ใช่เพียงแค่รู้ว่า ร่างกายยังหายใจ แต่ไม่รู้ว่าลมเข้าหรือออก พอเกิดความคิดฟุ้งขึ้นมา เหมือนกับว่า สติก็ตามความคิดอันนั้นไป รู้ว่าคิดไปไหน คิดอะไร ลมหายใจก็ยังรู้เข้าออกเหมือนเดิม อืม...คล้ายๆ ยังกะมีสติ 2 อัน ตอนแรกก็มีอันเดียว ตามรู้ลมหายใจ พอมีความคิด ก็เกิดสติอันที่ 2 ตามรู้ความคิด ในขณะที่สติอันแรกก็ยังทำงานอยู่ค่ะ ไม่ได้จดจ่อ แค่รู้ตัว เป็นแบบนี้บ่อยค่ะ แต่ไม่ใช่ทุกครั้ง แต่ละครั้งก็เป็นไม่นานนัก เพราะพอความคิดมันหยุด ก็กลับมาที่ลมหายใจเหมือนเดิมค่ะ ครั้งแรกๆ ดิฉันเกิดการสงสัยว่า เอ๊ะ ....นี่ทำไมรู้พร้อมกันทั้งสองอย่างเลยหล่ะ ปรากฎว่า หลุดออกมาจากลมหายใจ มาอยู่ที่ความคิดสงสัยเพียงอย่างเดียว เป็นอย่างนี้ 2-3 ครั้ง ตอนหลังก็เลยไม่สงสัยแล้ว (แต่ก็อดเอามาคิดสงสัยตอนไม่ได้นั่งสมาธิอยู่เหมือนกันค่ะ) ก็เป็นเหมือนเดิม รู้พร้อมๆ กัน ดิฉันก็เลยปล่อยให้เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ แค่ตามรู้เฉยๆ ก็แล้วกัน

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cmono%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; color:black; mso-font-kerning:18.0pt;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->เทคนิกในความเข้าใจความคิดมีอย่างนึง ต้องทำความเข้าใจ
    ความ คิด ที่เกิดมานี้ หากเป็นความคิดที่เราไม่มีความตั้งใจคิด แต่มันมาเอง
    จะเป็น คิดดี คิดชั่ว คิดกลางๆ ก็ช่าง อันนี้เป็นวิตกในองค์ปฐมฌาน แล้วเรามีสติตามรู้เหล่านี้เอง อันนี้เป็นวิจาร เมื่อเป็น สองอย่างนี้มา จะรู้สึกมีปีติ ซ่านๆมาเป็นระยะตามร่างกาย ก็ปลอยมันไปเรื่อย ทำหน้าที่รู้อยุ่เรื่อยๆ อะไรมารู้อันนั้น...อบรมตรงนี้ไปเรื่อยอีก มันจะลงอัปนาได้คล่อง และเป็นไปเองของมัน

    อืม...ดิฉันเพิ่งจะทราบว่า อาการเหมือนขนลุก ซ่านๆ ขึ้นมาคือปิตินี่เอง....

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cmono%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; color:black; mso-font-kerning:18.0pt;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> คำแนะนำอีกนิดนึง.... พอทำไปเรื่อยๆ มันไปสุดช่วงมัน มันจะเริ่มๆถอนออกของมันมาเอง ในขณะที่จะเริ่มถอนนั้นแรกๆอาจจะเริ่มมีอาการ ปวดขา ปวดข้อหลังจาก1ชั่วโมงผ่านไป หรืออาจจะน้อยหรือมากกว่านั้น แนะนำเวลาที่จะออก อย่าด่วนรีบลุกทันที ปล่อยให้มันถอนมาจนสุดช่วงมัน แล้วก็ทำสติตามรู้ไปด้วย สูดลมหายใจเข้าออกช้าๆยาว ซักสี่ห้ารอบ แล้วค่อยค่อย ลุกออก จะได้ไม่มีอาการปวดหัว ปวดท้ายทอยตามมา


    ตอนนี้ดิฉันเข้าใจเรื่องสมาธิถอนออกมาแล้ว เพราะตอนทำแล้วเหมือนออกจากสมาธิมาเอง ดิฉันก็จะนั่งดูลมหายใจเฉยๆ แป๊บนึง แล้วก็ลุกเลย นี่คงเป็นสาเหตุที่ทำให้รู้สึกหัวหนักๆ แน่ๆ เลย

    ขอบคุณ คุณปราบเทวดามากๆ นะคะ ที่มาให้คำแนะนำกับดิฉัน ^_^
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2010
  2. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    สงสัยรู้สงสัยครับ สั้นๆๆ ลองอ่าน วิธีดู ครับ จากเกล็ดธรรมหลวงปู่พุธ

    ถอดเทปโดย ... พลูโตจัง



    วิธีแก้สงสัยในสมาธิ<O></O>


    หลวงปู่พุธ ฐานิโย


    <LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; size: 612.0pt 792.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE><META content=Word.Document name=ProgId><META content="Microsoft Word 11" name=Generator><META content="Microsoft Word 11" name=Originator><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; size: 612.0pt 792.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { FONT-SIZE: 12pt; MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE>[FONT=&quot]เมื่ออารมณ์จิตมันเปิดขึ้น เราสงสัยว่านี่คืออะไร[FONT=&quot]ให้รีบกำหนดรู้จิตเฉยอยู่[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อกำหนดรู้จิตเฉยอยู่ ความคิดย่อมเกิดขึ้น[/FONT][FONT=&quot]เมื่อความคิดบังเกิดขึ้นแล้ว[/FONT][FONT=&quot]เรากำหนดตามรู้ไป..รู้ไป..รู้ไป..รู้ไป[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ขอให้ความคิดที่มันคิดขึ้นมาเอง[/FONT][FONT=&quot]อย่าไปช่วยมันคิดนะ[/FONT][FONT=&quot]ถ้าไปช่วยมันคิดแล้ว..ยุ่งอีก[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ความคิดที่เราตั้งใจคิด[/FONT][FONT=&quot]นี่ เราจะคิด..หาแก้ปัญหาทางธรรมะ[/FONT][FONT=&quot]คิดเท่าไหร่มันก็ไม่ตก ยิ่งคิดก็ยิ่งยุ่ง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ยิ่งคิดก็ยิ่งสับสนวุ่นวาย[/FONT][FONT=&quot]แต่ถ้าหากความคิด..ที่มันคิดขึ้นมาเอง[/FONT][FONT=&quot]เราปล่อยให้มันคิด[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่เรามีสติตามรู้[/FONT][FONT=&quot]เอาความคิดที่เกิด-ดับขึ้นมาเองนั้นเป็นอารมณ์จิต[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อเราตามรู้ไป ในขณะที่เราตั้งใจตามรู้ไป..รู้ไป..รู้ไป[/FONT][FONT=&quot]เป็นการเจริญวิปัสสนาในภาคปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ไม่ใช่วิปัสสนา ความคิดนี้ไม่ใช่วิปัสสนา[/FONT][FONT=&quot]การพิจารณานี้ไม่ใช่วิปัสสนา[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อเราตามรู้ ความคิด ความอ่านไป พิจารณาไป[/FONT][FONT=&quot]จิตเกิดความ[/FONT][FONT=&quot]..[/FONT][FONT=&quot]ว่างลง[/FONT][FONT=&quot]ปัญหาที่ข้องใจผุดเป็นคำตอบขึ้นมาได้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อเราได้คำตอบเป็นที่พอใจ[/FONT][FONT=&quot]จิตของเราเกิดความรู้แจ้งเห็นจริงขึ้นมาหายสงสัย คือรู้แล้ว[/FONT][FONT=&quot]เห็นด้วยกับความรู้[/FONT][FONT=&quot]ทั้งรู้ ทั้งเห็น[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าหากแถมความเป็นจริงเข้าไปอีกด้วย รู้ เห็น[/FONT][FONT=&quot]แล้วก็เป็นจริง[/FONT][FONT=&quot]รู้เห็นท่านพอที่จะกำหนดได้ และรู้ได้[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่เป็นจริงนี่คืออะไร เช่น[/FONT][FONT=&quot]ท่านรู้ว่ามีนี่ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ที่นี้[/FONT][FONT=&quot]ความ[/FONT][FONT=&quot]รู้ ว่านี่..[/FONT][FONT=&quot]ทุกข์นั้นเป็นความรู้[/FONT][FONT=&quot]ทีนี้เห็นด้วยว่า ทุกข์จริงๆ[/FONT][FONT=&quot]นี้เป็นเหตุ จิตถอนจากความยึดมั่นถือมั่น[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ในสิ่งที่เป็นเหตุแห่งทุกข์[/FONT][FONT=&quot]หรือ[/FONT][FONT=&quot]ถอนความยึดมั่นถือมั่นในทุกข์นั้น เห็นว่าทุกข์เป็นสิ่งธรรมดา[/FONT][FONT=&quot]เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ[/FONT][FONT=&quot]อันนี้ก็เป็นความรู้อีกแล้ว เมื่อรู้ขึ้นมาแล้วเห็นด้วยกับสิ่งนี้[/FONT][FONT=&quot]แล้วก็ปล่อยวางอารมณ์
    ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ รวมทั้งตัวทุกข์ด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]เพียงแต่กำหนดรู้ ว่านี่ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]และก็รู้ว่าทุกข์เป็นสิ่งที่พึงกำหนดรู้เท่านั้น[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้เราละทุกข์[/FONT][FONT=&quot]เมื่อเป็นเช่นนั้นผู้ภาวนาก็ปล่อยวางความกังวล ในสิ่งที่จะขจัดทุกข์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เพียงแต่กำหนดรู้เพียงอย่างเดียว เมื่อปล่อยวาง จิตเป็นกลางวางเฉย[/FONT][FONT=&quot]จิตเป็นความปรกติ ไม่หวั่นไหว[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ดิ้นรนไม่วุ่นวาย[/FONT][FONT=&quot]ในการที่จะไปขับไล่ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]แต่กำหนดรู้ เมื่อจิตรู้จริงเห็นจริง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เห็นว่านี่ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]นี่เหตุให้เกิดทุกข์[/FONT][FONT=&quot]นี่ทางปฏิบัติให้เกิดความดับทุกข์ เมื่อรู้เห็น ตามเป็นจริงอย่างนี้[/FONT][FONT=&quot] ความรู้[/FONT][FONT=&quot]เห็น ตามเป็น[/FONT][FONT=&quot]จริง[/FONT]
    [FONT=&quot]นั่นคือ...วิปัสสนา[/FONT]
    [/FONT][FONT=&quot]<O:p></O:p>[/FONT]
     
  3. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    ขออนุญาติ อธิบายตรงความสงสัยว่า มีสติ2ตัวทำงานรู้ได้สองอย่างในเวลาเดียวกัน

    คนที่ศึกษาธรรมะใหม่ๆ จะเห็นอย่างนั้น หากยึดมั่นตรงนี้ว่าจริง จะเกิดการเห็นยิ่ง
    กว่าเก่า คือเห็นว่า สติแยกรู้ได้เกือบเป็น10 เป็น100 เรื่องในเวลาเดียวกัน ตรงนี้
    แท้จริงแล้ว ยังไม่ใช่วิสัยของผู้กำลังฝึก

    แต่ทำไมถึงเห็นอย่างนั้นได้ ก็ต้องขออธิบายว่า เกิดจากควันหลงของความคิดมัน
    คาอยู่ เช่น เรากำลังนึกถึงหน้าลูก หน้าคน แต่ทันใดนั้นก็ไปเห็นความคิดเรื่อง
    อื่นๆแทรกเข้ามาด้วย โดยยังรู้สึกว่า ยังเห็นหน้าคนนั้นอยู่ แต่จริงๆแล้ว ภาพหน้า
    คนนั้นหายไปแล้ว ที่รู้สึกว่าเห็นเป็นเพียงเขม่า หรือควันของบความคิดที่ยังไม่สลาย
    ไป

    ตรงนี้จะมีหลักวิทยาศาสตร์มาช่วยชี้นิดหน่อย กล่าวคือ สมองเรานั้นจะมีสมองส่วน
    กลางทำหน้าที่ย้อนภาพ และเมื่อไหร่ก็ตามที่สมองส่วนกลางทำงานมันจะต้องอาศัย
    ระยะเวลาอีกช่วงหนึ่งก่อนที่ภาพที่ดึงจากความจำนั้นจะหายไป

    แต่ทีนี้ การฝึกธรรมะนั้น ทางวิทยาศาสตร์จะชี้ว่า คนที่ฝึกจะเปลี่ยนจากการใช้
    สมองส่วนกลางมาเป็นสมองส่วนหน้า ซึ่งสมองส่วนหน้าจะไม่มีอาการควันหลง หรือ
    ชีวะเคมีตกค้าง จะเกิดภาพแล้วสลายไปในทันที ไม่ติดค้าง

    ดังนั้น หากเจริญสติขึ้นมาถูกฝาถูกตัว แนวโน้มของการเห็น สติมีสองตัว หลาย
    ตัวทำงานได้พร้อมๆกัน จะไม่เกิดขึ้น และจะค่อยรู้ชัดว่า มันรู้ได้ทีละอารมณ์เท่านั้น
    ผิดจากนี้จะไม่ใช่ แต่เพราะความที่ไวมาก สติสามารถทำงานได้ไวมาก ในช่วงเวลา
    เพียงนิดเดียวจะสามารถระลึกภาพได้มากกว่า 2 ไม่ใช่แค่ 10 เท่า 100 เท่า แต่จะ
    พบว่ามันมากกว่านั้น

    ตรงนี้ต้องเปรยเอาไว้ก่อน เพราะหากไปจับจุดว่า สติรู้ได้ทีละหลายๆอย่าง จะเกิด
    การปรุง ความรู้สึกตัวทั่วพร้อมที่เป็นเรื่องของความฝุ้งซ่านด้วยการคิดเอา มาแทน
    การรู้ตัวทั่วพร้อมที่ถูกต้องที่เกิดจากการรู้ด้วยตัวจิต

    ซึ่งจะช่วยให้ จำแนกการรู้ท้องพองยุยนั้นได้ถูกต้อง กล่าวคือ เมื่อหายใจเข้าท้อง
    จะยุบ ไม่ใช่พอง เมื่อหายใจออกท้องจะพองไม่ใช่ยุบ ตรงนี้ ขอทิ้งไว้เป็นปริศนา
    ให้ลองไปน้อมปฏิบัติดู
     
  4. tivaratree

    tivaratree Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +67
    ขอบคุณคุณเล่าปังมากๆ ค่ะ ดิฉันจะลองนำไปปฏิบัติดูใหม่ค่ะ ^_^
     
  5. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
  6. Prasit5000

    Prasit5000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    301
    ค่าพลัง:
    +228
    ที่โพสภาษาอังกฤษผมแปลภาษาไม่เก่ง แต่คิดว่า ไม่เกี่ยวกับศาสนาเราเลย งง ที่ในกระทูนี้ ชาวพุทธเรา เห็นดีกันทุกคนแล้ว สาธุ ครับ
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ผมก็ ดีสอีสอ่ะบุ๊ค อย่างเดียวครับ

    หุหุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...