พุทธศาสนสุภาษิต

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย สันโดษ, 18 ตุลาคม 2008.

  1. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    สามัคคี

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ความพร้อมเพรียงของหมู่ ให้เกิดสุข
    </TD><TD></TD><TD>สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
    ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความพร้อมเพรียงของผู้พร้อมเพรียงกัน ให้เกิดสุข
    </TD><TD></TD><TD>สมคฺคานํ ตโป สุโข
    ขุ.ธ. ๒๕/๔๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความรประนีประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาทญฺจ เขมโต
    สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.

    ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงศึกษาความสามัคคี, ความสามัคคีนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว, ผู้ยินดีในสามัคคี ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
    </TD><TD></TD><TD>สามคฺยเมวา สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ.
    สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.

    ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๔๖.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงกันเป็นสุข, ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรมย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
    </TD><TD></TD><TD>สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี สมคฺคานญฺจนุคฺคโห
    สมคฺครโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ.

    ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ทาน

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>เมื่อจิตเลื่อมใสแล้ว ทักษิณาทานชื่อว่าน้อยย่อมไม่มี </TD><TD></TD><TD>นตฺถิ จิตฺเต ปสนฺนมฺห อปฺปกา นาม ทกฺขิณา
    ขุ.วิมาน. ๒๖/๘๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การเลือกให้ อันพระสุคตทรงสรรเสริญ </TD><TD></TD><TD>วิเจยฺย ทานํ สุคตปฺปสตฺถํ
    สํ.ส. ๑๕/๓๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนพาลเท่านั้น ย่อมไม่สรรเสริญทาน</TD><TD></TD><TD>พาลา หเว นปฺปสํสนฺติ ทานํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้ ย่อมผูกไมตรีไว้ได้</TD><TD></TD><TD>ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ
    สํ.ส. ๑๕/๓๑๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก </TD><TD></TD><TD>ททมาโน ปิโย โหติ
    องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๔๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปราชญ์ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข</TD><TD></TD><TD>สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ
    องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๔๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ </TD><TD></TD><TD>เสฏฐนฺทโท เสฏฐมุเปติ ฐานํ
    องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๕๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ
    วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และ กำลังอันเลิศ ก็เจริญ
    </TD><TD></TD><TD>อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวทฺฒติ
    อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ

    ขุ.อิติ. ๒๕/๒๙๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ
    ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศ ในภพที่ตนเกิด
    </TD><TD></TD><TD>อคฺคทายี วรทายี เสฏฺฐทายี จ โย นโร
    ทีฆายุ ยสวา โหติ ยตฺถ ยตฺถูปปชฺชติ

    องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๕๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ให้ทานเป็นต้นก่อน จึงได้สุขบัดนี้
    เหมือนรดน้ำที่โคนให้ผลที่ปลาย
    </TD><TD></TD><TD>ปุพฺเพ ทานาทิกํ ทตฺวา อิทานิ ลภตี สุขํ
    มูเลว สิญฺจิตํ โหติ อคฺเค จ ผลทายกํ

    สทฺทสารตฺถชาลินี
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ฉันใด
    ทานที่ให้แต่โลกนี้ ย่อมสำเร็จแก่ผู้ละไปแล้วฉันนั้น
    </TD><TD></TD><TD>ยถา วาริวหา ปูรา ปริปูเรนฺติ สาคร
    เอวเมว อิโต ทินฺนํ เปตานํ อุปกปฺปติ

    ขุ.ขุ. ๒๕/๑๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดให้ที่พักอาศัย ผู้นั้นชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง
    ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ
    </TD><TD></TD><TD>โส จ สพฺพทโท โหติ โย ททาติ อุปสฺสยํ
    อมตนฺทโท จ โส โหติ โย ธมฺมมนุสาสติ

    สํ.ส. ๑๕/๔๔
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ แต่ให้ทานในคนที่ควรให้
    เมื่อประสบปัญหา ย่อมได้พบผู้ช่วยเหลือ
    </TD><TD></TD><TD>อเทยฺเยสุ อททํ ทานํ เทยฺเยสุ โย ปเวจฺฉติ
    อาปาสุ พฺยสนํ ปตฺโต สหายํ อธิคจฺฉติ

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๒๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ ย่อมให้ในคนที่ควรให้.
    ผู้นั้นประสบความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมได้สหาย.
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อเทยฺเยสุ อททํ ทานํ เทยฺเยสุ โย ปเวจฺฉติ
    อาปาสุ พฺยสนํ ปตฺโต สหายํ อธิคจฺฉนฺติ

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๒๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ใดให้ทานในบุคคลที่ไม่ควรให้ ไม่ให้ในคนที่ควรให้.
    ผู้นั้นถึงความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมไม่ได้สหาย.
    </TD><TD></TD><TD>อเทยฺเยสุ ททํ ทานํ เทยฺเยสุ นปฺปเวจฺฉติ
    อาปาสุ พฺยสนํ ปตฺโต สหายํ นาธิคจฺฉติ.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๒๙.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีบโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ.
    </TD><TD></TD><TD>อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท
    ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท.

    สํ. ส. ๑๕/๔๔.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศ ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี ผู้ให้ของประเสริฐ ย่อมถึงฐานะอันประเสริฐ. </TD><TD></TD><TD>มนาปทายี ลภเต มนาปํ
    อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ
    วรสฺส ทาตา วรลาภี จ โหติ
    เสฏฺฐนฺทโท เสฏฺฐมุเปติ ฐานํ.

    อง. ปญฺจก. ๒๒/๕๖.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้ให้ข้าวชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้าชื่อว่าให้ผิวพรรณ
    ผู้ให้ยานพาหนะชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟชื่อว่าให้จักษุ
    </TD><TD></TD><TD>อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท
    ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ศีล

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD>ศีลยังประโยชน์ให้สำเร็จตราบเท่าชรา </TD><TD></TD><TD>สีลํ ยาว ชรา สาธุ
    สํ.ส. ๑๕/๕๐
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา </TD><TD></TD><TD>สฺขํ ยาว ชรา สีลํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๕๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ท่านว่าศีลนั้นเทียวเป็นความดี </TD><TD></TD><TD>สีลํ กิเรว กลฺยาณํ
    ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน </TD><TD></TD><TD>สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ
    นัย- ขุ.อุ. ๒๕/๑๗๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความสำรวมในที่ทั้งปวงเป็นดี </TD><TD></TD><TD>สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร
    สํ.ส. ๑๕/๑๐๖
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปราชญ์พึงรักษาศีล </TD><TD></TD><TD>สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี
    ขุ.อิติ. ๒๕/๒๘๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
    </TD><TD></TD><TD>อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
    ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนผู้ทุศีลย่อมได้รับความติเตียน และความเสียชื่อเสียง ส่วนผู้มีศีลย่อมได้รับชื่อเสียงและความยกย่องสรรเสริญทุกเมื่อ
    </TD><TD></TD><TD>อวณฺณญฺจ อกิตฺติญฺจ ทุสฺสีโล ลภเต นโร
    วณฺณํ กิตฺตึ ปสํสญฺจ สทา ลภติ สีลวา

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปรีชามั่นคงดีแล้วในศีล ย่อมได้รับชื่อเสียงในโลกนี้
    ละไปแล้วย่อมดีใจในสวรรค์ ชื่อว่าย่อมดีใจในที่ทั้งปวง
    </TD><TD></TD><TD>อิเธว กิตฺตึ ลภติ เปจฺจ สคฺเค จ สุมโน
    สพฺพตฺถ สุมโน ธีโร สีเลสุ สุสมาหิโต

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปรีชามั่นคงดีแล้วในศีล ย่อมได้รับชื่อเสียงในโลกนี้
    จะไปแล้วย่อมดีใจในสวรรค์ ชื่อว่าย่อมดีใจในที่ทั้งปวง
    </TD><TD></TD><TD>อิเธว นินฺทํ ลภติ เปจฺจาปาเย จ ทุมฺมโน
    สพฺพตฺถ ทุมฺมโน พาโล สีเลสุ อสมาหิโต

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีปัญญาเมื่อปรารถนาสุข ๓ อย่าง คือ ความสรรเสริญ ความได้ทรัพย์ และความละไปบันเทิงในสวรรค์ ก็พึงรักษาศีล
    </TD><TD></TD><TD>สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี ปตฺถยาโน ตโย สุเข
    ปสํสํ วิตฺติลาภญฺจ เปจฺจ สคฺเค ปโมทนํ

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้มีศีลย่อมได้มิตรมากด้วยความสำรวม
    ส่วนผู้ไม่มีศีล ประพฤติชั่ว ย่อมแตกจากมิตร
    </TD><TD></TD><TD>สีลวา หิ พหู มิตฺเต สญฺญเมนาธิคจฺฉติ
    ทุสฺสีโล ปน มิตฺเตหิ ธํสเต ปาปมาจรํ

    (สีลวเถร) ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๗
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
    ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
    </TD><TD></TD><TD>สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
    สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลเป็นสะพานอันสำคัญ ศีลเป็นกลิ่นที่ไม่มีกลิ่นอื่นยิ่งกว่า
    ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐสุด เพราะศีล (มีกลิ่น) ขจรไปทั่วทุกทิศ
    </TD><TD></TD><TD>สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร
    สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">เมื่อภิกษุมีมานะ ประมาทแล้ว มีความหวังในภายนอก, ศีล สมาธิ และปัญญา ย่อมไม่ถึงความบริบูรณ์.</TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อุนฺนฬสฺส ปมตฺตสฺส พาหิราสสฺส ภิกฺขุโน
    สีลํ สมาธิ ปญฺญา จ ปาริปูรึ น คจฺฉติ.

    (โสณโกฬิวิสเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>มารค้นหาอยู่ ย่อมไม่พบทางของท่านผู้มีศีลสมบูรณ์ อยู่ด้วยความไม่ประมาท หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้ชอบ.</TD><TD></TD><TD>เตสํ สมฺปนฺนสีลานํ อปฺปมาทวิหารินํ
    สมฺมทญฺญา วิมุตฺตานํ มาโร มคฺคํ น วินฺทติ.

    ขุ. ธ. ๒๕/๒๒.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์.</TD><TD></TD><TD>สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
    สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ.

    (สีลวเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ศีลเป็นสะพานอันมีศักดิ์ใหญ่ ศีลเป็นกลิ่นที่ไม่มีกลิ่นอื่นยิ่งกว่า ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ ซึ่งเป็นเครื่องขจรไปทั่วทุกทิศ.</TD><TD></TD><TD>สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร
    สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ.

    (สีลวเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    ปัญญา

    <TABLE width="70%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="65%">แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา ไม่มี</TD><TD width="2%"></TD><TD width="33%">นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา.
    สํ.ส. ๑๕/๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก </TD><TD></TD><TD>ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต
    สํ.ส. ๑๕/๖๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาเพียงดังแผ่นดินย่อมเกิด เพราะความ
    ประกอบโดยแท้
    </TD><TD></TD><TD>โยคา เว ชายตี ภูริ
    ขุ.ธ.๒๕/๕๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความสิ้นไปแห่งปัญญาเพียงดังแผ่นดิน
    เพราะความไม่ประกอบ
    </TD><TD></TD><TD>อโยคา ภูริสงฺขโย
    ขุ.ธ.๒๕/๕๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>การได้เฉพาะซึ่งปัญญานำมาซึ่งความสุข</TD><TD></TD><TD>สุโข ปญฺญาย ปฏิลาโภ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๓/๕๙

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาเป็นรัตนะของนรชน </TD><TD></TD><TD>ปญฺญา นรานํ รตนํ
    สํ.ส. ๑๕/๕๐

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาเทียวประเสริฐกว่าทรัพย์ </TD><TD></TD><TD>ปญฺญาว ธเนน เสยฺโย
    ขุ.เถร. ๒๖/๓๘๘/๓๗๙
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ความพินิจไม่มีแก่คนไร้ปัญญา
    (ฌานไม่มีแก่ผู้ไม่มีปัญญา)
    </TD><TD></TD><TD>นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส
    ขุ.ธ. ๒๕/๖๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ</TD><TD></TD><TD>นตฺถิ ปญฺญา อฌายโต
    ขุ.ธ. ๒๕/๖๕
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาย่อมปกครองคนนั้น</TD><TD></TD><TD>ปญฺญา เจนํ ปสาสติ
    สํ.ส. ๑๕/๑๗๕/๕๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนเกียจคร้านย่อมไม่ประสบทางแห่งปัญญา
    </TD><TD></TD><TD>ปญฺญาย มคฺคํ อลโส น วินฺทติ
    ขุ.ธ. ๒๕/๓๐/๕๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ฟังด้วยดี ย่อมได้ปัญญา
    </TD><TD></TD><TD>สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ
    สํ.ส. ๑๕/๑๗๕/๕๒
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนย่อมเห็นเนื้อความด้วยปัญญา </TD><TD></TD><TD>ปญฺญายตฺถํ วิปสฺสติ
    อง.สตฺตก. ๒๓/๓
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา </TD><TD></TD><TD>ปญฺญาย ปริสุชฺฌติ
    ขุ.สุ. ๒๕/๓๖๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนฉลาดกล่าวว่าปัญญาแล ประเสริฐสุด</TD><TD></TD><TD>ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลส วทนฺติ
    ขุ.ชา. สตฺตก. ๒๗/๕๔๑
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปราชญ์กล่าวชีวิตของผู้เป็นอยู่ด้วยปัญญาว่าประเสริฐสุด </TD><TD></TD><TD>ปญฺญาชีวีชีวิตมาหุ เสฏฺฐํ
    สํ.ส. ๑๕/๕๘, ๓๑๕ ขุ.สุ. ๒๕/๓๖๐
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>แท้จริง สัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญปัญญาเท่านั้น, ศิริเป็นที่ใคร่ของ คนโง่ เพราะมนุษย์ทั้งหลายยินดีในโภคสมบัติ,
    ก็ความรู้ของท่านผู้รู้ ทั้งหลาย ใครๆ ชั่งไม่ได้ ในกาลไหนๆ, คนมีศิริย่อมไม่ล่วงเลยคน มีปัญญาไปได้ ไม่ว่าในกาลไหนๆ.
    </TD><TD></TD><TD>อทฺธา หิ ปญฺญาว สตํ ปสตฺถา
    กนฺตา สิรี โภครตา มนุสฺสา
    ญาณญฺจ พุทฺธานมตุลฺยรูปํ
    ปญฺญํ น อจฺเจติ สิรี กทาจิ

    (มโหสธโพธิสตฺต) ขุ.ชา.วีส. ๒๗/๔๒๘
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD width="53%">ผู้ขบคิดปัญหาอันลึกซึ้งด้วยใจ
    ไม่ทำกรรมชั่ว อันไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูลเลย,
    ไม่ละทางแห่งประโยชน์ที่มาถึงตามเวลา,
    บัณฑิตทั้งหลายเรียกคนอย่างนั้นว่า ผู้มีปัญญา.
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">คมฺภีรปญฺหํ มนสาภิจินฺตยํ
    นจฺจาหิตํ กมฺม กโรติ ลุทฺทํ
    กาลาคตํ อตฺถปทํ น ริญฺจติ
    ตถาวิธํ ปญฺญวนฺตํ วทนฺติ.

    (สงฺภงฺคโพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ๒๗/๕๔๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนเขลามียศศักดิ์ ก็เป็นทาสของคนมีปัญญา,
    เมื่อเรื่องราวต่างๆ เกิดขึ้น คนฉลาดจัดการข้อใดได้แนบเนียน คนเขลาถึงความงมงายในข้อนั้น.
    </TD><TD></TD><TD>ทาโส ว ปญฺญาสฺส ยสสฺสิ พาโล
    อตฺเถสุ ชาเตสุ ตถาวิเธสุ
    ยํ ปณฺฑิโต นิปุณํ สํวิเธติ
    สมฺโมหมาปชฺชติ ตตฺถ พาโล.

    (มโหสธโพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีส. ๒๗/๔๒๘.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้รู้ย่อมสรรเสริญคนมีปัญญา พูดจริง ตั้งมั่นในศีล ประกอบความสงบใจนั้นแล. </TD><TD></TD><TD>ปญฺญวนฺตํ ตถาวาทึ สีเลสุ สุสมาหิตํ
    เจโตสมถมนุยุตฺตํ ตํ เว วิญฺญุ ํ ปสํสเร.

    (มหากสฺสปเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๔๑๑.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ปัญญาเป็นเครื่องวินิจฉัยสิ่งที่ฟังแล้ว ปัญญาเป็นเครื่องเพิ่มพูนเกีรยติคุณและชื่อเสียง คนผู้ประกอบด้วยปัญญาในโลกนี้ แม้ในความทุกข์ก็หาความสุขได้.

    </TD><TD></TD><TD>ปญฺญา สุตวินิจฺฉินี ปญฺญา กิตฺติโลกวฑฺฒนี ปญฺญาสหิโต นโร อิธ อปิ ทุกฺเขสุ สุขานิ วินฺทติ.
    (มหากปฺปินเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD> </TD><TD></TD><TD> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย, คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้.

    </TD><TD></TD><TD>ปญฺญาย ติตฺตีนํ เสฏฺ
     
  5. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    เบ็ดเตล็ด

    <TABLE width="85%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="53%">สิ่งที่ไม่ได้คิดไว้ ย่อมมีได้, สิ่งที่คิดไว้ ก็เสียหายได้,
    โภคะของสตรีหรือบุรุษที่สำเร็จได้ด้วยนึกเอาไม่มีเลย.
    </TD><TD width="2%"></TD><TD width="45%">อจินฺติตมฺปิ ภวติ จินฺติตมฺปิ วินสฺสติ
    น หิ จินฺตามยา โภคา อิตฺถิยา ปุริสสฺส วา.

    (มหาชนกโพธิสตฺต) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๑๖๗.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>กามทั้งหลายมีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก
    ทุกข์อันยิ่งกว่ากามไม่มี
    ผู้ใดส้องเสพกาม ผู้นั้นย่อมเข้าถึงนรก.
    </TD><TD></TD><TD>อปฺปสฺสาทา ทุกฺขา กามา นตฺถิ กามา ปรํ ทุกฺขํ
    เย กาเม ปฏิเสวนฺติ นิรยนฺเต อุปปชฺชเร.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอกาทสก. ๒๗/๓๑๕.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>พึงเป็นคนไม่เบียดเบียน (ผู้อื่น) และกล่าวคำสัตย์อย่างนี้
    ละไปจากโลกนี้ไปสู่โลกอื่นแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก.
    </TD><TD></TD><TD>อพฺยาปชฺโฌ สิยา เอวํ สจฺจวาที จ มาณโว
    อสฺมา โลกา ปรํ โลกํ เอวํ เปจฺจ น โสจติ.

    ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๒.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คฤหัสถ์ผู้บริโภคกามเป็นผู้เกียจคร้าน ไม่ดี,
    บรรพชิตไม่สำรวม ก็ไม่ดี,
    พระราชาไม่ทรงใคร่ครวญก่อนแล้วทำ ไม่ดี,
    บัณฑิตมักโกรธ ก็ไม่ดี
    </TD><TD></TD><TD>อลโส คิหี กามโภคี น สาธุ
    อสญฺญโต ปพฺพชิโต น สาธุ
    ราชา น สาธุ อนิสมฺมการี
    โย ปณฺฑิโต โกธโน ตํ น สาธุ.

    (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีส. ๒๗/๔๔๖.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้เข้าใจสิ่งที่ไม่เป็นสาระว่าเป็นสาระ และเห็นสิ่งที่เป็นสาระว่าไม่เป็นสาระ เขามีความดำริผิดเป็นโคจร จึงไม่ประสบสิ่งที่เป็นสาระ</TD><TD></TD><TD>อสาเร สารมติโน สาเร จาสารทสฺสิโน
    เต สารํ นาธิคจฺฉนฺติ มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจรา.

    ขุ. ธ. ๒๕/๑๖.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>บุคคลไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่ใฝ่หาถึงสิ่งที่ยังมาไม่ถึง, ยังชีวิตให้เป็นไปด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า เพราะเหตุนั้น ผิวพรรณย่อมผ่องใส.</TD><TD></TD><TD>อตีตํ นานุโสจนฺติ นปฺปชปฺปนฺติ นาคตํ
    ปจฺจุปฺปนฺเนน ยาเปนฺติ เตน วณฺโณ ปสีทติ.

    สํ. ส. ๑๕/๗.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>เมื่อมีจิตใจไม่หนักแน่น เป็นคนใจเบา มักประทุษร้ายมิตร
    มีความประพฤติกลับกลอกเป็นนิตย์ ย่อมไม่มีความสุข.
    </TD><TD></TD><TD>อวนฏฺฐิตจิตฺตสฺส ลหุจิตฺตสฺส ทุพฺภิโน
    นิจฺจํ อทฺธุวสีลสฺส สุขภาโว น วิชฺชติ.

    (สิงฺคิลโพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกฺก ๒๗/๑๔๒.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>คนใดเป็นนักเลงหญิง นักเลงสุรา และนักเลงการพนัน ย่อมล้างผลาญทรัพย์ที่ตนได้แล้วๆ, ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งผู้ฉิบหาย. </TD><TD></TD><TD>อิตฺถีธุตฺโต สุราธุตฺโต อกฺขธุตฺโต จ โย นโร
    ลทฺธํ ลทฺธํ วินาเสติ ตํ ปราภวโต มุขํ.

    สุ. ขุ. ๒๕/๓๔๗.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ ประชาชนนี้ข้องอยู่ในหญิงนี้ ตบะและพรหมจรรย์เป็นเครื่องอาบ ไม่ใช่น้ำ.</TD><TD></TD><TD>อิตฺถี มลํ พฺรหฺมจริยสฺส เอตฺถายํ สชฺชเต ปชา
    ตโป จ พฺรหฺมจริยญฺจ ตํ สินานมโนทกํ

    สํ. ส. ๑๕/๕๒.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ชีวิตคืออายุอันน้อยนี้ ถูกชรานำเข้าไป เมื่อสัตว์ถูกชรานำเข้าไปแล้ว ย่อมไม่มีเครื่องต้านทาน ผู้เล็งเห็นภัยในมรณะนั้น มุ่งความสงบ พึงละโลกามิสเสีย.</TD><TD></TD><TD>อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ ํ
    ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
    เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขามาโน
    โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข.

    สํ. ส. ๑๕/๗๗.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ผู้สงบ เว้นบาป ฉลาดมาก ไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมขจัดบาปธรรมเสียได้ เหมือนลมกำจัดใบไม้ฉะนั้น.</TD><TD></TD><TD>อุปสนฺโต อุปรโต มนฺตภาณี อนุทฺธโต
    ธุนาติ ปาปเก ธมฺเม ทุมปตฺตํว มาลุโต.

    (มหาโกฏฺฐิตเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๒๖๐.
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>ถ้าสัตว์พึงรู้อย่างนี้ว่า
     
  6. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE width="69%" align=center><TBODY><TR><TD width="41%">องฺ. อฏฺฐก. </TD><TD width="59%">องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺฐกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. จตุกฺก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. ฉกฺก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. ติก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. ทสก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. ปญฺจก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย ปญฺจกนิปาต </TD></TR><TR><TD>องฺ. สตฺตก. </TD><TD>องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาต </TD></TR><TR><TD>ขุ. อิติ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตก </TD></TR><TR><TD>ขุ. อุ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย อุทาน </TD></TR><TR><TD>ขุ. ขุ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ขุทฺทกปาฐ </TD></TR><TR><TD>ขุ. จริยา. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย จริยาปิฏก </TD></TR><TR><TD>ขุ. จู. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย จูฬนิทฺเทส </TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. อฏฺฐก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก อฏฺฐกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. อสีติ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก อสีตินิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. เอก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก เอกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก จตฺตาฬีสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. จตุกฺก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก จตุกฺกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ฉกฺก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ฉกฺกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ตึส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ตึสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ติก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ติกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. เตรส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก เตรสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ทฺวาทส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ทฺวาทสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ทสก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ทสกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ทุก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ทุกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. นวก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก นวกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ปกิณฺณก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ปกิณฺณกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ปญฺจก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ปญฺจกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. ปญฺญาส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก ปญฺญาสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. มหา. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก มหานิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. วีส. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. วีสติ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก วีสตินิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. สฏฺฐิ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก สฏฺฐินิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. สตฺตก. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตกนิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. ชา. สตฺตติ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ชาตก สตฺตตินิปาต</TD></TR><TR><TD>ขุ. เถร. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย เถรคาถา</TD></TR><TR><TD>ขุ. เถรี. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย เถรีคาถา</TD></TR><TR><TD>ขุ. ธ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปท</TD></TR><TR><TD>ขุ. ปฏิ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺค</TD></TR><TR><TD>ขุ. พุ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย พุทฺธวํส</TD></TR><TR><TD>ขุ. มหา. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทส</TD></TR><TR><TD>ขุ. วิ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย วิมานวตฺถุ</TD></TR><TR><TD>ขุ. เปต. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย เปตวตฺถุ</TD></TR><TR><TD>ขุ. สุ. </TD><TD>ขุทฺทกนิกาย สุตฺตนิปาต</TD></TR><TR><TD>ที. ปาฏิ. </TD><TD>ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺค</TD></TR><TR><TD>ที. มหา. </TD><TD>ทีฆนิกาย มหาวคฺค</TD></TR><TR><TD>ม. อุป. </TD><TD>มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสก</TD></TR><TR><TD>ม. ม. </TD><TD>มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสก</TD></TR><TR><TD>วิ. จุล. </TD><TD>วินยปิฎก จุลฺลวคฺค</TD></TR><TR><TD>วิ. ภิ. </TD><TD>วินยปิฎก ภิกฺขุนีวิภงฺค</TD></TR><TR><TD>วิ. มหา. </TD><TD>วินยปิฎก มหาวคฺค</TD></TR><TR><TD>วิ. มหาวิภงฺค. </TD><TD>วินยปิฎก มหาวิภงฺค</TD></TR><TR><TD>สํ. นิ. </TD><TD>สํยุตฺตนิกาย นิทานวคฺค</TD></TR><TR><TD>สํ. มหา. </TD><TD>สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺค</TD></TR><TR><TD>สํ. ส. </TD><TD>สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺค</TD></TR><TR><TD>สํ. สฬ. </TD><TD>สํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺค</TD></TR><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>ส. ม. </TD><TD>สวดมนต์ฉบับหลวง </TD></TR><TR><TD>ร.ร.๔ </TD><TD>พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๔ </TD></TR><TR><TD>ว.ว. </TD><TD>สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส </TD></TR><TR><TD>ส.ฉ. </TD><TD>สมเด็จพระสังฆราช (ฉิม) </TD></TR><TR><TD>ส.ส. </TD><TD>สมเด็จพระสังฆราช (สา) </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ข้อมูลจาก http://www.dhammalife.com/dhamma/bhasit/abrev.php
     
  7. Khundeaw

    Khundeaw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    339
    ค่าพลัง:
    +706
    เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมฺมานุวตฺติโน
    เต ชนา ปารเมสฺสนฺติ มจฺจุเธยฺยํ สุทตฺตรํ
    ขุ.ธ. ๒๕/๒๖



    อนุโมทนาสาธุ สาธุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...