ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    เคยเห็นแต่ดาวหางพุ่งเข้าชนดวงอาทิตย์แล้วเกิดการระเบิดมวลขณะที่ชน
    แต่อันนี้ ยังอยู่ห่างหลายล้านไมล์ดวงอาทิตย์ก็ระเบิดมวลออกมาก่อน

    น่าสนใจนะครับ
    เป็นเพราะดาวหางทำให้ดวงอาทิตย์ระเบิดมวล
    หรือว่า....
    ดวงอาทิตย์มันระเบิดมวลของมันเอง
    ซึ่งเป็นจังหวะพอดีกับตอนดาวหางเข้าไปใกล้

    อือ ใครจะรู้บ้างไหมเนี่ย
    แต่เลขเด็ดนี่น่าสนใจจริงๆนะเนี่ย
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    หรือมันคือ Goat comet?
     
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    [​IMG]

    ณ วันนี้ ( 22 สค. 56 ) ดาวหาง ISON ยังล่องลอยอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัส และดาวหางยังอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ตั้ง 347 ล้าน กิโลเมตร ( 2.32 AU - ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ ) เชียวนะ อย่างที่ท่าน Falkman ว่า ไม่ธรรมดาเลยจริงๆ กับดาวหางที่มีขนาดนิวเคลียสแค่ 5 กม. ถ้าเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่านี้ มีหวังได้เห็น x-flare จากดวงอาทิตย์ วันละหลายลูกแน่ๆเลยครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2013
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ถ้าไปดูรูปจาก เวบของ MAST ที่มาของ ภาพ ดาวหาง ISON จากกล้อง Hubble จะทราบว่าการ process ภาพต้นฉบับเดียวกันแต่ใช้ Filter ต่างชนิด ( F475W, F606W, F814W ) เพื่อต้องการศึกษารายละเอียด องค์ประกอบของดาวหาง แต่ต้องเข้าใจด้วยว่า บางครั้ง แบคกราวนด์ที่ดาวหางบดบังอยู่อาจมีดาวอื่นๆอีกบางดวงที่อยู่ห่างออกไป อาจทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของดาวหาง

    MAST Comet Ison


    เพิ่มเติม : สีของฟิลเตอร์ F475W (blue), F606W(green), F814W(red)

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2013
  5. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ถ้า Ison มีนิวเคลียส 3 ชิ้น นี่จะเป็นเรื่องใหญ่เรื่องโตที่มนุษย์โลกนี้ไม่เคยเจอมาก่อน องค์ความรู้เรื่องจักรวาลวิทยา จะต้องเอาโยนลงถังขยะ แล้วกลับมาเริ่มศึกษากันใหม่หมด จะเอาแน่เอานอนกับสิ่งที่ตาเห็น หรือเครื่องที่ใช้ตรวจใช้วัด ไม่ได้อีกแล้ว กล้องฮับเบิล สปิทเซอร์ สเตอริโอเอบีซีดีจะต้องเอาไปชั่งกิโลขายเจ๊กทั้งหมด

    ส่วนเราก็คงต้องปล่อยวาง ปล่อยวาง ปล่อยวาง ....
     
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ท่าน Falkman คงกลัวว่า งานนี้ ดาวหาง ISON จะกลายเป็นแพะรับบาป !!

    .
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ถูกต้องนะค๊าบบบบบบ.............
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ผมคิดว่า ถ้าทั้ง 3 ชิ้นเป็น องค์ประกอบของดาวหางจริง แล้วทำไมชิ้นที่อยู่ขอบ มันลอยในลักษณะขวาง ทั้งๆที่มันเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง หรือว่าเป็นช่วงจังหวะที่กำลังแตกตัวพอดี !!! ถ้าขยายภาพแล้วลองดูรูปร่างของเทหวัตถุชนิดอื่นๆในภาพนั้น จะเห็นว่า มีรูปร่างที่คล้ายๆกับที่เข้าใจว่าเป็นชิ้นส่วนของดาวหางเยอะมาก พอจะทำให้เชื่อได้ว่า มีเทหวัตถุอื่นที่ดาวหางบดบังอยู่ พอปรับ contrast ให้สูงขึ้น สิ่งที่ dust + ion tail ของดาวหางบดบังไว้ก็จะเผยออกให้เห็นนั่นเอง

    [​IMG]


    วันเวลาจะพิสูจน์ ให้เห็นเองครับว่า มันคืออะไรกันแน่

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คำถามที่ว่า ดาวหาง ISON จะชนดาวพุธหรือไม่ ผมได้ตอบไปแล้วว่าไม่ชนครับ

    ไม่ใช่ว่าในอดีต ดาวพุธไม่เคยถูกชนจากดาวหางหรืออุกกาบาตมาก่อน จากรูปมีร่องรอยให้เห็นหลุมขนาดใหญ่หลายหลุม แสดงว่าเกิดการชนอย่างรุนแรง ( Caloris Basin ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1,550 กม.) แต่เนื่องจากพื้นผิวและแกนของดาวพุธค่อนข้างแข็ง ดาวหางขนาด 5-10 กม. น่าจะผ่านได้สบาย

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    ถึงมันเกิดชนขึ้นมาจริง ( หรือเกิดขึ้นจากดาวหางดวงอื่น) ผมว่าก็ไม่น่าจะมีผลกระทบมาถึงโลกเราครับ ดาวพุธอยู่ห่างจากโลก(จุดที่ใกล้สุดในวงโคจร) 0.55 AU ( 51 ล้านไมล์ หรือ 82 ล้านกิโลเมตร ) เศษชิ้นส่วนดาวหาง คงจะถูกแรงดึงดูดของทั้งดาวพุธและดวงอาทิตย์ดึงดูดไว้ ให้โคจรอยู่รอบๆใกล้เคียงกับวงโคจรของดาวพุธ

    [​IMG]

    .
     
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    จงไปสู่ ที่ชอบๆ เทอญ


    [​IMG]

    นี่ก้อเป็นเศษดาวหางดวงเล็กๆ (ขนาดไม่กี่สิบเมตร) อีกดวงในสัปดาห์นี้ ที่พุ่งตรงเข้าหาดวงอาทิตย์ หลังจากดวงแรกเมื่อวันที่ 20 สค.56 ทั้งสองดวงจัดให้อยู่ในกลุ่มดาวหางที่ชื่อ Kreutz Family ซึ่งตั้งชื่อตาม Heinrich Kreutz ชาวเยอรมัน ผู้ศึกษาเศษดาวหางกลุ่มนี้ที่แตกตัวมาจากดาวหางขนาดใหญ่ เมื่อหลายร้อยปีมาแล้ว

    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 สิงหาคม 2013
  11. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ดูจากภาพแล้ว เจ้า Kreutz นี่ก็ทำให้ดวงอาทิตย์ระเบิดมวลใส่มันเหมือนกันนี่ครับ
    หรือว่านี่เป็นปรากฎการณ์ปกติของดวงอาทิตย์ที่เกิดจาก shock wave ของดาวหาง
    หรือยังไงครับท่าน
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ผมคิดว่าเป็นความบังเอิญครับท่าน kiatp123 ช่วงนี้ดวงอาทิตย์เริ่มมีปฎิกิริยาเพิ่มขึ้นอีกแล้วครับ เห็นได้จากจุดดับมากขึ้นและ Solar flare ก็บ่อยขึ้นกว่า หาตัวอย่างของเก่ามาดู ก็ไม่มีเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ระเบิดมวลใสดาวหางนะ รึว่าดวงอาทิตย์ มีชีวิตจิตใจ รู้ว่าใครเป็นฝ่ายมิตร ฝ่ายศัตรู ดาวหางดวงไหนจงใจจะพุ่งมาชน ก็ปล่อยอาวุธ CME ออกไปสกัดกั้นทำลายในระยะไกล เออ..วันนี้รู้สึกไม่สบาย หน้าผากร้อนผ่าวๆ เดี๋ยวต้องทานยาก่อนล่ะ

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  13. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ฝุ่นดาวหางไอซอน จะใหญ่โตมโหราฬ ทำโลกแตกได้หรือไม่

    Comet ISON Meteor Shower


    April 19, 2013: Anticipation is building as Comet ISON plunges into the inner solar system for a close encounter with the sun in November 2013. Blasted at point-blank range by solar radiation, the sungrazer will likely become one of the finest comets in many years.

    When NASA's Swift spacecraft observed the comet in January 2013, it was still near the orbit of Jupiter, but already very active. More than 112,000 pounds of dust were spewing from the comet's nucleus every minute.

    It turns out, some of that dust might end up on Earth.
    Veteran meteor researcher Paul Wiegert of the University of Western Ontario has been using a computer to model the trajectory of dust ejected by Comet ISON, and his findings suggest that an unusual meteor shower could be in the offing.

    "For several days around January 12, 2014, Earth will pass through a stream of fine-grained debris from Comet ISON," says Wiegert. "The resulting shower could have some interesting properties.
    Auroras Underfoot (signup)

    According to Wiegert's computer models, the debris stream is populated with extremely tiny grains of dust, no more than a few microns wide, pushed toward Earth by the gentle radiation pressure of the sun. They will be hitting at a speed of 56 km/s or 125,000 mph. Because the particles are so small, Earth’s upper atmosphere will rapidly slow them to a stop.

    "Instead of burning up in a flash of light, they will drift gently down to the Earth below," he says.

    Don’t expect to notice. The invisible rain of comet dust, if it occurs, would be very slow. It can take months or even years for fine dust to settle out of the high atmosphere.

    While the dust is “up there,” it could produce noctilucent clouds (NLCs).



    NLCs are icy clouds that glow electric-blue as they float more than 80 km above Earth's poles. Recent data from NASA's AIM spacecraft suggests that NLCs are seeded by space dust. Tiny meteoroids act as nucleating points where water molecules gather; the resulting ice crystals assemble into clouds at the edge of space itself.

    This is still speculative, but Comet ISON could provide the seeds for a noctilucent display. Electric-blue ripples over Earth's polar regions might be the only visible sign that a shower is underway.

    Wiegert notes another curiosity: "The shower is going to hit our planet from two directions at once."

    When Earth passes through the debris stream, we will encounter two populations of comet dust. One swarm of dust will be following the Comet ISON into the sun. Another swarm will be moving in the opposite direction, pushed away from the sun by solar radiation pressure. The streams will pepper opposite sides of Earth simultaneously.

    "In my experience, this kind of double whammy is unprecedented," says Wiegert.

    Bill Cooke, lead scientist at NASA's Meteoroid Environment Office, says there's little danger to Earth-orbiting spacecraft. "These particles are just too small to penetrate the walls of our satellites, and they don't stand a chance against the heavy shielding of the ISS." However, he adds, mission operators will be alert around January 12th for possible anomalies.

    Sky watchers should probably be alert, too. The odds of seeing anything are low, but Comet ISON could prove full of surprises.

    Credits:

    Author: Dr. Tony Phillips | Production editor: Dr. Tony Phillips | Credit: Science@NASA

    More information:

    Comet of the Century? -- ScienceCast video about Comet ISON

    NASA's Swift Sizes Up Comet ISON -- press release

    The NASA Comet ISON Observing Campaign -- get involved

    ที่มา | Comet ISON Meteor Shower - NASA Science


    ไม่ได้เอารูปมาด้วย ตามไปดูรูปเองนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 สิงหาคม 2013
  14. rubian

    rubian เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    303
    ค่าพลัง:
    +483
    ช่วยตอบให้

    STAR SHIP
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คลับคล้ายคลับคลา จะเป็น image processing issue อีกแล้วมั่ง งานนี้ ???


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/5YAOaDBx3qo?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 สิงหาคม 2013
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    วีดีโออันนี้ก็ดูดีมีสาระนะครับ ยกเว้นตอนท้ายที่ลงเอยด้วยจุดจบของโลก ตามสไตล์ Doomsday phobia


    <iframe src="http://www.disclose.tv/embed/149151" width="560" height="315" frameborder="0" webkitAllowFullScreen mozallowfullscreen allowFullScreen></iframe><p><a href="http://www.disclose.tv" title="UFO Videos Conspiracy Forum">Disclose.tv</a> - <a href="http://www.disclose.tv/action/viewvideo/149151/Comet_of_the_Century_Ison__Alternative_Ending/">Comet of the Century Ison Alternative Ending</a></p>

    .
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    มีใครสงสัยกับ เส้นตรง 2 ขีด เหล่านี้รึปล่าวครับ


    [​IMG]

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    C/2012 S1 (ISON): A morning comet visible in a 14-inch (36 cm) telescope
    This comet begins the month in Gemini at magnitude 13.4. Look for a 30" coma. It should brighten by about 1.3 magnitudes, moving into Cancer by month's end


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  19. rubian

    rubian เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    303
    ค่าพลัง:
    +483
    ก็อยากให้เป็นอย่างที่ hifly ว่า เป็นแค่ image processing ดูจากภาพอื่นก็ไม่พบมีความเป็นไปได้

    แต่สงสัยนะว่า ทำไมมันไปเพิ่มแสงตรงที่สันนิษฐานว่า เป็น marker arm แถมบิดตามแกน ison อีก งงๆๆ

    สงสัยรอต่อไป ขอ more evidence
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    สำหรับผม มั่นใจว่าเป็น image ( stacking ) processing issue ครับ ส่วน marker arm เป็น back up ไว้เท่านั้นเอง

    ถ้าภาพที่เห็นว่าดาวหางมี 3 ชิ้นส่วน เกิดจากการนำภาพ 3 ชุดมาทำ stacking ( ดูการเคลื่อนที่ของดาวหางในวีดีโอข้างบนประกอบ ดูมันถอยไปด้านหลังแล้วเบี่ยงไปทางขวา ) ก็น่าคิดนะครับ

    [​IMG]

    อีกอย่าง ถ้าลองค้นหาตามเว็บ Astronomy / space / science ที่มีอยู่หลายสิบ ยังไม่มีเว็บไหน เขาเอาเรื่องนี้มาขยายความต่อเลยครับ ทั้งๆที่ภาพชุดนี้ release ตั้งแต่ 16 กค ผ่านมาเดือนกว่าแล้วครับ

    ONLY TIME WILL TELL ..

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 สิงหาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...