การสอนดูจิตตอนนี้ ไม่ต่างไปจากท่านสัญชัยปริพาชกในครั้งพุทธกาล

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 6 พฤศจิกายน 2009.

  1. ศุภกร เต็มคำขวัญ

    ศุภกร เต็มคำขวัญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    307
    ค่าพลัง:
    +1,107

    อ่านซะนะครับ จะได้จบๆกันเสียที...
    <CENTER><BIG></BIG> </CENTER><CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ปัญญาวรรค</BIG> </CENTER><CENTER class=D>๘. สติปัฏฐานกถา</CENTER>
    <CENTER> อรรถกถาสติปัฏฐานกถา </CENTER> บัดนี้จะพรรณนาตามความที่ยังไม่เคยพรรณนาแห่งสติปัฏฐานกถา อันมีพระสูตร<WBR>เป็นเบื้องต้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปัสสนาวิเศษ ๗ อย่าง ยก<WBR>อิทธิ<WBR>ปาฏิ<WBR>หา<WBR>ริย์ที่พระองค์ตรัสแล้วในลำดับแห่งสมสีสกถาเป็นตัวอย่างตรัสแล้ว.
    พึงทราบความในพระสูตรนั้นก่อน.
    บทว่า จตฺตาโร สติปัฏฐาน ๔ เป็นการกำหนดจำนวน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงการกำหนดสติปัฏฐานไว้ว่า ไม่ต่ำกว่านั้น ไม่สูงกว่านั้น.
    บทว่า อิเม นี้เป็นบทชี้ให้เห็นสิ่งที่ควรชี้ให้เห็น.
    บทว่า ภิกฺขเว เป็นคำร้องเรียกบุคคลผู้รับธรรม.
    บทว่า สติปฏฺฐานา คือ สติปัฏฐาน ๓ อย่าง ได้แก่ สติเป็นโคจร ๑ ความที่พระศาสดาผู้ประพฤติล่วงความยินดียินร้าย ในสาวกทั้งหลายผู้ปฏิบัติ ๓ อย่าง ๑ และสติ ๑.
    สติโคจร ท่านกล่าวว่าสติปัฏฐาน มาในพระบาลีมีอาทิว่า<SUP>๑-</SUP> ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงความเกิดและความดับของสติปัฏฐาน ๔.
    บทนั้นมีอธิบายว่า ชื่อว่าปัฏฐาน เพราะมีที่ตั้ง อะไรตั้ง สติตั้ง การตั้งสติชื่อว่าสติปัฏฐาน.
    ____________________________
    <SUP>๑-</SUP> สํ. มหา. เล่ม ๑๙/ข้อ ๘๑๙

    ความละเมิดคำแนะนำด้วยความข้องใจของศาสดา ในสาวกผู้ปฏิบัติ ท่านกล่าวว่า สติปฏฺฐานํ ในพระบาลีนี้ว่า<SUP>๒-</SUP> พึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่.
    บทนั้นมีอธิบายว่า ชื่อว่าปัฏฐาน เพราะควรตั้งไว้. อธิบายว่า ควรประพฤติ ควรตั้งไว้ด้วยอะไร ด้วยสติ การตั้งไว้ด้วยสติ ชื่อว่าสติปัฏฐาน.
    ____________________________
    <SUP>๒-</SUP> ม. อุ. เล่ม ๑๔/ข้อ ๖๑๘, ๖๓๓

    อนึ่ง สตินั่นแหละท่านกล่าวว่า สติปัฏฐาน มาในพระบาลีมีอาทิว่า<SUP>๓-</SUP> สติ<WBR>ปัฏ<WBR>ฐาน ๔ อัน<WBR>ภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ยังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์.
    บทนั้นมีอธิบายว่า ชื่อว่า ปฏฺฐานํ เพราะย่อมตั้งไว้. ความว่า ตั้งไว้ ก้าวไป แล่นไปแล้วเป็นไปอยู่ สตินั่นแหละตั้งไว้ชื่อว่าสติปัฏฐาน.
    ____________________________
    <SUP>๓-</SUP> ม. อุ. เล่ม ๑๔/ข้อ ๒๘๗

    อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าสติ เพราะอรรถว่าเป็นที่ระลึก ชื่อว่าอุปัฏฐาน เพราะอรรถว่าเป็นที่เข้าไปตั้งไว้ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าสติปัฏฐาน เพราะสติเข้าไปตั้งไว้บ้าง.
    นี้เป็นความประสงค์ในที่นี้.
    ผิถามว่า เพราะเหตุไร จึงทำเป็นพหุวจนะว่า สติปฏฺฐานา. เพราะสติมีมาก.
    จริงอยู่ ว่าโดยประเภทของอารมณ์ สติเหล่านั้นมีมาก.
    บทว่า กตเม จตฺตาโร ๔ ประการเป็นไฉน เป็นกเถตุกัมยตาปุจฉา ถามตอบเอง.
    บทว่า อิธ คือ ในพระศาสนานี้.
    บทว่า ภิกฺขุ ชื่อว่าภิกขุ เพราะเห็นภัยในสงสาร.
    ก็การพรรณนาความแห่งบทที่เหลือในคาถานี้ ท่านกล่าวไว้แล้วในอรรถกถามรรคสัจจนิเทศ ในสุตมยญาณกถา.
    ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสติปัฏฐาน ๔ ไม่หย่อนไม่ยิ่ง.
    เพราะเพื่อเป็นประโยชน์แก่เวไนยสัตว์ เพราะเมื่อตัณหา<WBR>จริต ทิฏ<WBR>ฐิ<WBR>จริต สมถ<WBR>ยา<WBR>นิก วิปสฺ<WBR>ส<WBR>นา<WBR>ยา<WBR>นิก เป็นไปแล้วโดยสองส่วนๆ ด้วยความอ่อนและความเฉียบแหลม.
    กายานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างหยาบ เป็นทางหมดจดของผู้มีตัณหา<WBR>จริต<WBR>อ่อน.
    เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างละเอียด เป็นทางหมดจดของผู้เฉียบแหลม.
    เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างละเอียด เป็นทางหมดจดของผู้มีทิฏฐิจริตอ่อน.
    ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานอันมีประเภทยิ่งเกิน เป็นทางบริสุทธิ์ของผู้มีทิฏฐิจริตเฉียบแหลม.
    สติปัฏฐานข้อที่ ๑ เป็นนิมิตควรถึงโดยไม่ยาก เป็นทางบริสุทธิ์ของผู้เป็น<WBR>สมถ<WBR>ยา<WBR>นิก<WBR>อ่อน.
    สติปัฏฐานข้อที่ ๒ เป็นทางหมดจดของผู้เป็นสมถยานิกเฉียบแหลม เพราะไม่ดำรงอยู่ในอารมณ์หยาบ.
    สติปัฏฐานข้อที่ ๓ มีประเภทไม่ยิ่งเกินเป็นอารมณ์ เป็นทางหมดจดของผู้เป็น<WBR>วิปัส<WBR>ส<WBR>นา<WBR>ยา<WBR>นิก<WBR>อ่อน.
    สติปัฏฐานข้อที่ ๔ มีประเภทยิ่งเกินเป็นอารมณ์ เป็นทางหมดจดของผู้เป็นวิปัสสนายานิกเฉียบแหลม.
    เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสติปัฏฐาน ๔ ไว้ไม่หย่อนไม่ยิ่ง.
    อีกอย่างหนึ่ง เพื่อละความสำคัญผิดว่าเป็นของงาม เป็นสุข เป็นของเที่ยงและเป็นตัวตน เพราะว่ากายเป็นของไม่งาม.
    อนึ่ง สัตว์ทั้งหลายมีความสำคัญผิดๆ ในกายนั้นว่าเป็นของงาม เพื่อละความสำคัญผิดนั้นของสัตว์เหล่านั้น ด้วยเห็นความเป็นของไม่งามในกายนั้น จึงตรัส<WBR>สติ<WBR>ปัฏ<WBR>ฐาน<WBR>ข้อ<WBR>ที่ ๑.
    อนึ่ง พระองค์ตรัสถึงทุกขเวทนาในเวทนาเป็นต้นที่สัตว์ถือว่าเป็นสุข เป็นของเที่ยง เป็นตัวตน พระองค์ตรัสว่า จิตเป็น<WBR>ธรรม<WBR>ชาติ<WBR>ไม่เที่ยง ธรรมเป็นอนัตตา สัตว์ทั้งหลายยังมีความสำคัญผิดๆ ในสิ่งเหล่านั้นว่าเป็นสุข เป็นของเที่ยง เป็นตัวตน เพื่อละความสำคัญผิดเหล่านั้นของสัตว์เหล่านั้นด้วยแสดงถึงความเป็นทุกข์เป็นต้นในสิ่งนั้น พระองค์จึงตรัส<WBR>สติ<WBR>ปัฏ<WBR>ฐาน ๓ ที่เหลือ.
    เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละความสำคัญผิดๆ ว่าเป็นของงาม เป็นของเที่ยง เป็นตัวตน ด้วยประการฉะนี้ มิใช่เพื่อละความสำคัญผิดอย่างเดียวเท่านั้น เพื่อละโอฆะ ๔ โยคะ ๔ อาสวะ ๔ คันถะ ๔ อุปาทาน ๔ และอคติ ๔ บ้าง เพื่อกำหนดรู้อาหาร ๔ อย่างบ้าง พึงทราบว่า พระองค์จึง<WBR>ตรัส<WBR>สติ<WBR>ปัฏ<WBR>ฐาน ๔.
    พึงทราบวินิจฉัยในสุตตันตนิเทศดังต่อไปนี้.
    บทว่า ปฐวีกายํ กองปฐวีธาตุ คือธาตุดินในกายนี้.
    เพื่อสงเคราะห์ปฐวีธาตุทั้งหมด เพราะปฐวีธาตุในกายทั้งสิ้นมีมากท่านจึงใช้กายศัพท์ ด้วยอรรถว่าเป็นที่รวม.
    แม้ในกองวาโยธาตุเป็นต้น ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
    ท่านใช้กองผมเป็นต้น เพราะกองผมเป็นต้นมีมาก.
    อนึ่ง บทว่า วักกะ ไตเป็นต้น เพราะกำหนดไว้แล้วจึงไม่ใช้กาย เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่าท่านจึงไม่ใช้กายแห่งวักกะเป็นต้นนั้น.
    พึงทราบความในบทมีอาทิว่า สุขํ เวทนํ ดังต่อไปนี้.
    บทว่า สุขํ เวทนํ สุขเวทนา ได้แก่ สุขเวทนาทางกายหรือทางจิต.
    ทุกขเวทนาก็อย่างนั้น.
    ส่วนบทว่า อทุกฺขมสุขํ เวทนํ ได้แก่ อุเบกขาเวทนาทางจิตเท่านั้น.
    บทว่า สามิสํ สุขํ เวทนํ สุขเวทนาเจืออามิส คือโสมนัสเวทนาอาศัยเรือน ๖.
    บทว่า นิรามิสํ สุขํ เวทนํ สุขเวทนาไม่เจืออามิส ได้แก่โสมนัสเวท<WBR>นา<WBR>อาศัย<WBR>เนกขัมมะ ๖.
    บทว่า สามิสํ ทุกฺขํ เวทนํ ทุกขเวทนาเจืออามิส ได้แก่โทมนัส<WBR>เวท<WBR>นา<WBR>อาศัยเรือน ๖.
    บทว่า นิรามิสํ ทุกขํ เวทนํ ทุกขเวทนาไม่เจืออามิส ได้แก่โทมนัส<WBR>เวท<WBR>นา<WBR>อาศัยเนกขัมมะ ๖.
    บทว่า สามิสํ อทุกฺขมสุขํ เวทนํ อทุกขมสุขเวทนาเจืออามิส ได้แก่อุเบกขา<WBR>เวท<WBR>นา<WBR>อาศัยเรือน ๖.
    บทว่า นิรามิสํ อทุกฺขมสุขํ เวทนํ อทุกขมสุขเวทนาไม่เจืออามิส ได้แก่<WBR>อุเบกขา<WBR>เวทนา<WBR>อาศัย<WBR>เนก<WBR>ขัม<WBR>มะ ๖.
    บทมีอาทิว่า สราคํ จิตฺตํ จิตมีราคะมีอรรถดังกล่าวแล้วในญาณกถา.
    บทว่า ตทวเสเส ธมฺเม ในธรรมที่เหลือจากนั้น คือในธรรมเป็นไปในภูมิ ๓ ที่เหลือจากกาย เวทนาและจิตเท่านั้น.
    อนึ่ง ในบททั้งปวงบทว่า เตน ญาเณน คือ ด้วยอนุปัสสนาญาณ ๗ อย่างนั้น.
    อนึ่ง บทเหล่าใดมีอรรถมิได้กล่าวไว้ในระหว่างๆ ในกถานี้ บทเหล่านั้นมีอรรถดังได้กล่าวแล้วในกถานั้นๆ ในหนหลังนั่นแล ด้วยประการฉะนี้.
    <CENTER>
    จบอรรถกถาสติปัฏฐานกถา
    ----------------------------------------------------- </CENTER>
    .. อรรถกถา ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ปัญญาวรรค ๘. สติปัฏฐานกถา จบ.

    จาก
     
  2. ศุภกร เต็มคำขวัญ

    ศุภกร เต็มคำขวัญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    307
    ค่าพลัง:
    +1,107
    ขออนุญาตอีกทีหนึ่งนะครับ
    หลวงพ่อปราโมทย์ท่านกล่าวถึงจุดนี้โดยภาพรวมครับ
    เพราะวิถีแห่งความหลุดพ้นหลักๆตามแนวพ่อแม่ครูบาอาจารย์ใหญ่ 2 องค์คือ
    หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทัตฺโต
    2 องค์นี้ท่านโดยใช้สมาธินำปัญญาเป็นหลักครับ (จะพบคำสอนเรื่องนี้มาก)

    สำหรับคำสอนด้านการปฏิบบัติแบบสมาธินำปัญญาที่เราคุ้นเคยกันในสายพระป่ามี 3 steps คือ
    1.ทำความสงบก่อน เมื่อจิตสงบตั้งมั่นดีแล้ว จึง...
    2.พิจารณากาย (กายคตาสติ) เพื่อเป็นการกระตุ้นไม่ให้จิตมัวแต่ติดในความสุขของความสงบนั้น อันจะทำให้เนิ่นช้าต่อมรรคผลนิพพาน และอีกอย่างคือ การคิดพิจารณาวนเวียนอยู่ในขอบเขตของกายกับใจนั้น เป็นสิ่งที่ปลอดภัยที่สุด เพราะเป้าหมายของเราคือ ต้องเห็นกายและใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ แล้วจึงจะปล่อยวางมันลงได้ (แต่ต้องคิดอย่างพอเหมาะ หากพิจารณามากเกินไปก็ฟุ้งซ่านอีก ก็ต้องย้อนมาทำความสงบใหม่)
    3.ออกไปเจริญสติในชีวิตประจำวัน ข้อนี้ถือเป็นข้อที่สำคัญที่สุด เพราะชีวิตส่วนใหญ่ของคนเราไม่ใช่มีแต่การนั่งสมาธิ เดินจงกรมอย่างเดียว ถ้าเป็นพระก็เจริญสติ (โดยเฉพาะการรู้กาย-กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เพราะเหมาะกับสมถยานิก) ในขณะที่สะพายบาตร บิณฑบาต ฉันอาหาร ฯลฯ เป็นฆราวาสก็ยิ่งเป็นการจำเป็นที่จะต้องเจริญสติในชีวิตประจำวันให้ได้ เพราะฆราวาสต้องทำมาหากิน มีภาระความรับผิดชอบอะไรต่างๆนานามากกว่าพระ จึงไม่ค่อยจะมีเวลามาทำในรูปแบบมากๆ (เช่น เดินจงกรม นั่งสมาธิ ฯลฯ) จึงต้องหัดเจริญสติในระหว่างวันให้ได้ นี่ถือเป็นหัวใจของกรรมฐานทีเดียว

    หลวงปู่มั่นท่านยังได้ให้ keywords ที่มีประโยชน์มากในเรื่องนี้ด้วย คือ
    "ทำความสงบมาก เนิ่นช้า
    คิดพิจารณามาก ฟุ้งซ่าน
    แก่นแท้ของการปฏิบัติคือ
    การเจริญสติในชีวิตประจำวัน"


    และสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่หลวงพ่อปราโมทย์กล่าวไว้หลายครั้งหลายหนในการเทศน์ของท่าน ไม่ได้เป็นอย่างที่คุณธรรมภูตกล่าวหาไว้แม้แต่นิดเดียว

    อย่างนี้หรือครับที่เรียกว่า "เข้าใจไม่คลาดเคลื่อน"
    โปรดนำไปพิจารณาให้ดีนะครับ
    ผมไม่ได้พยายามหักล้างอะไรคุณธรรมภูตหรอกนะครับ
    แต่ถ้าผมเห็นว่า ใครกล่าวไม่ตรงตามความจริง
    ผมก็อยู่เฉยๆไม่ได้เหมือนกันครับ...

    ด้วยความเคารพ
     
  3. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    คุณขวัญ ครับ

    ดูจะมีความเข้าใจอะไรบางอย่างคลาดเคลื่อนนะครับ
    นี่คือความจริงที่ต้องบอก คุณขวัญ

    นิวรณ์คือ เครื่องขวางกั้นสมาธิ
    ส่วนเรื่องฌานต้องละเอียดลงไปอีกครับ

    ตอนนี้ให้เวลากับตัวเล็ก เล็ก ที่บ้านมาก ๆ หน่อยนะครับ
     
  4. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    ตัวคุณนั่นล่ะที่เข้าใจคลาดเคลื่อนไปหมด
    แต่ผมขี้เกียจอธิบายนะ
    เพราะพูดไปก็คงหาประโยชน์ไม่ได้

    วันนี้ผมรู้สึกเพลียด้วย
     
  5. ศุภกร เต็มคำขวัญ

    ศุภกร เต็มคำขวัญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    307
    ค่าพลัง:
    +1,107
    เหรอครับ...
    ก็ดีแล้วครับ
    ผมก็ขี้เกียจตอบคุณกลับเหมือนกัน

    ไม่รู้กระทู้ที่เกี่ยวกับนิพพานเป็นอัตตาอะไรนั่นก็หายไปไหนไม่ทราบได้...
    รู้สึก "เสียแรงพิมพ์" นิดๆ...อิอิ

    ด้วยความเคารพครับ
     
  6. staedtler

    staedtler สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2009
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +15
    อิอิ ปรุง ปรุงกันเข้าไป ......o_O วู้ๆ
     
  7. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ผมขอโทษครับ ที่ไม่เข้าใจพระไตรปิฏกฉบับนั้นจริงๆครับ อ่านแล้วงงครับอาจเพราะไม่ใช่ภิกษุแปลความหรือเปล่าก็ไม่ทราบครับ งงจริงๆ
    ขอเพิ่มอันนี้อีกอันพอจะได้ไหมครับ

    อรรถกถาสติปัฏฐานกถา
    [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]บัดนี้ จะพรรณนาตามความที่ยังไม่เคยพรรณนาแห่งสติปัฏฐานกถา [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]อันมีพระสูตรเป็นเบื้องต้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปัสสนาวิเศษ ๗ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]อย่าง ยกอิทธิปาฏิหาริย์ที่พระองค์ตรัสแล้วในล าดับแห่งสมสีสกถาเป็นตัวอย่าง [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ตรัสแล้ว. [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]พึงทราบความในพระสูตรนั้นก่อน บทว่า [/FONT]
    [/FONT]จตฺตาโร [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติปัฏฐาน ๔ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]เป็นการก าหนดจ านวน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงการก าหนดสติปัฏฐาน [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ไว้ว่า ไม่ต่ ากว่านั้น ไม่สูงกว่านั้น. บทว่า [/FONT]
    [/FONT]อิเม [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]นี้เป็นบทชี้ให้เห็นสิ่งที่ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ควรชี้ให้เห็น. บทว่า [/FONT]
    [/FONT]ภิกฺขเว [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]เป็นค าร้องเรียกบุคคลผู้รับธรรม. บทว่า [/FONT]
    [/FONT]สติปฏฺฐานา [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]คือสติปัฏฐาน ๓ อย่าง ได้แก่ สติเป็นโคจร ๑ ความที่ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]พระศาสดาผู้ประพฤติล่วงความยินดียินร้าย ในสาวกทั้งหลายผู้ปฏิบัติ ๓ อย่าง ๑ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]และสติ ๑. [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]สติโคจรท่านกล่าวว่า [/FONT]
    [/FONT]สติปัฏฐาน [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]มาในพระบาลีมีอาทิว่า ดูก่อน [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงความเกิดและความดับของสติปัฏฐาน ๔. บทนั้น [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]มีอธิบายว่า ชื่อว่า ปัฏฐาน เพราะมีที่ตั้ง อะไรตั้ง สติตั้ง การตั้งสติ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ชื่อว่า [/FONT]
    [/FONT]สติปัฏฐาน[FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]. [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ความละเมิดค าแนะน าด้วยความข้องใจของศาสดา ในสาวกผู้ปฏิบัติ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ท่านกล่าวว่า [/FONT]
    [/FONT]สติปฏฺฐานา [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]ในพระบาลีนี้ว่า พึงทราบการตั้งสติ ๓ ประการ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ที่พระอริยะเสพ ซึ่งเมื่อเสพชื่อว่าเป็นศาสดาควรเพื่อสั่งสอนหมู่. บทนั้นมี [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]อธิบายว่า ชื่อว่า [/FONT]
    [/FONT]ปัฏฐาน[FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]. เพราะควรตั้งไว้ อธิบายว่า ควรประพฤติ [/FONT]
    [FONT=Tahoma,Tahoma]ควรตั้งไว้ด้วยอะไร ด้วยสติ การตั้งไว้ด้วยสติ ชื่อว่า [/FONT]
    [/FONT]สติปัฏฐาน

    อนึ่ง [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติ [/FONT][/FONT]นั่นแหละท่านกล่าวว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติปัฏฐาน [/FONT][/FONT]มาในพระบาลี
    มีอาทิว่าสติปัฏฐาน ๔ อันภิกษุเจริญแล้ว ท าให้มากแล้ว ยังโพชฌงค์ ๗ ให้
    บริบูรณ์. บทนั้นมีอธิบายว่า ชื่อว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]ปฏฺาน [/FONT][/FONT]เพราะย่อมตั้งไว้ ความว่า
    ตั้งไว้ ก้าวไป แล่นไปแล้วเป็นไปอยู่ สตินั่นแหละตั้งไว้ชื่อว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติปัฏฐาน[/FONT][/FONT].
    อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติ [/FONT][/FONT]เพราะอรรถว่า เป็นที่ระลึก ชื่อว่า
    [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]อุปัฏฐาน [/FONT][/FONT]เพราะอรรถว่า เป็นที่เข้าไปตั้งไว้ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติปัฏฐาน [/FONT][/FONT][FONT=Tahoma,Tahoma]
    [/FONT]เพราะสติเข้าไปตั้งไว้บ้าง. นี้เป็นความประสงค์ในที่นี้. ผิถามว่า เพราะเหตุไร
    จึงทำเป็นพหุวจนะว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]สติปฏฺานา[/FONT][/FONT]. เพราะสติมีมาก. จริงอยู่ ว่าโดยประเภท
    ของอารมณ์ สติเหล่านั้นมีมาก. บทว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]กตเม จตฺตาโร [/FONT][/FONT]๔ ประการเป็นไฉน
    เป็นกเถตุกัมยตาปุจฉา ถามตอบเอง. บทว่า [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]อิธ [/FONT][/FONT]คือในพระศาสนานี้. บทว่า
    [FONT=Tahoma,Tahoma][FONT=Tahoma,Tahoma]ภิกฺขุ [/FONT][/FONT]ชื่อว่า ภิกขุ เพราะเห็นภัยในสงสาร. ก็การพรรณนาความแห่งบทที่
    เหลือในคาถานี้ท่านกล่าวไว้เเล้วในอรรถกถามรรคสัจจนิเทศ ในสุตมยญาณกถา.
    ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสติปัฏฐาน ๔ ไม่หย่อน
    ไม่ยิ่ง. เพราะเพื่อเป็นประโยชน์แก่เวไนยสัตว์ เพราะเมื่อตัณหาจริต ทิฏฐิจริต
    สมถยานิก วิปสสนายานิก เป็นไปแล้วโดยสองส่วน ๆ ด้วยความอ่อนและ
    ความเฉียบแหลม กายานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างหยาบเป็นทางหมดจดของผู้มี
    ตัณหาจริตอ่อน เวทนานุปัสสนสติปัฏฐานอย่างละเป็นทางหมดจดของ
    ผู้เฉียบแหลม จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานอันมีประเภทไม่ยิ่งเกินเป็นทางหมดจด
    ของผู้มีทิฏฐิจริตอ่อน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อันมีประเภทยิ่งเกินเป็นทาง
    บริสุทธิ์ของผู้มีทิฏฐิจริตเฉียบแหลม. สติปัฏฐานข้อที่ ๑ เป็นนิมิตควรถึงโดย
    ไม่ยาก เป็นทางบริสุทธิ์ของเป็นสมถยานิกอ่อน. สติปัฏฐานข้อที่ ๒ เป็น
    ทางหมดจดของผู้เป็นสมถยานิกเฉียบแหลม เพราะไม่ดำรงอยู่ในอารมณ์หยาบ.

    พอแล้วครับผมไม่อยากอ่านแล้วครับ ชัดเจนแล้วครับ สมถะไม่ได้แยกจากวิปัสสนาเพราะว่า บุคคลทั้งหลายมิได้มีผู้ใดมีเพียงตัณหาอย่างเดียวเพียวเลยหรือมีแต่ทิฏฐิอย่างเดียวเพียวเลยครับ มาคู่กันเสมอ แต่อันไหนมากน้อยก็ต่างกันพิจารณาอย่างไรก็ตามที่พระศาสดาตรัสไว้ สรุปคือ ไม่ได้แยกกันแน่นอนครับว่าเป็นฝ่ายสมถะ หรือ วิปัสสนาอย่างที่คุณอะไรไม่ทราบเข้าใจครับ หากเข้าใจเช่นนั้นก็แสดงว่า คนเราเกิดมานั้นมีเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้นคือ ตัณหา กับ ทิฏฐิ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วมันเป็นไปไม่ได้เลย จึงไม่สามารถแยกได้ครับ ผมว่าท่านตีความผิดไปไกลเลยครับ ไม่อยากทราบอีกเลยว่าฝึกปฏิบัติมาอย่างไร ไม่อยากทราบเลย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งเลยที่ไปคิดว่าแยกกันเป็นฝ่ายๆ พระศาสดาไม่ได้สอนอย่างนั้นแน่นอน มีคนเดียวที่สอน และตอนนี้ก็ตกนรกอยู่ยังไม่ได้เกิดเลย เพราะยังไม่ครบเวลา ใครก็ไปนึกเอาเองคนไหนที่ชอบทำตัวเหมือน อ้างตัวเป็น นำเอาคำสอนไปใช้แบบผิดๆ ก็จะเป็นแบบนั้นทุกคน

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 พฤศจิกายน 2009
  8. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    พูดยังไม่ขาดคำ
    แสดงกริยาอย่างที่ผมว่าเอาไว้จนได้

    คุณนี่ไม่เหมาะจะอธิบายอะไรให้ฟังจริง ๆ เลยนะ
    เพราะตัวคุณนี่รับอะไรไม่ได้เลยจริง ๆ

    ก็เหมาะดีที่ผมขี้เกียจอธิบายให้คุณฟัง
     
  9. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    คงจะรับประทานเข้าไปเยอะสิครับ
    ร้อง วู้ ๆ เชียว

    แถมยังเชียร์ให้คนอื่นเค้าปรุงกันอีก
    คงอร่อยมากสิครับ
     
  10. ศุภกร เต็มคำขวัญ

    ศุภกร เต็มคำขวัญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    307
    ค่าพลัง:
    +1,107
    Is that so?
     
  11. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ละนิวรณ์ ด้วยกำลังสมาธิ ไม่เหมือนการละนิวรณ์ ด้วยปัญญา จริงๆนะ ไม่ได้โม้

    ที่ระดับปฐมฌาณเหมือนกัน แต่ไม่เหมือนกัน ชั้นนอก-ชั้นใน โลกียะ-โลกุตตระ

    ปล. ตัวเล็กที่บ้านฉันมีอะไรหรือไง ฉันก็สนใจเขาตามปกติเขาก็อ้อนแม่มากเป็นปกติ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 พฤศจิกายน 2009
  12. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    เมื่อ่รู้ได้ก็นับว่ามีวาสนา นะ
     
  13. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    พี่เกรส อย่าไปเสียเวลาเลยกู่ไม่กลับหรอกครับ หลงโลกขนาดนั้นแล้วเห็นสมถะกับวิปัสสนาเป็นฝ่ายๆได้ มันธรรมดามากครับ เพราะนั่นมันวิชาเอาพระไตรปิฏกมาต้มกิน แล้วจำมาได้แค่นั้นแหละครับ อย่าไปใส่ใจเลยครับ ทั้งก๊กเลย วันก่อนเห็นแล้วเฉยๆ วันนี้ก็เฉยๆ แต่นะ เพราะเป็นพระพุทธศาสนาก็เลย เอาด้วยเพราะไม่ใช่ของๆใคร ที่จะมาบิดเบือนให้เป็นประโยชน์เพื่อตนและหมู่คณะได้ แต่พวกคนแบบนี้คงไม่เข้าใจหรอกครับ ใจดีกับเขามากก็เหมือนละลายน้ำพริกลงแม่น้ำ ครับ
     
  14. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    o_O วู้ๆ
     
  15. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    ที่คุณพูดมันไม่ใช่ปฐมฌาณครับ

    ผมก็ไม่ได้ว่าคุณโม้นะครับ
    ผมก็เชื่อคุณ
     
  16. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เรายังไม่ได้ปฐมฌาณหรอกนะ ได้แค่ขณิกสมาธิเท่านั้น
    ฉันยังละนิวรณ์ด้วยปัญญาไม่ได้ แต่คิดว่าระดับศีล5 พอได้เป็นอินทรียสังวรณ์ศีล
    แต่ก็ยังไม่ค่อยแน่ใจเหมือนกัน ว่ามันละได้ด้วยศีลในใจหรือว่ามันหลบใน
    ต้องดูกันยาวๆ ปล่อยฟรีดอม แล้วตามดูพฤติกรรมตัวเอง ว่ายังมีชั่วหลบซ่อนอีกเยอะไหม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 พฤศจิกายน 2009
  17. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    พูดง่ายๆ ว่า คุณ สมมติสัจจะ บอกว่า พระปราโมทย์ สอนวิปัสสนายานิก
    ส่วนพระอาจารย์มั่น สอน สมถะยานิก

    ผมขอบอกนะครับว่า เป็น คำพูดของคนไม่เคยวิปัสสนาเลย

    เพราะว่า พ่อแม่ครูอาจารย์มั่น เป็นที่สุดแห่ง วิปัสสนา ในยุคนี้

    เรียกว่า ญาณ ทั้งหมด ในวิปัสสนาญาณ ท่านละเอียดละออ

    ไม่ต้องถึงชั้นครูหรอก เอาแค่ ผม ก็พอ ว่าผ่าน วิปัสสนาญาณอะไรมาบ้าง

    อีกอย่างหนึ่ง ประเด็นไม่ใช่ มาบอกว่า สายพระป่า เป็นสมถะยานิก และ พระปราโมทย์เป็นวิปัสสนายานิก

    แต่ ต้องบอกว่า มีประเด็นคือ พระปราโมทย์พูดธรรมอันไม่ใช่ธรรม ซึ่งทำให้คนสับสน และ ไปผิดทาง โดยมีแก่นคือ

    อย่าไปเพียร ให้ดูเฉยๆ จิตเขาทำของเขาเอง อย่าไปห้าม ปล่อยไปแล้วตามรู้
    โดยพูดเป็นนัยว่า ตนเป็นลูกศิษย์ หลวงปู่ดูลย์สอน หลวงพ่อพุธสอน
    เรียกว่า หยิบยืมชื่อเสียงพระอริยะ ให้คนมาฟังตน แม้ไม่ได้เจตนา แต่มันก็เป็นไปตามนั้นด้วย อัตโนมัตกิเลสเจตสิก ของพระปราโมทย์เอง
     
  18. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    และ เอกลักษณ์ ที่สำคัญที่สุด ของคนฝึก นั่งรู้ดูเฉย นี้คือ

    ทิฎฐิ มานะมากจริงๆ กล้าท้า ร้อยคนก็ร้อยคน ที่มีทิฎฐิ ที่ไม่ฟังใครเลย

    โดย ตัวเป้งเลย คือ นิวรณ์
     
  19. guest_1

    guest_1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +41
    ของที่หลบในอย่าให้มันออกมาครับ
    บังคับไปเรื่อย ๆ ด้วยสมาธิ
    เดี๋ยวมันก็อ่อนกำลังลงไป

    พอมันอ่อนกำลังเราก็ฆ่ามันได้

    นี้คือปฏิปทาที่เหมาะสมราบรื่น

    ถ้าเอาแต่ดูแต่ดู
    มันก็จะสะสมกำลังด้วยการหลบในไปเรื่่อย
    สุดท้ายมันจะรุนแรงนะครับ
    จะเอาไม่อยู่

    จะหลงโลกต่อไปนะครับ
    แล้วจะรู้ได้มั้ยว่าจะถึงจุดสุดท้ายของภพชาติเมื่อไหร่
     
  20. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    เมื่อคัดค้านสุตตะนั้น ก็เท่ากับคัดค้านพระพุทธเจ้าด้วย.

    ข้อความอ้างอิงโดยสมมุติสัจจะ
    หัดอ่านซะบ้างว่า แม้อรรถกถาก็ยังไม่กล้าคัดค้านพระสูตร

    ท่านเห็นหรือยังว่า แม้ท่านอรรถกถาจารย์เองยังต้องเชื่อพระพุทธวจนะเท่านั้น
    การจะเชื่ออะไรนั้น ต้องยืนบนหลักเหตุผล ตริตรองตามได้ถึงควรจะเชื่อ
    ไม่ใช่เชื่อแบบหลับหูหลับตาเชื่อ ตามตำราหรือศรัทธาเท่านั้น โดยขาดเหตุผลก็ยังจะเชื่ออีก

    ธรรมภูต

    ;aa24<!-- End Comment 94-->
     

แชร์หน้านี้

Loading...