๒๑ วิธี ของ สติปัฏฐาน เส้นทางแห่งการบรรลุธรรม

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ๑๓อักษร, 11 กันยายน 2021.

  1. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    ก็ไปฟังคนอื่นแล้วจำเขามางัย
    ปัญญาไม่เพียร
     
  2. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    สรุปแล้ว ไม่รู้เลย แมวตัวไหน บอก
     
  3. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    เขียนแบบครอบคลุม
    เฉพาะประเภทฟังอย่างเดียว
    ประเภทที่ยังไม่ได้ลงมือปฏบัติ
     
  4. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    อ่อ สรุป เป้น ไร้ กรม นี่เอง ที่บอก
     
  5. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    เพียรฟังจากคนอื่น
    กับเพียรทำด้วยตนเองมันต่างกัน
    แยกแยะเป็นมั้ย
     
  6. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    นี่คุณ ลูก จะเอาประเด็นไรนี่ เลือกออกมา ซักประเด็น เอาไรแน่
     
  7. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    อย่างนี้ดีกว่า
    ย่อมรรค๒๑วิธีให้เข้าใจง่ายได้มั้ย
     
  8. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    อ่อ ไร้กรมไม่เข้าใจคนเดียว
     
  9. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    วิธีดับระงับดับกิเลส
    เรียกมรรคมิใช่รึ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2021
  10. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    ก็แล้ว ไร้กรม งงตรงไหน

    ทะเลาะกับตัวเองให้เรียบร้อยก่อน
    21 วิธี ชอบแบบไหนก้ทำไป
    ไม่มีใครว่า ใครห้าม ใครบังคับ ไม่มีใครง้อด้วย
     
  11. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    มีใครไปว่าใครที่ไหนกัน
    ให้ย่อ ๒๑ วิธี ย่อเป็นมั้ย
     
  12. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    ย่อเอาเองเลยฮับ อยากสั้นแค่ใจ ก็ตามสะเบย
     
  13. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    แล้วกัน
    ว่าจะต่อกรรมฐานห้า
    ที่ตุ๊กตาชอบเขียน
    แล้วลามไปอสุภะกรรมฐาน
    เลยไปจนถึงไตรลักษณ์
    ไปต่อไม่ได้ก็เป็นไรครับ
     
  14. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    อะเคร .. ตายสะเบยเลย
     
  15. ละอองไฟ

    ละอองไฟ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    2,469
    ค่าพลัง:
    +1,398
    สนทนากันบ้างก็ได้
    อย่าไปนั่งนิ่งกดเก็บกรรมฐานมากเกินไป
    ประเดี๋ยวกรรมฐานมันจะแตก
     
  16. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    วิธีที่ ๓
    สัมปชัญญบรรพ


    [๒๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    อีกข้อหนึ่ง
    ภิกษุย่อมทำความรู้สึกตัว
    ในการก้าว
    ในการถอย
    ในการแล
    ในการเหลียว
    ในการคู้เข้า
    ในการเหยียดออก
    ในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร
    ในการฉัน
    การดื่ม
    การเคี้ยว
    การลิ้ม
    ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ

    ย่อมทำความรู้สึกตัว
    ในการเดิน
    การยืน
    การนั่ง
    การหลับ
    การตื่น
    การพูด
    การนิ่ง
    ดังพรรณนามาฉะนี้

    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง

    ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง
    สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า
    กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

    เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว
    และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล
    ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ
     
  17. ฟ้ากับเหว

    ฟ้ากับเหว Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2020
    โพสต์:
    1,069
    ค่าพลัง:
    +372
    เอาอีก เอามาให้ครบเลย วันก่อนมีเด็กน้อยหนึ่งคนบอกว่า ไม่เห็นด้วย เห็นต่างเยอะ ถ้าจะอรวยคือ อรวยตาม.... ขอบอกว่า มนุษย์ส่วนใหญ่จะมีความเป็นหัวกรวยอยู่มาก แยกแยะอะไรไม่ค่อยได้ เหมือนมีกรรม กรรมคือ แยกแยะอะไรไม่ได้ แต่มีบุญที่ได้เกิดมาพบพระพุทธศาสนา
    ๑.หมวดกายที่เรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มี ๖ บรรพ คือ

    ก.กายานุปัสสนา อานาปานบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาลมหายใจเข้า หายใจออก โดยให้มีสติกำหนดรู้ลักษณะของลมหายใจ ว่ายาวสั้นอย่างไร และดูการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและอารมณ์ที่เกิดจากลมหายใจให้มีความรู้เท่าทันและเข้าใจ จนหมดความยึดมั่นในกายนี้ที่มีลมหายใจเป็นองค์ประกอบหนึ่ง

    ข.กายานุปัสสนา อิีิริยาปถบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาอาการเคลื่อนไหวของร่างกายที่เป็นอิริยาบทใหญ่ ๆ คือ เดิน ยืน นั่ง นอน ให้เห็นว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา ไม่สามารถจะดำรงอยู่ในอิริยาบทใดได้ตลอดไป ด้วยเหตุที่มีความจำเป็นในการดำเนินชีวิต และการดับทุกขเวทนาที่เกิดจากการอยู่ในอิริยาบทใดนาน ๆ จะเห็นว่าไม่สามารถจะบังคับบัญชาให้เป็นดังใจปรารถนาได้

    ค.กายานุปัสสนา สัมปชัญญบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาอิริยาบทย่อยต่าง ๆ คือ การก้าว การถอย การเหลียวซ้ายแลขวา การทรงบาตร การห่มจีวร การอุจจาระปัสสาวะ เป็นต้น หมวดนี้ต้องการให้พิจารณาให้ละเอียดลงไปถึงการเคลื่อนไหวร่างกายนี้ล้วนมีความจำเป็นมีเหตุผลของการกระทำอย่าเข้าไปยึดมั่นว่าจะต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้เท่านั้น ต้องมีความเกิดและดับสลับสับเปลี่ยนกันไปอยู่ตลอดเวลา

    ง.กายานุปัสสนา ปฏิกูลมนสิการบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาร่างกายนี้ว่าประกอบด้วยอาการ ๓๒ คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นต้น ไม่มีส่วนใดที่เป็นตัวตนให้เราต้องยึดมั่น เป็นเพียงองค์ประกอบทั้งหลายมารวมตัวกันเท่านั้น

    จ.กายานุปัสสนา ธาตุมนสิการบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาร่างกายนี้ว่าเป็นธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ มาประกอบกันเข้าจึงเรียกว่าคน เมื่อแยกออกเป็นธาตุแล้วก็ไม่มีอะำไรเป็นแก่นสาร เป็นเพียงการรวมตัวของธาตุทั้ง ๔ เท่านั้น

    ฉ.กายานุปัสสนา นวสีวถิกาบรรพ ให้ใช้สติพิจารณาร่างกายนี้เมื่อสิ้นชีวิตลง ต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปต่าง ๆ ไม่คงทนถาวรอยู่ได้ ในที่สุดก็กลายเป็นดิน เป็นน้ำ เป็นลม กลับสู่ความเป็นธาตุ ๔

    สติปัฏฐาน ๔ หมวดว่าด้วยกายนี้ เป็นการให้ผู้ปฏิบัติพิจารณาความจริงของร่างกายนี้ว่า มีธรรมชาติเป็นอย่างไร มีความแปรปรวนไปอย่างไร เมื่อเข้าใจความจริงอย่างนี้แล้ว จะทำให้หมดความยึดมั่นในกาย ความสำคัญผิดว่ากายนี้ คือ ตัวตนที่ต้องคอยยึดถือ ครอบครอง และหวงแหน และเมื่อเข้าใจความจริงของกายนี้แล้วก็เกิดการปล่อยวาง ละ สละคืนไม่พัวพันอยู่แต่กายนี้อีกต่อไป
     
  18. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    วิธีที่ ๔
    ปฏิกูลมนสิการบรรพ

    [๒๗๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    อีกข้อหนึ่ง
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไป
    แต่ปลายผมลงมา มีหนังเป็นที่สุดรอบ
    เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ
    ว่า
    มีอยู่ในกายนี้
    ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ
    เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่
    ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา
    มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย

    เปรียบเหมือนไถ้มีปากสองข้าง เต็มด้วยธัญชาติต่างชนิด
    คือ ข้าวสาลี ข้าวเปลือก ถั่วเขียว ถั่วเหลือง
    งา ข้าวสาร
    บุรุษผู้มีนัยน์ตาดีแก้ไถ้นั้นแล้ว
    พึงเห็นได้ว่า

    นี้ข้าวสาลี
    นี้ข้าวเปลือก
    นี้ถั่วเขียว
    นี้ถั่วเหลือง
    นี้งา
    นี้ข้าวสาร ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน

    ย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ
    แต่พื้นเท้าขึ้นไป แต่ปลายผมลงมา มีหนังเป็นที่สุดรอบ
    เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ
    ว่า
    มีอยู่ในกายนี้ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก
    เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืดไต ปอด ไส้ใหญ่
    ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด
    เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร
    ดังพรรณนามาฉะนี้

    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง

    ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง
    สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า
    กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

    เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ
     
  19. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    วิธีที่ ๕
    ธาตุมนสิการบรรพ


    [๒๗๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    อีกข้อหนึ่ง
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ

    ซึ่งตั้งอยู่ตามที่
    ตั้งอยู่ตามปรกติ
    โดยความเป็นธาตุว่า มีอยู่ในกายนี้
    ธาตุดิน
    ธาตุน้ำ
    ธาตุไฟ
    ธาตุลม

    คนฆ่าโคหรือลูกมือของคนฆ่าโคผู้ขยัน
    ฆ่าโคแล้ว แบ่งออกเป็นส่วน
    นั่งอยู่ที่หนทางใหญ่สี่แพร่ง ฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    ย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ
    ซึ่งตั้งอยู่ตามที่ ตั้งอยู่ตามปรกติ
    โดยความเป็นธาตุ
    ว่า มีอยู่ในกายนี้ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
    ดังพรรณนามาฉะนี้

    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง ฯลฯ
    อย่างนี้แล
    ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ
     
  20. ๑๓อักษร

    ๑๓อักษร สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2021
    โพสต์:
    450
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +68
    วิธีที่ ๖ (นวสีวถิกาบรรพ)


    [๒๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    อีกข้อหนึ่ง

    ภิกษุเหมือน กะ ว่า
    พึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า
    ตายแล้ว
    วันหนึ่งบ้าง
    สองวันบ้าง
    สามวันบ้าง ที่ขึ้นพอง
    มี
    สีเขียวน่าเกลียด มีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด
    เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

    ถึงร่างกายอันนี้เล่า
    ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา
    คงเป็นอย่างนี้
    ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้
    ดังพรรณนามาฉะนี้
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง ฯลฯ
    อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ


    upload_2021-9-27_16-47-37.png



    ขอบุญกุศลจงสำเร็จแก่เจ้าของศพนี้ด้วย

    ที่มา https://www.oocities.org/pic_asupa4/3.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 กันยายน 2021

แชร์หน้านี้

Loading...