12345678910 คลายเครียดเนื้อพระแก้วยุคใหม่อย่างถูกวิธี glass annealing process

ในห้อง 'พระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง' ตั้งกระทู้โดย glassbuddha2009, 1 ธันวาคม 2019.

  1. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    3buddha_wood-jpg.jpg
    การออกแบบของศิลปินท่านนี้ เขาเข้าใจออกแบบครับ ความสูงเกือบ 14 นิ้ว ความกว้างคงไม่ต่ำกว่า 11 นิ้ว ซึ่งนับว่าเป็นขนาดที่ใหญ่มาก เมื่อนับกับพระแก้วชนิดลอยองค์ แต่นี่เขาใช้วิธีออกแบบเป็นแผ่นที่มีความหนาเพียงเล็กน้อย เป็นการลดต้นทุนทั้งน้ำแก้วและระยะเวลาการอบก็ลดสั้นครับ
     
  2. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    67145873_161784621613572_4111572421670802314_ssss.jpg
    ศิลปินแก้วที่ออกแบบเก่งๆ มักคำนึงถึงการใช้แก้วจำนวนน้อย การอบที่สั้นสุดๆ เหมือนอย่างศิลปินแก้วท่านนี้ ท่านเลือกใช้วิธีทำให้แก้วกลวง เป็นลอยตัวแบบกลวง น้ำหนักแก้วลดลงไปมากกว่า 80% ช่างไทยก็ทำได้ครับ แต่อาจจะต้องฝึกเล็กน้อย ไม่ยากครับ
     
  3. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    DSC09698.JPG
    องค์นี้ผมออกแบบและสร้างเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2550 ออกแบบให้กลวงเฉพาะในมวยผม เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุได้ ซึ่งถ้านำไอเดียทั้งสอง คือทั้งองค์ก็กลวง และที่มวยผมก็สามารถบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระธาตุได้ จะนับว่ายอดเยี่ยมครับ
    DSC09694.JPG DSC09706.JPG
     
  4. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    เมื่อคืนนี้ตอนช่วงตี 5 หรือ 6 โมงเช้าประมาณนั้น ผมฝันว่า มีเทวดามาในฝัน ท่านให้เห็นพระแก้วองค์ใหญ่ (ใหญ่แค่ไหนผมไม่ทราบ แต่น่าจะประมาณที่สามารถนำผอบแก้วบรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ในผอบนั้น แล้วนำผอบใส่ไว้องค์พระแก้วได้จากด้านหลัง) เมื่อนำผอบเข้าประจำที่แล้ว เทวดาท่านนั้นก็ลอยอยู่ด้านหลังองค์พระนั้นนั่นเองโดยหันหน้าเข้าหลังองค์พระ

    หรือผมอาจจะมีความคิดในการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุใส่ในองค์พระแก้วหรือไม่ ? ผมไม่ทราบ แต่ความฝันนั้นเหมือนจริงมาก
     
  5. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    เย็นวันศุกร์ที่ 6 ธ.ค. 2562 พระ อ. ปลัดวิชาญโทรแจ้งผมว่า ได้รับทราบรู้เรื่องราวการที่ผมลงเปิดเผยวิธีการสร้างพระแก้วทั้งแบบกลวงและแบบตันแล้ว ต้องการเตือนว่า อย่าไปว่าต่างประเทศที่เขาสร้างพระแก้วสำเร็จแล้ว ไม่ว่าจะสร้างมาในราคาเท่าไร ก็ล้วนเกิดจากศรัทธาทั้งสิ้น ส่วนคนไทยจะสร้างใหม่ ก็ว่ากันไป

    ผมน้อมรับไว้ด้วยความเคารพอย่างสูงแล้ว และจากนี้ไปก็จะไม่ไปพูดเรื่องที่คนอื่นทำไปแล้ว ส่วนคนไทยเราจะได้ทำ หรือจะมีคนรู้หรือไม่ว่า คนไทยก็ทำได้ จะใช้เงินเท่าไรก็ว่ากันไปอีกเรื่องหนึ่ง

    กราบขอบพระคุณในคำเตือนครับ และผมยังคงให้ความรู้เป็นวิทยาทานต่อไป เพียงแต่จากนี้ไปจะพยายามพูดแต่เรื่องของคนไทยเองครับ
     
  6. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    มาแล้วครับ มาอธิบายถึงการอบลดอุณหภูมิในการสร้างพระแก้วไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่เท่าใดก็ตาม แต่สำคัญที่ความหนาเท่านั้น ในครั้งนี้ผมจะหลอมและอบพระแก้ว (ตามเนื้อความในกระทู้นะครับ ไม่ใช่สร้างจริง) โดยจะสร้างที่ความหนา 0.5 นิ้ว หรือไม่เกิน 12 mm.

    มาเริ่มกันเลย

    เริ่มเข้าสู่ขบวนการอบลดอุณหภูมิเต็มรูปแบบ และ มีการใช้ทีมเฝ้าเตาเข้าแก้ไขสถานการณ์หากมีเหตุไฟฟ้าดับ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ไม่ให้เนื้อแก้วองค์พระแก้วที่หนา 12 mm. หลงเหลือความเครียดไว้ในเนื้อแก้วนะครับ

    ทบทวนที่เขียนมาข้างบนทั้งหมดนั้น

    อุ่นเตาที่ 200C 1 ชั่วโมง

    ยกระดับขึ้นที่ 400C 2 ชั่วโมง

    เข้าสู่ Melting Point ผมเลือก 780C เพื่อให้มีช่วงผ่อนปรนหากไฟดับนาน 1 ชั่วโมง 15 นาที

    เข้าสู่ Strain Point 650-550C 10 นาที

    จากตรงนี้ครับ เข้าสู่ Annealing


    ลดดิ่งจาก 550C ลงถึง 430C แล้ว Soak คงที่อยู่ที่ 430C เป็นเวลา 2 ชั่วโมงเท่านั้น
     
  7. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    เมื่อผ่านการ Soak ที่ 430C นาน 2 ชั่วโมงแล้ว (ในกรณีนี้คือพระแก้วมีความหนา 0.5 นิ้วหรือ 12 mm เปรียบได้กับพระแก้วยืนสูงประมาณ 2 เมตร และวัดความหนาได้ 0.5 นิ้วหรือ 12 mm)

    เรากำลังเข้าสู่ขั้นตอนการ Annealing อีกระดับหรืออีกขั้นแล้วนะครับ คือ การลดจาก 430C ลงไปถึง 360C ด้วยอัตรา Cooling Rate 67C ต่อชั่วโมง (67C/Hr)
     
  8. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    3

    Cooling Rate* ที่ 2
    = ลดชั่วโมงละ 240F หรือ 133C
    ( 240F/hr หรือ 133C/hr )

    อุณหภูมิ 680-590F หรือ 360-310C
     
  9. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    4

    Cooling Rate* ที่ 3
    = ลดชั่วโมงละ 720F หรือ 402C
    ( 720F/hr หรือ 402C/hr )

    อุณหภูมิ 590-70F หรือ 310-21C
     
  10. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    5

    รวมเวลาการอบลดอุณหภูมิเฉพาะช่วงที่เข้าสู่ขบวนการ Annealing หากไม่มีปัญหาใดๆ จะนับเวลาได้ 4 ชั่วโมง 10 นาที
     
  11. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,133
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,808
    ศึกษากันครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...