“ทศบารมี”ในพุทธศาสนาเถรวาท

ในห้อง 'ในหลวงกับพุทธศาสนา' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 26 มิถุนายน 2009.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,488
    [​IMG]
    ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท
    ผู้วิจัย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๒๓

    สรุปผลการวิจัย

    ผลการวิจัยแสดงว่ามีการใช้ศัพท์ว่า บารมีในพุทธศาสนาเถรวาทมานานแล้วและมีการวิเคราะห์ศัพท์เป็น ๒ แนว

    ๑. มาจากศัพท์ ปรม ประกอบปัจจัยเป็นปารมี ให้ความหมายว่าความเป็นเลิศ
    ๒. มาจากการประกอบปารศัพท์กับอิธาตุ ให้ความหมายว่า ธรรมเครื่องถึงฝั่ง

    ความหมายที่ใช้ในคัมภีร์นั้นพอจะแบ่งกว้าง ๆ คือคัมภีร์ที่ส่วนใหญ่เรียบเรียงขึ้นในสมัยแรก (ดูบทที่ ๓) จะใช้ คำว่าบารมีในความหมายว่า ความเป็นเลิศ ผลสุดท้าย หรือความเต็มเปี่ยม ซึ่งมีทั้งที่ใช้หมายถึง ความเป็นเลิศทั่วๆ ไป ไม่จำเป็นต้องเกี่ยวกับพุทธศาสนาบางคัมภีร์หมายถึงความเป็นเลิศในธรรมะบางหมวดธรรม และบางคัมภีร์หมายถึง ผลสุดท้ายในพุทธศาสนา คือ พระอรหัตตผล “บารมี” ในยุคนี้ เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติธรรม


    ในคัมภีร์อปทานา พุทธวงศ์ จริยาปิฎก ความหายของคำว่า “บารมี” เปลี่ยนไปเป็น “ธรรม ๑๐ ประการ อัน บุคคลปฏิบัติแล้วจักบรรลุพระโพธิญาณ” และอรรถกถาของคัมภีร์เหล่านี้ ได้อธิบายขยายความธรรมะตามแนวทศ บารมี โดยเฉพาะแอย่างยิ่งอรรถกถาจริยาปิฏกได้วิเคราะห์ขั้นตอนของทางปฏิบัติบำเพ็ญบารมีโดยละเอียด ในขั้นนี้ ความหมายของบารมีเปลี่ยนแปลงจาก "เป้าหมาย" มาเป็นวิธีการแนวทางปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดในพุทธ ศาสนา (ดูบทที่ ๔) ในประเทศไทย เรารับความคิดจากคัมภีร์ยุคอปทาน พุทธวงศ์ และจริยาปิกฎมาศึกษากัน

    ข้อที่น่าสังเกตคือ ในบทสวด มนต์ที่แพร่หลายในประเทศศรีลังกา และประเทศไทยที่มีเนื้อความว่า

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=7 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="41%">มหาการุณิโก นาโถ ปูเรตฺวา ปารมี สพฺพา


    </TD><TD vAlign=top width="46%">หิตาย สพฺพปาณินํ ปตฺโต สมฺโพธิมตฺตมํ </TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบด้วยพระกรุณาใหญ่ ทรงบำเพ็ญบารมีทุกประการ เพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุดแล้ว
    ในบทสวดมนต์ข้างต้น พระพุทธเจ้า เป็นผู้ที่ประกอบด้วยพระมหากรุณา และการที่ทรงบำเพ็ญบารมีนี้ เพื่อ ประโยชน์สุขของบุคคลอื่น ตามแนวที่เน้นใน อรรถกถาจริยาปิฏก (ดูบทที่ ๕) ซึ่งอันที่จริงแล้ว ศาสนาทั้งหลายก็ล้วน แต่สอนเกี่ยวกับความเมตตากรุณาทั้งนั้นเพราะจะช่วยให้คนในหมู่คณะอยู่ได้และให้ความทุกข์ลดลงไป

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำรัสแก่ครูอาวุโส ประจำปี 2523 มีข้อความว่า

    "เกียรติและความยกย่องเชิดชู ที่ได้รับเพราะการปฏิบัติหน้าที่มาด้วยความอุตสาหะเหนื่อยยาก นับว่าเป็น บำเหน็จตอบแทนอันน่าพึงใจปลื้มใจอย่างหนึ่ง แต่สิ่งตอบแทนซึ่งเป็นสมบัติอันเที่ยงแท้ของครูอาวุโสนั้นคือคุณธรรม ที่แต่ละคนได้อบรมและสร้างสมไว้เป็นลำดับมาตลอดเวลาอันยาวนาน ที่กล่าวเช่นนี้ เพราะเห็นว่า ครูที่แท้นั้นเป็นผู้ทำ แต่ความดี คือต้องหมั่นขยันและอุตสาหะ พากเพียร ต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ต้องหนักแน่น อดกลั้น และอดทน ต้องรักษาวินัยสำรวม ระวังความประพฤติปฏิบัติของตนให้อยู่ในระเบียบแบบแผนอันดีงาม ต้องปลีกตัวปลีกใจจาก ความสะดวกสบาย และความสนุกรื่นเริงที่ไม่สมควรแก่เกียรติภูมิของตน ต้องตั้งใจให้มั่นคงแน่วแน่ ต้องซื่อสัตย์ รักษาความจริงใจ ต้องเมตตาหวังดี ต้องวางใจเป็นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอำนาจอคติ ต้องอบรมปัญญาให้เพิ่มพูนขึ้นทั้ง ด้านวิทยการและความฉลาดรอบรู้ในเหตุและผล เมื่อครูที่ดีที่แท้เป็นดังนี้ จึงกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า การทำหน้าที่ย่อม บำรุงจิตใจให้เจริญมั่นคงขึ้นแลขัดเกลาให้ประณีตสะอาดหมดจด"

    พระราชดำรัสนี้ แสดงให้เห็นถึงการบำเพ็ญบารมีทั้ง 10 ประการในระดับขั้นของฆราวาส อันจะเป็นเหตุให้ บุคคลบรรจุความผ่องใส ความอิ่มเอิบ และความสุขสงบในจิตใจได้ต่อไป ตลอดกาลนาน

    ข้อเสนอแนะ

    เรื่องของบารมี เป็นเรื่องที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย จึงมีแง่มุมอันพึงศึกษามากมาย พอยกเป็นตัวอย่างได้เช่น

    ๑. ในวิทยานิพนธ์นี้ ผู้วิจัยได้กล่าวถึงอิทธิพลของความคิดเรื่องบารมีในประเทศไทยน่าจะมีการศึกษาวิจัยเกี่ยว กับอิทธิพลของความคิดเรื่องบารมีในประเทศต่าง ๆ ที่นับถือพุทธศาสนาว่ามีข้อเหมือนแตกต่างกับของไทยเราอย่างไร
    ๒. น่าจะศึกษาค้นคว้าดูในคัมภีร์รุ่นก่อน ๆ ว่า ได้กล่าวถึงธรรมะ 10 หมวดนี้ว่าอย่างไร เช่น ในพระสูตรทีห นิกาย มัชฌิมนิกาย กล่าวถึงเรื่องทาน เรื่องศีล เป็นต้นว่า อย่างไร มีข้อเหมือนหรือต่างกับทศบารมีในอปทาน พุทธวงศ์ จริยาปิฏก และอรรถกถาของคัมภีร์ทั้ง ๓ อย่างไร
    ๓. บารมีทั้งหลายนั้น เป็นธรรมปฏิบัติเพื่อความสุขสงบใจ น่าจะค้นคว้าว่า จิตแพทย์ปัจจุบัน จะนำเอาหมวด ธรรมทั้ง 10 นี้ ไปประยุกต์ใช้รักษาความผิดปรกติทางจิตใจของผู้ป่วยได้หรือไม่อย่างไร
    ๔. วิจัยปกิณณกกถาของพระธรรมปาละให้ละเอียด



    from http://research.mcu.ac.th/_htmlfile/menu4/religion_side_research/religion/021.html


    --------
    หนังสือเล่มนี้เป็นพระราชนิพนธ์ที่กล่าวถึงคำว่า บารมีในพระพุทธศาสนาในคัมภีร์ต่างๆ ทั้งจากพระไตรปิฎก คัมภีร์อปทาน พุทธวงศ์ และจริยาปิฎก รวมถึงคัมภีร์ปกรณ์พิเศษ และอรรถกถา อีกทั้งยังกล่าวถึงความหมายของบารมีในวัฒนธรรมไทด้วย.

    สารบาญ

    หัวข้อหลักๆ
    • ความหมายของบารมีตามรูปศัพท์
    • ความหมายของคำว่าบารมีในพระไตรปิฎก
    • ความหมายของคำว่าบารมีในคัมภีร์อปทาน พุทธวงศ์ และจริยาปิฎก
    • ความหมายของ "บารมี" ในคัมภีร์ปกรณ์พิเศษและอรรถกถา
    • ความหมายของคำว่าบารมีในคัมภีร์พุทธศาสนาในประเทศไทย และอิทธิพลความคิดเรื่องบารมีในวัฒนธรรมไทย
    from �Ⱥ����㹾ط���ʹ�����ҷ

    --------------------
    ขอบคุณที่มาของข้อมูล:
    �Ⱥ����㹾ط���ʹ�����ҷ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มิถุนายน 2009
  2. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,488
    <TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=35 border=0><TBODY><TR><TD><CENTER><TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=315 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=angsanaUPC,cordiaUPC][SIZE=-1]<DD>เสด็จ<WBR>ทรง<WBR>เยี่ยม<WBR>มัสยิ<WBR>ดนู<WBR>รูล<WBR>ยะห์ <WBR>รี<WBR>วัล<WBR>ยา<WBR>บาลี <WBR>เขา<WBR>ตันหยง <WBR>อำเภอ<WBR>ตาก<WBR>ใบ <WBR>จังหวัด<WBR>นราธิวาส <WBR>เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ที่ <WBR>๔ <WBR>ตุลาคม <WBR>๒๕๓o[/SIZE][/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=315 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=angsanaUPC,cordiaUPC][SIZE=-1]<DD>เสด็จ<WBR>ฯ <WBR>ไป<WBR>ทรง<WBR>เป็น<WBR>ประธาน<WBR>งาน<WBR>ฉลอง<WBR>ครบ<WBR>รอบ <WBR>๕<WBR> o <WBR>ปี <WBR>โรง<WBR>เรียน<WBR>พระ<WBR>หฤทัย<WBR>คอนแวนต์ <WBR>ณ <WBR>หอ<WBR>ประชุม <WBR>โรง<WBR> เรียน<WBR>พระ<WBR>หฤทัย<WBR>คอนแวนต์ <WBR>ถนน<WBR>สุนทร<WBR>โกษา <WBR>คลอง<WBR>เตย <WBR>กรุงเทพฯ <WBR>เมื่อ<WBR> วัน<WBR>ที่ <WBR>๙ <WBR>มกราคม <WBR>๒๕๓o [/SIZE][/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=315 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=angsanaUPC,cordiaUPC][SIZE=-1]<DD>เสด็จ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำเนิน<WBR>ใน<WBR>งาน<WBR>เทศน์<WBR>มหาชาติ <WBR>ณ <WBR>ธรรม<WBR>สถาน<WBR> จุฬา<WBR>ลง<WBR>กรณ์<WBR>มหาวิทยาลัย <WBR>เมื่อ<WBR>เดือน<WBR>มีนาคม <WBR>๒๕๒๔ [/SIZE][/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=215 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=angsanaUPC,cordiaUPC][SIZE=-1]<DD>พระ<WBR>ราช<WBR>นิพนธ์<WBR>วิทยา<WBR>นิพนธ์<WBR>ปริญญา<WBR>อักษร<WBR>ศา<WBR>สต<WBR>รม<WBR>หา<WBR> บัณฑิต <WBR>สาขา<WBR>วิชา<WBR>บาลี<WBR>-<WBR>สันสกฤต <WBR>ภาค<WBR>วิชา<WBR>ภาษา<WBR>ตะวัน<WBR>ออก <WBR>จุฬา<WBR>ลง<WBR>กรณ์<WBR>มหาวิทยาลัย [/SIZE][/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    </TD><TD><DD>พระ<WBR>ราช<WBR>วิทยา<WBR>นิพนธ์<WBR>เรื่อง<WBR>นี้ <WBR>มี<WBR>จุด<WBR>หมาย<WBR> จะ<WBR>ศึกษา<WBR>ความ<WBR>เปลี่ยน<WBR>แปลง<WBR>ทาง<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ศัพท์<WBR> ว่า <WBR>"<WBR>บารมี<WBR>" <WBR>ตาม<WBR>ที่<WBR>ปรากฏ<WBR>ใน<WBR>คัมภีร์<WBR>ทาง<WBR>พุทธ<WBR> ศาสนา<WBR>เถร<WBR>วาท<WBR>ที่<WBR>แต่ง<WBR>ขึ้น<WBR>ใน<WBR>ยุค<WBR>ต่างๆ<WBR>โดย<WBR>ใช้<WBR> วิธี<WBR>การ <WBR>๒ <WBR>อย่าง<WBR>คือ <WBR>การ<WBR>ศึกษา<WBR>เห็น<WBR>ได้<WBR>ว่า<WBR>ยุค<WBR> แรกๆ <WBR>ใน<WBR>ระยะ<WBR>ต้น<WBR>นั้น <WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>ความ<WBR> เป็น<WBR>เลิศ<WBR>ความ<WBR>เต็ม<WBR>เปี่ยม<WBR>สมบูรณ์<WBR>ใน<WBR>ด้าน<WBR>ใด<WBR>ก็<WBR>ได้ <WBR>ต่อ<WBR>มา<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ศัพท์<WBR>แคบ<WBR>เข้า <WBR>คือ<WBR>จะ<WBR> หมาย<WBR>ถึง<WBR>เป็น<WBR>เลิศ<WBR>หรือ<WBR>ความ<WBR>สมบูรณ์<WBR>ใน<WBR>ธรรมะ<WBR>หมวด<WBR>ใด<WBR> หมวด<WBR>หนึ่ง<WBR>ของ<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา <WBR>ใน<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>หมาย<WBR> ถึง<WBR>ความ<WBR>เป็น<WBR>เลิศ<WBR>หรือ<WBR>เป้า<WBR>หมาย<WBR>สูง<WBR>สุด<WBR>ของ<WBR>พุทธ<WBR> ศาสนา <WBR>คือ <WBR>พระ<WBR>นิพพาน <WBR>ส่วน<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR> ใน<WBR>ยุค<WBR>หลัง <WBR>โดย<WBR>เฉพาะ<WBR>อย่าง<WBR>ยิ่ง<WBR>ที่<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>กัน<WBR> อย่าง<WBR>แพร่<WBR>หลาย<WBR>ใน<WBR>หมู่<WBR>คน<WBR>ไทย <WBR>คือ<WBR>หมวด<WBR>ธรรมะ<WBR>หรือ<WBR> วิธี<WBR>การ <WBR>๑o <WBR>ประการ <WBR>อัน<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ผู้<WBR>ประพฤติ<WBR>ปฏิบัติ<WBR> ได้<WBR>บรรลุ<WBR>ถึง<WBR>นิพพาน <WBR>ถือ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>เปลี่ยน<WBR>แปลง<WBR>ที่<WBR> สำคัญ<WBR>ใน<WBR>ด้าน<WBR>ความ<WBR>หมาย <WBR>คือ<WBR>เปลี่ยน<WBR>จาก<WBR>เป้า<WBR>หมาย<WBR>มา<WBR> เป็น<WBR>วิธี<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>บรรลุ<WBR>เป้า<WBR>หมาย <DD><WBR><WBR>พระ<WBR> ราช<WBR>นิพนธ์<WBR>เรื่อง<WBR>ทุก<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา <WBR>เถร<WBR>วาท<WBR>แบ่ง<WBR> ออก<WBR>เป็น <WBR>๗ <WBR>บท <WBR>เป็น<WBR>บท<WBR>นำ <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๒ <WBR>ความ<WBR> หมาย<WBR>ของ<WBR>บารมี<WBR>ตาม<WBR>รูป<WBR>ศัพท์ <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๓ <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR> ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>พระ<WBR>ไตร<WBR>ปิฎก <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๔ <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>คัมภีร์<WBR>พุทธ<WBR>วงศ์ <WBR>และ<WBR> คัมภีร์<WBR>จริยา<WBR>ปิฎก <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๔ <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR> บารมี<WBR>ใน<WBR>คัมภีร์<WBR>อป<WBR>ทาน <WBR>คัมภีร์<WBR>พุทธ<WBR>วงศ์ <WBR>และ<WBR>คัมภีร์<WBR>จริยา<WBR> ปิฎก <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๕ <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR> คัมภีร์<WBR>ปกรณ์<WBR>พิเศษ<WBR>และ<WBR>อรรถ<WBR>กถา <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๖ <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR> ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>คัมภีร์<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย <WBR>แล<WBR>อิทธิ<WBR>พล<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>เรื่อง<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>วัฒน<WBR>ธรรม<WBR>ไทย <WBR>และ <WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๗ <WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>สรุป<WBR>เส<WBR>รอ<WBR>แนะ <WBR>ดัง<WBR> จะ<WBR>สรุป<WBR>ได้<WBR>ใจ<WBR>ความ<WBR>สำคัญ<WBR>ของ<WBR>บท<WBR>ที่ <WBR>๑ <WBR>คือ<WBR> บท<WBR>นำ <WBR>มา<WBR>เล่า<WBR>ให้<WBR>ฟัง<WBR>พอ<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>คือ <WBR>บท<WBR>นำ<WBR>เป็น<WBR>บท<WBR>แสดง<WBR>ที่<WBR>มา<WBR>ของ<WBR>ปัญหา <WBR>วัตถุ<WBR>ประสงค์<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>วิจัย <WBR>วิธี<WBR>ดำเนิน<WBR>การ<WBR>วิจัย<WBR>ขั้น<WBR>ตอน<WBR> ใน<WBR>การ<WBR>วิจัย <WBR>และ<WBR>ประโยชน์<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>วิจัย <WBR>ที่<WBR> มา<WBR>ของ<WBR>ปัญหา<WBR>นั้น<WBR>เนื่อง<WBR>จาก<WBR>แนว<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>เรื่อง<WBR>บารมี<WBR> โดย<WBR>เฉพาะ<WBR>อย่าง<WBR>ยิ่ง<WBR>ทศ<WBR>บารมี<WBR>นั้น <WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR> กัน<WBR>แพร่<WBR>หลาย<WBR>ใน<WBR>หมู่<WBR>ผู้<WBR>นับ<WBR>ถือ<WBR>ศาสนา<WBR>เถร<WBR>วาท <WBR>ทศ<WBR>บารมี<WBR>คือ<WBR>คุณ<WBR>ธรรม <WBR>๑o <WBR>ประการ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>นำ<WBR>ไป<WBR> สู่<WBR>ความ<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า <WBR>ได้<WBR>แก่ <WBR>ทาน <WBR>ศีล <WBR>เมตตา <WBR>เนกขัม<WBR>มะ <WBR>ปัญญา <WBR>วิริยะ <WBR>สัจจะ <WBR>อธิษฐาน <WBR>และ<WBR>อุเบกขา <WBR>การ<WBR>บำเพ็ญ<WBR>บารมี <WBR>พระ<WBR>โพธิสัตว์<WBR>ได้<WBR>บำเพ็ญ<WBR>บารมี <WBR>พระ<WBR>โพธิสัตว์<WBR>ได้<WBR>บำเพ็ญ<WBR>สืบ<WBR>เนื่อง<WBR> กัน<WBR>ถึง <WBR>๑o <WBR>ชาติ <WBR>จึง<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>ทศ<WBR>ชาติ <WBR>ซึ่ง<WBR>เมือง<WBR> ไทย<WBR>มี<WBR>การ<WBR>ท่อง<WBR>เที่ยว<WBR>หัว<WBR>ใจ<WBR>ทศ<WBR>ชาติ <WBR>หรือ<WBR>พระเจ้า <WBR>๑o <WBR>ชาติ<WBR>อัน<WBR>เป็น<WBR>อักษร<WBR>ต้น<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>โพธิสัตว์<WBR>ว่า <WBR>"<WBR>เต <WBR>- <WBR>ช <WBR>- <WBR>สุ <WBR>- <WBR>เน <WBR>- <WBR>ม <WBR>- <WBR>ภู <WBR>-<WBR> จ <WBR>- <WBR>นา <WBR>- <WBR>วิ <WBR>- <WBR>เว <WBR>"<WBR>ถือ<WBR>ว่า<WBR> เป็น<WBR>สิริ<WBR>มงคล<WBR>ป้อง<WBR>กันภัย<WBR>อันตราย<WBR>ต่างๆ<WBR>ได้ <WBR>ดัง<WBR>นั้น<WBR>ใน<WBR> ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>จึง<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>หนังสือ<WBR>ต่างๆ <WBR>ที่<WBR>เล่า<WBR>เรื่อง<WBR>ทศ<WBR>ชาติ<WBR>รวม<WBR>ทั้ง<WBR>ประเพณี<WBR>เทศน์<WBR>มหาชาติ <WBR>คือ <WBR>พระ<WBR>โพธิ์<WBR>สัตว์<WBR>เวสสันดร<WBR>บำเพ็ญ<WBR>ทาน<WBR>บารมี<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>อื่น<WBR>ด้วย<WBR> เช่น<WBR>พระ<WBR>บารมี<WBR>ปก<WBR>เกล้า <WBR>แสดง<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>น่า<WBR>จะ<WBR>มี<WBR> ความ<WBR>หมาย<WBR>หลาย<WBR>อย่าง<WBR>ตาม<WBR>สมัย<WBR>และ<WBR>ลักษณะ<WBR>วัฒน<WBR>ธรรม<WBR>ใน<WBR> สังคม <WBR>ดัง<WBR>นั้น <WBR>จึง<WBR>ควร<WBR>นำ<WBR>ข้อ<WBR>มูล<WBR>เกี่ยว<WBR>กับ<WBR>คำ<WBR> ว่า<WBR>บารมี<WBR>มา<WBR>ศึกษา<WBR>วิ<WBR>เคราะ<WBR>ห็<WBR>อย่าง<WBR>ละเอียด<WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR> ทราบ<WBR>ว่า <WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>และ<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ของ<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR> มา<WBR>ศึกษา<WBR>วิเคราะห์<WBR>อย่าง<WBR>ละเอียด <WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ทราบ<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR> และ<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ขอว<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>บารมี<WBR>ที่<WBR>เปลี่ยน<WBR>ไป<WBR>แต่<WBR> ละ<WBR>ยุ<WBR>คละ<WBR>สมัย<WBR>นั้น <WBR>มี<WBR>ผลอ<WBR>ย่าง<WBR>ไร<WBR>ต่อ<WBR>ความ<WBR> คิด<WBR>เรื่อง<WBR>การ<WBR>บำเพ็ญ<WBR>ธรรม<WBR>เพื่อ<WBR>พุทธ<WBR>ภูมิ <WBR>และ<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR> ประพฤติ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม<WBR>มะ<WBR>โดย<WBR>ทั่ว<WBR>ไป<WBR>ของ<WBR>พุทธ<WBR>ศา<WBR>สนิก<WBR> ชน <WBR>ตลอด<WBR>จน<WBR>มี<WBR>เหต<WBR>ผลอ<WBR>ย่าง<WBR>ไร<WBR>ต่อ<WBR>วัฒน<WBR>ธรรม<WBR> ไทย<WBR>ทั้ง<WBR>นี้<WBR>นอก<WBR>จาก<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ประโยชน์<WBR>ทาง<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา<WBR> แล้ว <WBR>ยัง<WBR>เป็น<WBR>ประโยชน์<WBR>แก่<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>ทาง<WBR>สังคม<WBR>วิทยา<WBR>ของ<WBR> ไทย<WBR>เรา<WBR>ด้วย </DD></TD></TR><TR><TD colSpan=2><DD><WBR><WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>นิพนธ์<WBR>ดัง<WBR>กล่าว<WBR>มา<WBR> นี้ <WBR>ถ้า<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>มี<WBR>โอกาส<WBR>ไป<WBR>หา<WBR>อ่าน<WBR>ด้วย<WBR>ตน<WBR> เอง<WBR>โดย<WBR>ตลอด<WBR>แล้ว<WBR>ย่อม<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ตรง<WBR> กัน<WBR>ว่า <WBR>เป็น<WBR>หนังสือ<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>คุณ<WBR>ค่า<WBR>ให้<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR> ทั้ง<WBR>ด้าน<WBR>อักษร<WBR>ศาสตร์<WBR>ธรรมะ<WBR>ตลอด<WBR>จน<WBR>สังคม<WBR>วิทยา <WBR>และ<WBR>เมื่อ<WBR> ยิ่ง<WBR>ทราบ<WBR>ถึง<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ของ<WBR>ทศ<WBR>บารมี<WBR>โดย<WBR>ละเอียด<WBR>ว่า<WBR> มี<WBR>ลักษณะ<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>ต้อง<WBR>บำเพ็ญ<WBR>ประการ<WBR>ใด <WBR>ก็<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR> ชื่น<WBR>ชม<WBR>โสมนัส<WBR>ว่า <WBR>พระ<WBR>ราชจ<WBR>ริย<WBR>วัตร<WBR>ของ<WBR>องค์<WBR>พระ<WBR> ผู้<WBR>ทำงาน<WBR>วิจัย<WBR>นี้<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ครรลอง<WBR>ของ<WBR>ทศ<WBR>บารมี<WBR>โดย<WBR> แท้ <WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>น่า<WBR>สงสัย<WBR>แต่<WBR>ประการ<WBR>ใด<WBR>ว่า<WBR> เหตุ<WBR>ใด<WBR>จึง<WBR>ทรง<WBR>เป็น<WBR>ขวัญ<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ชาว<WBR>ไทย<WBR>ทั้ง<WBR> ชาติ <WBR>ดัง<WBR>นั้น<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>จึง<WBR>พร้อม<WBR>ใจ<WBR>กัน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR> ถวาย<WBR>พระ<WBR>พร<WBR>ชัย<WBR>มงคล <WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>ทรง<WBR>พระ<WBR>สำราญ<WBR>ทุก<WBR> วัน<WBR>คืน<WBR>เพื่อ<WBR>ความ<WBR>ชื่น<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>พสก<WBR>นิกร<WBR>ชาว<WBR>ไทย<WBR> สืบ<WBR>ไป<WBR>ชั่ว<WBR>กาล<WBR>นาน </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0><TBODY><TR><TD align=right width=600>นายทองต่อ </TD><TD align=right width=120>กล้วยไม้ ณ อยุธยา</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ----

    ทรงพระเจริญ [​IMG]

    เพิ่มเติมข้อมูลจาก:เว็บกาญจนาภิเษก
    ����稾��෾�ѵ��Ҫ�ش�� �Ѻ��оط���ʹ�
     
  3. ชนะ สิริไพโรจน์

    ชนะ สิริไพโรจน์ ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,891
    กระทู้เรื่องเด่น:
    14
    ค่าพลัง:
    +35,260

    ขออนุโมทนาเป็นอย่างสูงครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มิถุนายน 2009
  4. สังสารวัฏ

    สังสารวัฏ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    562
    ค่าพลัง:
    +5,382

แชร์หน้านี้

Loading...