พระขรรค์ท้าวเวสสุวรรณ รุ่นเจริญลาภปราบไพรี- มูลนิธิเทียนฟ้า 2497 - วัตถุมงคล หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bat119, 20 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    ฝรั่งเขียนเรื่อง ความจริง และ จุดเด่น ของ พุทธศาสนา 19 ประการที่ต่างจากศาสนาอื่นๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้

    ๑.พระพุทธศาสนา ปฏิเสธว่า มีผู้สร้างโลก ถือว่า ความเชื่อนี้ไร้สาระ ตรงข้าม โลกนี้ประกอบขึ้นจากเหตุธาตุทั้ง4 คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ประกอบกันขึ้นมา

    ๒.พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ระบบความเชื่อที่จะใช้คำว่า Religion เพราะศัพท์นี้ หมายถึง ต้องมีความเชื่อในพระเจ้าผู้สร้างโลก

    ๓.จุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนา คือ ละกิเลสได้หมดแล้ว หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด หรือวัฏฏสงสาร ไม่ใช่ไปแค่ไปเกิดบนสวรรค์เท่านั้น

    ๔.พระพุทธเจ้า ไม่ใช่ผู้ปลดปล่อยสรรพสัตว์ให้รอด สรรพสัตว์ต้องช่วยตนเอง เพื่อหลุดพ้นจากกิเลสและวัฏฏสงสาร

    ๕.ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธเจ้า และสาวก คือ ครูผู้สอนและลูกศิษย์ ไม่ใช่ตัวแทนพระเจ้า และทาสผู้รับใช้

    ๖.พระพุทธเจ้า ไม่เคยให้สาวกใช้ความเชื่อโดยปราศจากปัญญามานับถือ ตรงข้าม ทรงสอนให้ใช้ปัญญา พิจารณาคำสอนก่อนจะเชื่อ และเห็นจริงด้วยตนเอง และ ผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ต้องนำคำสอนไปประพฤติและปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นด้วยตนเอง ไม่มีใครช่วยทำให้หลุดพ้น จากการเวียนเกิดเวียนตายได้ นอกจากให้แค่แนะนำ ชี้ทางที่ถูกต้องให้เท่านั้น

    ๗.คำสอนพระพุทธเจ้า เป็นสัจธรรมประจำโลก ที่เป็น และมีอยู่แล้ว พระพุทธเจ้าทรงเป็นแต่เพียงผู้ค้นพบเท่านั้น พระองค์ไม่ใช่เป็นคนสร้างคำสอนขึ้นมา

    ๘.นรกในพระพุทธศาสนา ไม่ใช่สถานที่กักขังสัตว์อย่างนิรันดร์ บุคคลทำบาปแล้ว ไปเกิดในนรก เมื่อพ้นกรรมแล้ว ก็สามารถกลับไปเกิดในภพที่ดีกว่าได้ และ สัตว์ที่ได้ไปเกิดในภพอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นภพเทวดา ภพมนุษย์ ภพเปรตวิสัย ภพเดรัจฉาน ก็สามารถเวียนกลับไปเกิดในนรกอีกได้ เช่นกัน

    ๙.พระพุทธศาสนา ไม่ได้สอนแนวคิดเรื่องบาปติดตัว เหมือนที่ศาสนาเทวนิยมสอน แต่สอนเรื่องกฎแห่งกรรม ซึ่งมีทั้งกรรมขาว กรรมดำ และกรรมไม่ขาวไม่ดำ

    ๑๐.พระพุทธศาสนาสอนว่า มนุษย์และเทวดาทุกชีวิต มีศักยภาพที่จะบรรลุธรรมได้ ข้อสำคัญก็คือ ต้องใช้ความพยายามในการปฏิบัติ เพื่อชำระกิเลสให้พ้นไปจากจิตใจ พระพุทธเจ้าก็ทรงเป็นมนุษยสามัญธรรมดา ที่หลุดพ้นจากทุกข์ได้ เพราะการประพฤติปฏิบัติมาหลายภพหลายชาติ

    ๑๑.กฎแห่งกรรมของทุกสรรพสัตว์ เป็นตัวอธิบายว่า เหตุใดคนถึงเกิดมาแตกต่างกัน กฎแห่งกรรมเป็นตัวอธิบายถึงภพภูมิที่สัตว์พากันไปเกิด

    ๑๒.พระพุทธศาสนา เน้นให้แผ่เมตตากรุณาไปยังสรรพสัตว์ ทุกภพภูมิ ทรงสอนให้ละจากการประพฤติชั่วทั้งปวง คือ อกุศลกรรมบท ๑๐ และให้ประพฤติปฏิบัติแต่ กุศลกรรมบถ ๑๐

    ๑๓.ธรรมะของพระพุทธเจ้า เสมือนแพ หลังจากบำเพ็ญเพียรจนดับทุกข์ได้แล้ว จะอยู่เหนือบุญและบาป ธรรมะทั้งปวงจะต้องไม่ยึดมั่นถือมั่น

    ๑๔.ไม่มีสงครามศักดิ์สิทธิ์ ในทรรศนะพระพุทธศาสนา การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต การเบียดเบียนผู้อื่นด้วยเจตนา ผู้กระทำจะต้องรับกรรมทั้งสิ้น จนกว่าจะหลุดพ้นจากวัฏสงสาร การฆ่าในนามศาสนา ยิ่งกระทำมิได้ในพระพุทธศาสนา

    ๑๕.พระพุทธเจ้าสอนว่า กำเนิดสังสารวัฏ ไม่มีเบื้องต้นและที่สุด ถ้าหากสัตว์ยังดำเนินชีวิตไปตามอำนาจกิเลส
    ที่มี อวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ย่อมต้องเวียนเกิดเวียนตายต่อไป

    ๑๖.พระพุทธเจ้า ทรงเป็นพระสัพพัญญู ( ผู้รู้ความจริงทุกเรื่องที่ทรงอยากรู้ ) และพระพุทธเจ้า มิใช่เทพเจ้าผู้ทรงมีอำนาจล้นฟ้า ดลบันดาลสร้างธรรมชาติต่างๆ ขึ้นมา

    ๑๗.การฝึกสมาธิ สำคัญมากในพระพุทธศาสนา แม้ว่าศาสนาอื่นๆ ก็มีสอนให้คนมีสมาธิ แต่มีพระพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอน วิปัสสนา ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้รู้แจ้งว่า ทุกสรรพสิ่ง เมื่อมีการเกิด ย่อมมีการดับ

    ๑๘.หลักคำสอนเรื่อง สุญญตา) หรือ นิพพาน เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในพระพุทธศาสนา ถือเป็นคำสอนระดับสูงของพระพุทธศาสนาด้วย เพราะสรรพสิ่งทั้งหลายทั่วโลกธาตุ ไม่มีสิ่งใด เที่ยงแท้ถาวร มีแต่ปัจจัย ดิน น้ำ ไฟ ลม ประกอบกัน สรรพสิ่งในโลก จึงตกอยู่ในภาวะอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เหมือนกันหมด พระพุทธศาสนาจึงไม่สุดโต่งไปตามแนวศาสนาประเภทเทวนิยม หรือ ตามแนววัตถุนิยม ที่มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ที่ต้องเวียนเกิดเวียนตาย จนกว่าจะบรรลุธรรม จึงจะดับเย็น เข้าสู่นิพพาน

    ๑๙.วัฏจักร หรือสังสารวัฏ เป็นคำสอนในพระพุทธศาสนา ตราบใดที่สรรพสัตว์ ยังไม่หลุดพ้นจากกิเลส ก็จะเวียนว่ายตายเกิด ไปตามภพภูมิต่างๆ ตามแรงเหวี่ยงของกรรม ไม่สิ้นสุด จนกว่าจะบรรลุธรรม ดังนั้น ทุกสรรพสัตว์ จึงต้องช่วยตนเอง เพื่อพัฒนาไตรสิกขา ให้หลุดพ้นจากโลภะ โทสะ และโมหะ หรืออวิชชา เพื่อการหลุดพ้นจากสังสารวัฏให้ได้ ฯ

    ~ เสียดายไม่ทราบชื่อฝรั่งผู้เขียน แต่ ก็แสดงว่า มีความเข้าใจในพระพุทธศาสนา มากกว่าคนไทยที่อ้างว่า นับถือพระพุทธศาสนาเสียอีก ขอกราบคารวะ และ ขอชื่นชมด้วยใจจริง

    *เพิ่มเติม: ขอขอบคุณท่านที่ส่งลิงค์ต้นฉบับภาษาอังกฤษจากคนเขียนมาให้ กรุณากดอ่านได้ตามนี้นะครับ

    นี่ครับ ต้นฉบับ
    https://blog.sivanaspirit.com/differences-buddhism-religio…/
     
  2. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
  3. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  4. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    หวัดดียามเช้า.jpg
     
  5. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    ei288733499th นครราชสีมา
     
  6. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    เปิดเหรียญพระแก้วหมดห่วง รุ่น2 ปลุกเสกนาน7ปี

    DSC_0163.JPG
    DSC_0164.JPG

    เหรียญพระแก้วมรกตหมดห่วง รุ่น2 ปี2540
    จัดสร้างโดยคุณสุธันย์ สุนทรเสวี วัตถุประสงค์ในการสร้างหอพระองค์หลวงพ่อเพชร
    เพื่อประดิษฐานในสาธารณสุข จ.สมุทรสงคราม

    การถวายนาม เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า
    ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.3 ซ.ม.ด้านหน้า ด้านหน้าเป็นรูปจำลองพระแก้วมรกต ทรงเครื่องฤดูฝนประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์บัว 2 ชั้น
    อยู่ภายในซุ้มเรือนแก้วและรายล้อมด้วยดอกไม้ โดยเลียนแบบจากรูปลักษณ์จากเหรียญพระแก้ว มรกต รุ่นฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี
    ด้านหลังเหรียญเป็นยันต์จักรแก้วพระพุทธเจ้า ทรงอานุภาพปราบมารขจัดอุปสรรคและตัดเคราะห์กรรม ซึ่งผูกจากพระคาถาจักรแก้วพระพุทธเจ้า
    “ อิติปิโสภควา เอกจกกํ มารเปตวา พุทธจกโก เวหาสคนตวา” หมุนออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร (หมุนวนขวามือ)

    โดยคณะผู้จัดสร้างได้รวบรวมโลหะทองชนวน พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ สำนักวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ หลายวาระ
    ทองชนวนพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ และครอบน้ำมนต์ที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก,ตะกรุดและแผ่นยันต์ของพระอริยสงฆ์
    และพระอภิญญาจารย์เจ้าทุกภาคทั่วประเทศและโลหะบริสุทธิ์ 9 ชนิดได้แก่ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ 108 ดวง และนะปัถมัง 14
    นะอันเป็นพระยันต์บังคับตามตำราการสร้าง พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ของสมเด็จพระพันรัตน์วัดป่าแก้ว กรุงเก่า
    ซึ่งรุ่นสองนี้คุณสุธันย์ใช้ชนวนศักดิ์สิทธิ์ซึ่งสะสมมายาวนานหลอมสร้างไปมากที่สุด มากกว่ารุ่นแรก

    ผู้สร้างนำทองชนวนและแผ่นยันต์ทั้งปวงมาหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันแล้วเทเป็นแผ่นใหญ่ ปล่อยให้เย็นตัวลงตามธรรมชาติ
    จากนั้นนำโลหะธาตุมารีดเป็นแผ่นบางโดยจำแนกไปตามชนิดของโลหะคือ นวโลหะ เงิน และ ทองคำ
    วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ตรงกับวันอาสาฬหบูชา ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 เวลา 07.09 น. เป็นมหามงคลฤกษ์ที่ได้คำนวณไว้ดีแล้ว
    จากนั้นก็นำแผ่นโลหะทั้งสามมาดำเนินการปั๊มเป็นเหรียญให้เสร็จภายในเวลา 23.09 น. ของวันเดียวกันซึ่งเป็นอุดมมงคลตามฤกษ์

    จำนวนการสร้าง 2,222 เหรียญ
    1. ทองคำบริสุทธิ์ 5 เหรียญ
    2. เงินบริสุทธิ์ 181 เหรียญ
    3. นวโลหะกลับดำ 2,036 เหรียญ

    *****พิธีมหาพุทธาภิเษก*****
    1. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระบรมรูป ร.5 4 ตุลาคม 2540
    2. วัดสุทัศฯเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีทรัพย์เพิ่มพูน 7 พฤศจิกายน 2540
    3. วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ พิธีพระเศรษฐีนวโกฏิ 15 พฤศจิกายน 2540
    4. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระพิฆเณศวร ศิลปากร 8 มกราคม 2541
    5. วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี พิธีเหรียญพระรูป ร.5 23 ตุลาคม 2541
    6. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธปัญญา 30 สิงหาคม 2542
    7. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีพระกริ่งอัตตรักโข 23 ตุลาคม 2542
    8. วัดยางงาม ราชบุรี พิธี 100 ปี ปากท่อ 27 ตุลาคม 2542
    9. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธสุขสิริ 6 พฤศจิกายน 2542
    10. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีเสาร์ 5 8 เมษายน 2543
    11. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีเสาร์ 5 8 เมษายน 2543
    12. วัดช้าง นครนายก พิธีพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ “สาธารณสุข” 9 มิถุนายน 2543
    13. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีพระพุทธนิรามัย 27 มิถุนายน 2543
    14. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีสมโภชรูปเหมือนหลวงพ่อจ่าง 23 ตุลาคม 2543
    15. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีวันเพ็ญ เดือน 12 พฤศจิกายน 2543
    16. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีพระกริ่งเพชรกลับ วชิรเวท 7 ธันวาคม 2543
    17. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธยอดฟ้า 31 ธันวาคม 2543
    18. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีรูปเหมือนสะดุ้งกลับ หลวงพ่อพูล 18 มกราคม 2544
    19. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งจอมไทย 19-27 มกราคม 2544
    20. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีมงคลอายุวัฒน์ 90 10 กุมภาพันธ์ 2544
    21. วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม พิธีชัยมังคลาภิเษก 25 เมษายน 2545
    22. วัดเลา กรุงเทพฯ ….………………. 27 เมษายน 2545
    23. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีหลวงปู่ทวด กระทรวงกลาโหม 10 พฤศจิกายน 2545
    24. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีพระพุทธนิรโรคันตราย 11 พฤศจิกายน 2545
    25. วัดเลา กรุงเทพฯ ….……………….. 13 พฤศจิกายน 2545
    26. วัดปราสาทบุญญาวาส กรุงเทพฯ พิธีหลวงพ่อทวด 19 พฤศจิกายน 2545

    *****พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว*****
    1. พระครูภัทรธรรมรัติ (ภัทร) วัดโคกสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 6-7 กันยายน 2540
    2. พระครูสุวรรณวิสุทธิ์ (เจริญ) วัดธัญญวารี อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี 22 กันยายน 2540
    3. พระครูวิทิตพัฒนาทร (จ้อย) วัดหนองน้ำเขียว อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี 28 มกราคม 2540
    4. พระครูปราสาทพรหมคุณ (หงส์) วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ 1 กุมภาพันธ์ 2540
    5. พระธรรมมุนี (แพ) วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี 12 เมษายน 2541
    6. พระครูสังวรสมณกิจ (ทิม) วัดพระขาว อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา 12 เมษายน 2541
    4 มกราคม – 31 มีนาคม 2542
    7. พระภาวนานุสิชฌ์เถร (หรุ่ม) วัดบางจักร อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง
    12 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2541,27 มกราคม 2544,3 มีนาคม 2544
    8. พระนิมมานโกวิท (ทองคำ) วัดท่าทอง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 5 พฤษภาคม 2541และ13 – 14 พฤษภาคม 2547
    9. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์(วงศา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน 6 พฤษภาคม 2541
    10. พระครูมงคลคุณาทร (คำปัน) วัดหม้อคำตวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 6 พฤษภาคม 2541
    11. พระครูวรวุฒิคุณ (อิน) วัดฟ้าหลั่ง อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    12. พระครูพิศิษฐสังฆการ (ผัด) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    13. พระครูสิริศีลสังวร (น้อย) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    14. พระครูชัยยะวงศ์วิวัฒน์ (หน่อย) วัดบ้านปง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    15. ครูบาเทือง นาถสีโล วัดบ้านเด่น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    16. พระราชพฤฒาจารย์ (ห้อม) วัดคูหาสุวรรณ อ.เมืองฯ จ.สุโขทัย 8 พฤษภาคม 2541
    17. พระครูศีลสารสัมปัน (อ่อน) วัดเนินมะเกลือ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 8 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2541
    18. พระครูสุนทรวชิรเวท (จ่าง) วัดเขื่อนเพชร อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 8 กรกฎาคม – 5 ตุลาคม 2541
    (ไตรมาส 2541 )
    19. พระราชอุดมมงคล (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม อ.สังขละ จ.กาญจนบุรี 18 ธันวาคม 2541,13 พฤษภาคม 2542 ,และ 14 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2542
    20. พระครูสถิตย์โชติคุณ (ไสว) วัดปรีดาราม อ.สามพราน จ.นครปฐม 3 – 21 มิถุนายน 2542
    21. พระครูสุนทรจริยวัตร (ม่วง) วัดยางงาม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี 22 มิถุนายน – 23 ตุลาคม 2542
    ( พรรษา 2542 )
    22. พระครูสังวรานุโยค (ช่อ) วัดโคกเกตุ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม 11 พฤศจิกายน – 28 ธันวาคม 2542,1 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2544และ1 มกราคม – 30 เมษายน 2547
    23. พระครูปุริมานุรักษ์(พูล) วัดไผ่ล้อม อ.เมือง จ.นครปฐม 8 เมษายน 2543 (เสาร์5) 15 กรกฎาคม – 13 ตุลาคม 2543(ไตรมาส 2543 )
    24. พระอาจารย์ธรรมนูญ ฐิตวัฒฑโน วัดมณีชลขันธุ์ อ.เมือง จ.ลพบุรี 27 มกราคม – 2 มีนาคม 2544
    25. พระอาจารย์ใย สัญญาโม วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา 2 มีนาคม – 5 พฤษภาคม 2544
    26. หลวงปู่ชื้น พุทธสโร วัดญาณเสน อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 3 มีนาคม 2544,6 พฤษภาคม 2544และ24 มิถุนายน 2545
    27. พระครูวินัยวชิรกิจ (อุ้น) วัดตาลกง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 1 กรกฎาคม – ตุลาคม 2544(ไตรมาส 2544)
    28. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์ (สมโภช) วัดจุฬามณี อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม 14 กุมภาพันธ์ – 20 เมษายน 2545
    29. พระราชวิทยาคมเถร (คูณ) วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา (ไตรมาส 2545 ) 22 กรกฎาคม – 21 ตุลาคม 2545และ 23 ตุลาคม 2545
    30. พระครูวิชัยกิจอารักษ์ (อุดม) วัดพิชัยสงคราม อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 17 มีนาคม – 10 กรกฎาคม 2546
    31. พระอาจารย์เมือง พลวัฒทโณ วัดป่ามัชฌิมาวาส อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ (ไตรมาส 2546) 13 กรกฎาคม – 2 พฤศจิกายน 2546
    32. พระอาจารย์สมบูรณ์ กนตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อ.ชาตตระการ จ.พิษณุโลก 14 พฤษภาคม – 27 ตุลาคม 2547( ไตรมาส 2547 )

    เหรียญนี้เข้าพิธีมานานถึง 7 ปี
    พิธีพุทธาภิเษก 26 พิธี และพิธีอธิษฐานจิตเดี่ยวอีก 32 พระเถระ
    เป็นเหรียญที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพุทธคุณ คือตั้งแต่ปี 40 และแล้วเสร็จในปี 47
     
  7. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    เปิดพระกริ่งไพรีพินาศ รุ่นครบรอบ 30 ปี ธนาคารทหารไทยจัดสร้าง พ.ศ.2530 ไม่มีกล่องเดิมนะครับ
    DSC_0160.JPG DSC_0161.JPG DSC_0162.JPG

    file.jpg

    พระกริ่งไพรีพินาศรุ่นนี้ ถอดแบบจากพระกริ่งไพรีพินาศของวัดบวรนิเวศวิหาร มีชนวนเก่าของปี 2495 และชนวนเก่าที่สำคัญอีกมากมาย เป็นเนื้อทองเหลืองทองผสม ตอกโค้ดตราธนาคารทหารไทยใต้ฐาน จัดสร้างโดยธนาคารทหารไทย ถือว่าเป็นรุ่นที่ได้รับความนิยมรองจากรุ่นแรก ปี 2495 และรุ่นผ้าป่าสิงห์บุรี ปี 2528 เพราะมีชนวนในรุ่นแรกๆ ผสมอยู่นั่นเอง

    ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงประกอบพิธีเททองหล่อและพุทธาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อครั้งนั้น
    ผู้ที่เปิดบัญชีกับธนาคารทหารไทยตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป จึงจะได้รับพระกริ่งไพรีพินาศสมนาคุณ 1 องค์ เริ่มออกให้บูชา วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2530
     
  8. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    เปิดเหรียญรุ่นแรก หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต เนื้อนวะ สร้าง200องค์ มาพร้อมกล่องเดิมๆครับ

    DSC_0165.JPG
    DSC_0166.JPG
    DSC_0167.JPG


    เหรียญ รุ่นแรกหลวงปู่บุญฤทธิ์ ศูนย์อบรมภาวนาสิริจันโทได้ขออนุญาตจัดสร้าง เมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม พศ.๒๕๔๘ ในขณะที่หลวงปู่ได้รับนิมนต์ไปงานมรณภาพครบ ๕๐ วัน
    หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ จัดสร้างเสร็จ ๑๙ มีนาคม พศ.๒๕๔๙ และได้นำเข้าพิธีพุทธาภิเษก ในงาน ๑๕๐ ปี ชาตกาล พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) วันที่ ๒๔ มีนาคม ๔๙ จากนั้น
    ครั้งที่ ๑ บนกุฏิปัทมราช วัดบรมนิวาส วันที่ ๒๕ มีนาคม ๔๙ ได้นำให้หลวงปู่อธิษฐานจิตเดี่ยวหลังเวลาฉันเพล
    ครั้งที่ ๒ ณ ศาลสนิทวงศ์ วัดบรมฯ ในวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๔๙ ครั้งที่ ๓ ณ วัดสิริกมลาวาส ในงานอายุวัฒนมงคล หลวงปู่หลอด ๙ ธันวาคม ๔๙
    ครั้งที่ ๔ ณ ศาลสนิทวงศ์ฯ วัดบรมฯ ในวันที่ ๑๔ มกราคม ๕๐
    ครั้งที่ ๕ ณ กุฏิที่พักสงฆ์สวนทิพย์ วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พศ.๒๕๕๐ และถวายให้หลวงปู่แจกในวันรุ่งขึ้น (๑๗ กุมภาพันธ์ ๕๐)

    หมาย : การจัดสร้างเหรียญ ได้แกะบล็อก เกินอายุหลวงปู่ไป ๑ ปี คือถวายเมื่อคราวฉลองอายุ ๙๓ ปี แต่ด้านหลังเหรียญ แกะพิมพ์เป็น ๙๔ ปี

    ๑.ชนวนสำคัญ
    - พระยันต์ ๑๐๘ พระยันต์
    - นะ ๑๔ พระยันต์
    - แผ่นจาร พระคณาจารย์ ๑๐๘ รูป
    (สมเด็จพระญาณสังวร,หลวงตาพวง, หลวงพ่ออุ้น, หลวงพ่อตัด,หลวงพ่อเจือ.หลวงพ่อเอียด, หลวงพ่อเพิ่ม,หลวงพ่อพูน,หลวงพ่อเพี้ยน,หลวงพ่ออั๊บ,หลวงปู่แย้ม เป็นต้น)
    - ชนวนพระนาคปรกแสงอรุณ วัดบรมฯ ปี ๒๔๙๕
    - ชนวนช่อพระกริ่งสิทธัตโถ วัดบรมฯ ปี ๐๘, ปี ๑๒, ปี ๑๗
    - ชนวนพระแก้ว ปี ๒๔๗๕
    - ชนวนวัตถุมงคล ๒๕ พุทธศตวรรษ
    - ชนวนพระกริ่งคุ้มเกล้า ปี ๒๒
    - ชนวนวัตถุมงคล รุ่นฉลอง ๒๐๐ ปี กทม.
    - ชนวนพระกลีบบัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
    - ชนวนวัตถุมงคลวัดเขาอ้อ ปี ๓๙ และแผ่นจาร
    - ชนวนพระชัยหลังช้าง ภปร สก ปี ๓๐
    - ชนวนพระกริ่งรักษาดินแดน (เจ้าคุณนรฯ)
    - ชนวนพระกรุท่ากระดาน กาญจนบุรี
    - ชนวนเหรียญหลวงปู่เสาร์ หลวงปู่มั่น ปี ๙๒
    - ชนวนเหรียญ ๕ อาจารย์วัดสุปัฏฏนาราม อุบลฯ ปี ๑๖
    - ตะกรุดหลวงพ่อป่าน วัดบางนมโค
    - ชนวนหลวงปู่ทวด วัดโพธิ์ฯ ปี ๑๓
    - ชนวนวัตถุมงคล วัดป่าทรงคุณ ปราจีนบุรี ปี ๒๑
    - ชนวนวัตถุมงคล หลวงพ่อโสธร ปี ๓๖
    - ชนวนพระกริ่งตากสินทร์
    - ชนวนวัตถุมงคลหลวงพ่ออิ่มตลอดกาล
    - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๕
    - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๗
    - ชนวนวัตถุมงคลวัดแก้วพิจิตร ปราจีนบุรี
    - ชนวนหลวงพ่อหก วัดสะแกซึง
    - ชนวนวัตถุมงคลพระธาตุดอยสุเทพ ปี ๑๘
    - ชนวนพระกริ่งสีลวุฒโฑ (หลวงปู่เส วัดบูรพาราม) ปี ๔๗
    - ชนวนวัตถุมงคลวัดสิริจันทรนิมิตร (เขาพระงาม) ลพบุรี
    - ชนวนวัตถุมงคลวัดนิมมานนรดี ปี ๑๔
    - ชนวนวัตถุมงคลพระทิพย์อำนาจ ปี ๓๘
    - ชนวนวัตถุมงคล ๗๐๐ ปี ลายสือไทย
    - ชนวนพระกริ่ง ๖๐ ปี ธรรมศาสตร์
    - ชนวนพระกริ่ง พระสมเด็จจอมสุรินทร์ ปี ๑๓
    - ชนวนพระพุทธปริต ปี ๑๔
    - ชนวนวัตถุมงคลพระเจ้าใหญ่อินแปลง อุบลฯ ปี ๑๖
    - ชนวนพระกริ่งวัดสุทัศฯ ปี ๘๕
    - ชนวนพระนาคปรกนาสีดา
    - ชนวนพระไพรีพินาศ วัดบวรนิเวศฯ
    - ชนวนวัตถุมงคลบรมครูหมอชีวกโกมารภัจจ์ หลวงปู่ธรรมรังษี ปี ๔๕
    ๒.ทองชนวน ๑๕๐ พระคณาจารย์
    สมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ (อยู่) วัดสระเกศ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน) วัดมกุฏฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น) วัดโพธิ์ฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาส)วัดราชบพิธฯ
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ) วัดมหาธาตุฯ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์) วัดพระศรีฯ สมเด็จพระธีรญษณมุนี (สนิท) วัดปทุมคงคา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต) วัดสัมพันธวงศ์ หลวงปู่คำพันธ์ โฆษปญฺโญ หลวงปู่ชอบ หลวงปู่อ่อนศรี หลวงปู่อุ่น อุตฺตโม หลวงปู่สาม หลวงปู่คำคะนิง หลวงปู่หลุย หลวงพ่อสุด วัดกาหลง หลวงพ่อคง วัหนองกระจาย หลวงปู่ขาว หลวงปู่มหาปิ่น หลวงปู่วัน หลวงพ่อเต๋ หลวงปู่เปลี้ยหลวงพ่อ มี วัดมารวิชัย หลวงพ่อแดง วัดเขาบรรไดอิฐ หลวงปู่เจ๊ก หลวงปู่ชื่น วัดมาบข่า หลวงพ่อตาบ หลวงปู่กว่า หลวงปู่แหวน หลวงปู่หุ่น วัดบางขวด หลวงปู่คร่ำ หลวงพ่อพุธ หลวงปู่หลอด หลวงปู่ฝั้น
    หลวงปู่หลวง หลวงปู่เหรียญ หลวงปู่บุญมี สิริธโร หลวงพ่อเกษม หลวงปู่จันทร์ เขมิโย หลวงปู่หงษ์ หลวงปู่อ่อน หลวงปู่สมชาย หลวงปู่ธรรมรังษี หลวงปู่ชม วัดเขานันทาราม หลวงปู่เมตตาหลวง หลวงปู่สิม
    หลวงปู่จวน หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต หลวงปู่บัวพา หลวงปู่ลี ฐิตธมฺโม ครูบาพรหมจักรสังวร หลวงพ่ออวยพร หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู หลวงปู่บุญมี วัดอ่างแก้ว หลวงปู่บุดดา หลวงปู่จันทร์ โสม หลวงปู่จันทร์ วัดบึงเขาหลวง หลวงปู่เส วัดบูรพาราม หลวงพ่อสมบูรณ์ หลวงพ่อสายหยุด วัดอดิสร หลวงปู่ปราโมทย์ วัดป่านิโคธาราม หลวงปู่แสง หลวงปู่โทน วัดเขาน้อยคีรีวัน หลวงปู่ต้น หลวงปู่กิ หลวงปู่ผ่าน หลวงปู่คำพอง หลวงปู่มา ญาณวโร หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ หลวงพ่อทองบัว ตนฺติกโร พระเทพวรคุณ(สิงห์) หลวงปู่ศรีจันทร์ เจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิต หลวงปู่ซามา หลวงพ่อคง วัดอินทาราม หลวงพ่อแพ หลวงปู่โง่น หลวงปู่ผล วัดดักคะนนท์ หลวงปู่ห้อม วัดคูหาสวรรค์ หลวงปู่ท่อน หลวงปู่สีทน สีลธโน หลวงปู่พวง หลวงปู่สังข์ วัดท่าช้างใหญ่ หลวงปู่ชา หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก หลวงพ่อจ้อย วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ พระศรีสัจจญาณมุณี วัดสุทัศฯ หลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว หลวงปู่ดูลย์ พ่อท่านกลั่น วัดเขาอ้อ หลวงปู่สาย เขมธมฺโม หลวงปู่มหาโส หลวงปู่บุญหนา หลวงปู่จันทา หลวงปู่จ้อย
    วัด หนองน้ำเขียว หลวงพ่อมหาสนธ์ หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต พระพรหมมุนี (บู่) หลวงพ่อสาคร หลวงปู่ทิม อิสริโก หลวงพ่ออุตตมะ หลวงปู่พรหมา เขมจาโร หลวงตามหาบัว
    หลวงปู่เพียร หลวงปู่อ่ำ หลวงปู่ขาน หลวงพ่อคำบ่อ หลวงพ่อหยอด หลวงปู่แว่น หลวงปู่ถิร หลวงพ่อรวย หลวงพ่อจรัญ หลวงปู่ทิม วัดพระขาว หลวงพ่อสินทร์ วัดบ้านนาโพธิ์ หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่หลิว ครูบาอินคำ วัดทุ่งฟ้าผ่า ครูบาอิน วัดฟ้าหรั่ง หลวงพ่อจ้อย วัดศรีอุทุมพร หลวงปู่ขาว วัดหลักสี่ หลวงปู่เปรื่อง หลวงปู่เทียม วัดกษัตราธิราช หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว หลวงปู่สงฆ์ วัดเจ้าฟ้าฯ พ่อท่านคล้าย หลวงพ่อเชิญ พ่อท่านนอง หลวงพ่อทองพูล หลวงพ่อเปิ่น ครูบาน้อย วัดศรีดอนมูล หลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย หลวงปู่กรอง หลวงปู่เขียน วัดถ้ำขุนเณร หลวงปู่ไสว หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
    หลวง พ่อโอภาสี หลวงพ่อบุญเรือน วัดยางสุทธาราม หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน พ่อท่านสีนวล วัดเกวียนหัก พระครูประสานนรกิจ วัดพระนอนจักรสีห์ พระครูสังฆบริรักษ์ (มโนรมณ์)
    วัดบรมฯ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (รักษ์) หลวงตาแตงอ่อน หลวงพ่อไพบูลย์ หลวงปู่ทา หลวงปู่ทอง วัดสามปลื้ม

    เข้าพิธีพุทธาภิเษก ในงาน ๑๕๐ ปี ชาตกาล พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) วันที่ ๒๔ มีนาคม ๔๙

    ทางศูนย์ฯ ได้กราบอาราธนาพระกรรมฐานและพระเกจิเรืองวิทยาคมแห่งยุคนี้มาพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลที่จัดสร้างงาน 150ปี ท่านเจ้าคุณอุปาลีคุณูปรามาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) เพื่ออธิฐานจิตให้...รายนามดังนี้
    1.สมเด็จญาณวโรดม วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ
    2.พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวส กรุงเทพฯ ประธานจุดเทียนชัย (ปัจจุบัน สมเด็จพระวนรัตน)
    3.หลวงปู่บุญฤทธิ์ ที่พักสงฆ์สวนทิพย์ นนทบุรี
    4.หลวงปู่จันทร์แรม วัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    5.หลวงตาพวง วัดศรีธรรมาราม ยโสธร ประธานดับเทียนชัย
    6.หลวงปู่บุญเพ็ง วัดป่าวิเวกธรรม ขอนแก่น
    7.หลวงปู่ท่อน วัดป่าศรีอภัยวัน เลย
    8.พระราชวรคุณ วัดบูรพาราม สุรินทร์
    9.หลวงพ่อคำบ่อ วัดป่าบ้านตาล สกลนคร
    10.หลวงพ่อคูณ วัดป่าภูทอง อุดรธานี
    11.พระวิมลศีลาจาร วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
    12.หลวงปู่ทิม วัดพระขาว อยุธยา
    13.หลวงพ่อรวย วัดตะโก อยุธยา
    14.หลวงพ่อทอง วัดรังสีสุทธาวาส ชลบุรี
    15.หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว ชลบุรี
    16.หลวงปู่กาหลง วัดเขาแหลม สระแก้ว
    17.หลวงพ่ออั้น วัดโรงโค อุทัยธานี
    18.หลวงพ่อเจือ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
    19.หลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ ระยอง
    20.พระอาจารย์วิชัย วัดถ้ำผาจม เชียงราย
     
  9. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
  10. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    ยามบ่าย.jpg
     
  11. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
  12. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
    สวัสดียามบ่ายครับป๋า
     
  13. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
    สวัสดียามบ่ายครับป๋า
     
  14. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    ราคาเดิมครับ 2,250 บาท ชอบปิดในกระทู้ได้เลยครับ
     
  15. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    เปิดพระกริ่ง - พระชัยวัฒน์ "ตรีโลกเชษฏ์" ปี2546-2550 จำนวนการสร้าง 199 ชุด องค์นี้สภาพสวยกลับดำแล้วครับ

    กริ่ง.JPG
    กริ่ง2.JPG
    กริ่ง3.JPG
    DSC_0334.JPG
    DSC_0335.JPG
    DSC_0336.JPG
    DSC_0337.JPG
    DSC_0338.JPG
    DSC_0339.JPG
    DSC_0340.JPG


    สร้างในปี 2546 สร้างพร้อมพระกริ่งพุทธเลิศหล้า พระกรื่งเป็นรูปจำลองพระกริ่งจีนใหญ่
    เทปูนเเบบช่อโดยใช้ทองฉนวนโดยใช้ทองฉนวนที่เหลือจาก การเทพระกริ่งพุทธเลิศหล้าผสมกับทองฉนวน
    พระกริ่งวัดสุทัศน์ วัดบวรนิเวศน์ เเละทองฉนวนที่จัดสร้างเอง
    ผสมผสานกับตะกรุดโอฬารที่มีชื่อเสียงของธนสิทธิ์ เเละเเผ่นเงินเเผ่นทองเเดงลงอักขระเลขยันต์เเละพระ
    คาถาศักดิ์สิทธิ์โดยพระอาจารย์ที่บริบูรณ์ด้วยวิชชาวิมุติเเละเวทย์วิทยาคม ทุกภาคทั่วประเทศไทย
    รวมทั้งโลหะ 9 ชนิด ตามสูตรการสร้างพระกริ่งของวัดสุทัศน์เทพวราราม
    โดยผ่านพิธีพุทธภิเษก 26 พิธี อันสำคัญได้เเก่ วัดสุทัศน์เทพวราราม วัดบวรนิเวศวิหาร เเละวัดไผ่ล้อม
    นครปฐม เเละปลุกเสกเดี่ยวโดย พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียง รวม 28 องค์
    พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ "ตรีโลกเชษฏ์" เป็นพระหล่อแบบโบราณ เพื่อความเข้มขลังและศักดิ์สิทธิ์เหมือนอย่างพระกริ่งที่เคยมีการสร้างมาก่อนในเมืองไทย โดยเฉพาะพระกริ่งายวัดสุทัศนฯ ที่เน้นในการจัดสร้าง รูปแบบ เนื้อหา พิธีกรรม ฤกษ์ยาม เรียกได้ว่า “ดีทั้งนอก” และ “ดีทั้งใน” รูปลักษณะของ พระกริ่ง "ตรีโลกเชษฏ์" ถอดแบบจาก พระกริ่งใหญ่ (พระกริ่งจีน) ซึ่งสร้างในยุคราชวงศ์ถัง ขนาดองค์พระกว้าง ๒.๒ ซม. สูง ๓.๘ ซม. ส่วน พระชัยวัฒน์ "ตรีโลกเชษฏ์" ถอดแบบจาก พระชัยวัฒน์กะไหล่ทองของ สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ขนาดกว้าง ๑.๒ ซม. สูง ๑.๙ ซม.
    พระกริ่งพระชัยวัฒน์ รุ่นนี้สร้างจากทองชนวนพระกริ่งพระชัยวัฒน์ สำนักวัดสุทัศนฯ หลายวาระ ตั้งแต่ สมัยสมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสสเทโว) พระมงคลราชมุนี (สนธุ์ ยติธโร)พระศรีสัจญาณมุนี (ประหยัด ปัญญาธโร) นอกจากนี้ยังมีทองชนวนพระกริ่ง พระชัยวัฒน์และเหรียญหล่อ ที่ได้จัดสร้างขึ้นเอง ได้แก่ ทองชนวนพระกริ่งอนันตคุณ ทองชนวนพระกริ่งนวโลกุตรญาณมุนี ทองชนวนพระกริ่งสามภพพ่าย ทองชนวนพระกริ่งธนบดี ทองชนวนพระกริ่งวัฒนะ ทองชนวนพระกริ่งธนวัฒน์ ทองชนวนพระกริ่งปวเรศ ทองชนวนพระพุทธชินราชอุดมมงคล และอุตตมะ ทองชนวนเหรียญหล่อพระนาคปรก รุ่นชนะมาร และรุ่นนิราศภัย ทองชนวนรูปหล่อหลวงพ่อทวด รุ่นสมบูรณ์สุข และรุ่นนิราศภัย ชนวนเหรียญพระชนะมาร เนื้อสัมฤทธิ์ และชนวนเหรียญพระแก้วมรกต รุ่นหมดห่วง รายการละประมาณ ๐.๕ กก. กิโลกรัม
    รวมทั้งทองชนวนพระกริ่งพระชัยวัฒน์ หลายสำนักที่มีชื่อเสียง อาทิ ทองชนวนพระกริ่งปวเรศ ๒๕๓๐ (สมเด็จพระญาณสังวร) วัดบวรนิเวศวิหาร พระกริ่งเงินล้าน (หลวงพ่อเปิ่น) พระกริ่งมหาจักรพรรดิอุตตมะ (หลวงพ่ออุตตมะ) พระกริ่งชินวํโส (หลวงพ่อหยอด) วัดแก้วเจริญ พระกริ่งเขมโกมุนี และเขมนันท์ (หลวงพ่อเกษม) สุสานไตรลักษณ์ พระกริ่งนิมมานโกวิท (หลวงปู่ทองคำ) วัดท่าทอง และพระกริ่งภัททิโย (หลวงพ่อภัทร) วัดโคกสูง แผ่นยันต์และตะกรุดสำคัญของพระสุปฏิปันโนผู้บริบูรณ์ด้วยวิชชาและวิมุตติอีกมากมาย ตลาดพระ ซึ่งจะพิมพ์แจกให้กับผู้ที่ทำบุญบูชาพระกริ่งพระชัยวัฒน์รุ่นนี้อย่างครบถ้วน
    ที่สำคัญ คณะผู้จัดสร้างได้นำใบพัดเรือประมง ที่มีชื่อเป็นมงคล และหากินได้อย่างไม่ขาดทุน ซึ่งได้ปลดระวางแล้ว อันสื่อความหมายทางลาภผลพูนทวี หรือการทำมาหากินทางเสี่ยงโชค ณ แดนไกล แต่ก็ปลอดภัยมาทุกครั้ง มาลงพระยันต์มหาจินดามณี และได้รีดเป็นแผ่นทองคำขนาด ๕"x๕" จำนวน ๓ แผ่น หนักแผ่นละ ๒ บาท ลงพระยันต์พิชัยสงคราม ล้อมดวงประสูติ ดวงตรัสรู้ และพระยันต์มหาจักรพรรดิตราธิราช แผ่นเงินลงอักขระ/ยันต์ โดยพระสุปฏิปันโนผู้บริบูรณ์ด้วยวิชชาและวิมุตติ อาทิ พระยันต์โสฬสมหามงคล พระยันต์สุกิตติมา พระยันต์อิติปิโสเกราะเพชร พระยันต์สัมพุทเธหงษา พระยันต์ตะกรุดคู่ชีวิต พระยันต์ไตรสรณคมน์ พระยันต์พุทธนิมิต พระยันต์มหาวิเศษ พระยันต์มหาราช พระยันต์มหาละลวย และพระยันต์ตะกรุดโทนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยได้ถวาย พระมงคลสิทธิการ (หลวงปู่พูล อัตตรักโข) วัดไผ่ล้อม ปลุกเสกแผ่นพระยันต์ทั้งหมด เพื่อร่วมหลอมลงไปด้วย จากนั้นได้นำทองชนวนทั้งหมด น้ำหนักรวม ๑๕ กิโลกรัม มาหลอมรวม โดย พระครูอนุรักษ์วรคุณ (หลวงปู่สง่า อนุปุพโพ) วัดบ้านหม้อ จ.ราชบุรี กำหนดฤกษ์เททองในวันวิสาขบูชา (๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖) โดยมีพิธีบวงสรวง ณ บริเวณมณฑลพิธี พระพิธีธรรมเจริญพระพุทธมนต์
    เมื่อได้ฤกษ์เททอง พระพิธีธรรมเจริญชัยมงคลคาถาตลอดการเวลา แล้วปล่อยให้เย็นลงเองโดยธรรมชาติ จากนั้นจึงดำเนินการทุบหุ่น เพื่อเตรียมการตกแต่งให้เรียบร้อย รวมได้พระกริ่งและพระชัวัฒน์ ๑๙๙ ชุด ในการเททองดังกล่าว ได้เนื้อสัมฤทธิ์ ที่มีวรรณะผิวนอกสีน้ำตาล และกระแสเนื้อในสีแดงอมชมพู แล้วกลับดำสนิท ในส่วนของพระกริ่ง ได้เข้าก้นแบบเข้าหน้าไม้ เพื่อต้องการให้โพรงใต้องค์พระมีขนาดใหญ่ เวลาบรรจุเม็ดกริ่งเขย่าจะมีเสียงดังกังวานดี เสร็จสรรพสมบูรณ์แล้ว คณะผู้จัดสร้างจึงนำพระกริ่งพระชัยวัฒน์ทั้งหมดไปถวายแด่พระมหาเถระผู้มีวัตรปฏิบัติงาม เจริญด้วยวัยวุฒิ และเชี่ยวชาญทางด้านโหราศาสตร์ ซึ่งท่านได้เฉลิมพระนามพระชุดนี้ว่า “ตรีโลกเชษฏ์” มีความหมายว่า เป็นที่พึ่งแห่งสามโลก (มนุษย์ เทวดา นรก) จากนั้นนำพระดังกล่าวไปบรรจุอิทธิ พุทธานุภาพเป็นขั้นตอน ทั้งพิธีพุทธาภิเษกตาวัดสำคัญต่างๆ ไม่ต่ำกว่า ๒๕ วัดด้วยกัน รวมทั้งได้นำไปขอบารมีพระคณาจารย์ผู้เป็นพระบริสุทธิสงฆ์ที่เพียบพร้อมด้วยวิชชาและวิมุตติ อีกกว่า ๒๐ ท่าน บริกรรมนั่งปรกอธิษฐานจิตปลุกเสกเดี่ยวอีกกว่า ๒๐ ท่าน จนมั่นใจได้ว่า พระกริ่งพระชัยวัฒน์ “ตรีโลกเชษฏ์” นี้ ทรงไว้ซึ่งบุญญฤทธิ์ และมหิทธานุภาพ เป็นที่ยิ่ง เป็นที่บริบูรณ์และเพียบพร้อมตามตำราการสร้างพระกริ่งพระชัยวัฒน์ตามตำราของ สมเด็จพระสังฆราช (แพ) วัดสุทัศนฯ ? ทุกประการ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2019
  16. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    DSC_0341.JPG
    DSC_0342.JPG
    DSC_0343.JPG
    เปิดเหรียญพระแก้วหมดห่วง รุ่น2 ปลุกเสกนาน7ปี มาพร้อมกล่องผิวไฟแดงๆ บูชา 2,500 บาท

    เหรียญพระแก้วมรกตหมดห่วง รุ่น2 ปี2540
    จัดสร้างโดยคุณสุธันย์ สุนทรเสวี วัตถุประสงค์ในการสร้างหอพระองค์หลวงพ่อเพชร
    เพื่อประดิษฐานในสาธารณสุข จ.สมุทรสงคราม

    การถวายนาม เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า
    ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.3 ซ.ม.ด้านหน้า ด้านหน้าเป็นรูปจำลองพระแก้วมรกต ทรงเครื่องฤดูฝนประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์บัว 2 ชั้น
    อยู่ภายในซุ้มเรือนแก้วและรายล้อมด้วยดอกไม้ โดยเลียนแบบจากรูปลักษณ์จากเหรียญพระแก้ว มรกต รุ่นฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี
    ด้านหลังเหรียญเป็นยันต์จักรแก้วพระพุทธเจ้า ทรงอานุภาพปราบมารขจัดอุปสรรคและตัดเคราะห์กรรม ซึ่งผูกจากพระคาถาจักรแก้วพระพุทธเจ้า
    “ อิติปิโสภควา เอกจกกํ มารเปตวา พุทธจกโก เวหาสคนตวา” หมุนออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร (หมุนวนขวามือ)

    โดยคณะผู้จัดสร้างได้รวบรวมโลหะทองชนวน พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ สำนักวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ หลายวาระ
    ทองชนวนพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ และครอบน้ำมนต์ที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก,ตะกรุดและแผ่นยันต์ของพระอริยสงฆ์
    และพระอภิญญาจารย์เจ้าทุกภาคทั่วประเทศและโลหะบริสุทธิ์ 9 ชนิดได้แก่ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ 108 ดวง และนะปัถมัง 14
    นะอันเป็นพระยันต์บังคับตามตำราการสร้าง พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ของสมเด็จพระพันรัตน์วัดป่าแก้ว กรุงเก่า
    ซึ่งรุ่นสองนี้คุณสุธันย์ใช้ชนวนศักดิ์สิทธิ์ซึ่งสะสมมายาวนานหลอมสร้างไปมากที่สุด มากกว่ารุ่นแรก

    ผู้สร้างนำทองชนวนและแผ่นยันต์ทั้งปวงมาหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันแล้วเทเป็นแผ่นใหญ่ ปล่อยให้เย็นตัวลงตามธรรมชาติ
    จากนั้นนำโลหะธาตุมารีดเป็นแผ่นบางโดยจำแนกไปตามชนิดของโลหะคือ นวโลหะ เงิน และ ทองคำ
    วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ตรงกับวันอาสาฬหบูชา ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 เวลา 07.09 น. เป็นมหามงคลฤกษ์ที่ได้คำนวณไว้ดีแล้ว
    จากนั้นก็นำแผ่นโลหะทั้งสามมาดำเนินการปั๊มเป็นเหรียญให้เสร็จภายในเวลา 23.09 น. ของวันเดียวกันซึ่งเป็นอุดมมงคลตามฤกษ์

    จำนวนการสร้าง 2,222 เหรียญ
    1. ทองคำบริสุทธิ์ 5 เหรียญ
    2. เงินบริสุทธิ์ 181 เหรียญ
    3. นวโลหะกลับดำ 2,036 เหรียญ

    *****พิธีมหาพุทธาภิเษก*****
    1. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระบรมรูป ร.5 4 ตุลาคม 2540
    2. วัดสุทัศฯเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีทรัพย์เพิ่มพูน 7 พฤศจิกายน 2540
    3. วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ พิธีพระเศรษฐีนวโกฏิ 15 พฤศจิกายน 2540
    4. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระพิฆเณศวร ศิลปากร 8 มกราคม 2541
    5. วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี พิธีเหรียญพระรูป ร.5 23 ตุลาคม 2541
    6. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธปัญญา 30 สิงหาคม 2542
    7. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีพระกริ่งอัตตรักโข 23 ตุลาคม 2542
    8. วัดยางงาม ราชบุรี พิธี 100 ปี ปากท่อ 27 ตุลาคม 2542
    9. วัดเลา กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธสุขสิริ 6 พฤศจิกายน 2542
    10. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีเสาร์ 5 8 เมษายน 2543
    11. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีเสาร์ 5 8 เมษายน 2543
    12. วัดช้าง นครนายก พิธีพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ “สาธารณสุข” 9 มิถุนายน 2543
    13. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีพระพุทธนิรามัย 27 มิถุนายน 2543
    14. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีสมโภชรูปเหมือนหลวงพ่อจ่าง 23 ตุลาคม 2543
    15. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีวันเพ็ญ เดือน 12 พฤศจิกายน 2543
    16. วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี พิธีพระกริ่งเพชรกลับ วชิรเวท 7 ธันวาคม 2543
    17. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งพุทธยอดฟ้า 31 ธันวาคม 2543
    18. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีรูปเหมือนสะดุ้งกลับ หลวงพ่อพูล 18 มกราคม 2544
    19. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ พิธีพระกริ่งจอมไทย 19-27 มกราคม 2544
    20. วัดไผ่ล้อม นครปฐม พิธีมงคลอายุวัฒน์ 90 10 กุมภาพันธ์ 2544
    21. วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม พิธีชัยมังคลาภิเษก 25 เมษายน 2545
    22. วัดเลา กรุงเทพฯ ….………………. 27 เมษายน 2545
    23. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีหลวงปู่ทวด กระทรวงกลาโหม 10 พฤศจิกายน 2545
    24. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ พิธีพระพุทธนิรโรคันตราย 11 พฤศจิกายน 2545
    25. วัดเลา กรุงเทพฯ ….……………….. 13 พฤศจิกายน 2545
    26. วัดปราสาทบุญญาวาส กรุงเทพฯ พิธีหลวงพ่อทวด 19 พฤศจิกายน 2545

    *****พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว*****
    1. พระครูภัทรธรรมรัติ (ภัทร) วัดโคกสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 6-7 กันยายน 2540
    2. พระครูสุวรรณวิสุทธิ์ (เจริญ) วัดธัญญวารี อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี 22 กันยายน 2540
    3. พระครูวิทิตพัฒนาทร (จ้อย) วัดหนองน้ำเขียว อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี 28 มกราคม 2540
    4. พระครูปราสาทพรหมคุณ (หงส์) วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ 1 กุมภาพันธ์ 2540
    5. พระธรรมมุนี (แพ) วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี 12 เมษายน 2541
    6. พระครูสังวรสมณกิจ (ทิม) วัดพระขาว อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา 12 เมษายน 2541
    4 มกราคม – 31 มีนาคม 2542
    7. พระภาวนานุสิชฌ์เถร (หรุ่ม) วัดบางจักร อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง
    12 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2541,27 มกราคม 2544,3 มีนาคม 2544
    8. พระนิมมานโกวิท (ทองคำ) วัดท่าทอง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 5 พฤษภาคม 2541และ13 – 14 พฤษภาคม 2547
    9. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์(วงศา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน 6 พฤษภาคม 2541
    10. พระครูมงคลคุณาทร (คำปัน) วัดหม้อคำตวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 6 พฤษภาคม 2541
    11. พระครูวรวุฒิคุณ (อิน) วัดฟ้าหลั่ง อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    12. พระครูพิศิษฐสังฆการ (ผัด) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    13. พระครูสิริศีลสังวร (น้อย) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    14. พระครูชัยยะวงศ์วิวัฒน์ (หน่อย) วัดบ้านปง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    15. ครูบาเทือง นาถสีโล วัดบ้านเด่น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 7 พฤษภาคม 2541
    16. พระราชพฤฒาจารย์ (ห้อม) วัดคูหาสุวรรณ อ.เมืองฯ จ.สุโขทัย 8 พฤษภาคม 2541
    17. พระครูศีลสารสัมปัน (อ่อน) วัดเนินมะเกลือ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 8 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2541
    18. พระครูสุนทรวชิรเวท (จ่าง) วัดเขื่อนเพชร อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 8 กรกฎาคม – 5 ตุลาคม 2541
    (ไตรมาส 2541 )
    19. พระราชอุดมมงคล (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม อ.สังขละ จ.กาญจนบุรี 18 ธันวาคม 2541,13 พฤษภาคม 2542 ,และ 14 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2542
    20. พระครูสถิตย์โชติคุณ (ไสว) วัดปรีดาราม อ.สามพราน จ.นครปฐม 3 – 21 มิถุนายน 2542
    21. พระครูสุนทรจริยวัตร (ม่วง) วัดยางงาม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี 22 มิถุนายน – 23 ตุลาคม 2542
    ( พรรษา 2542 )
    22. พระครูสังวรานุโยค (ช่อ) วัดโคกเกตุ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม 11 พฤศจิกายน – 28 ธันวาคม 2542,1 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2544และ1 มกราคม – 30 เมษายน 2547
    23. พระครูปุริมานุรักษ์(พูล) วัดไผ่ล้อม อ.เมือง จ.นครปฐม 8 เมษายน 2543 (เสาร์5) 15 กรกฎาคม – 13 ตุลาคม 2543(ไตรมาส 2543 )
    24. พระอาจารย์ธรรมนูญ ฐิตวัฒฑโน วัดมณีชลขันธุ์ อ.เมือง จ.ลพบุรี 27 มกราคม – 2 มีนาคม 2544
    25. พระอาจารย์ใย สัญญาโม วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา 2 มีนาคม – 5 พฤษภาคม 2544
    26. หลวงปู่ชื้น พุทธสโร วัดญาณเสน อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 3 มีนาคม 2544,6 พฤษภาคม 2544และ24 มิถุนายน 2545
    27. พระครูวินัยวชิรกิจ (อุ้น) วัดตาลกง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 1 กรกฎาคม – ตุลาคม 2544(ไตรมาส 2544)
    28. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์ (สมโภช) วัดจุฬามณี อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม 14 กุมภาพันธ์ – 20 เมษายน 2545
    29. พระราชวิทยาคมเถร (คูณ) วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา (ไตรมาส 2545 ) 22 กรกฎาคม – 21 ตุลาคม 2545และ 23 ตุลาคม 2545
    30. พระครูวิชัยกิจอารักษ์ (อุดม) วัดพิชัยสงคราม อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 17 มีนาคม – 10 กรกฎาคม 2546
    31. พระอาจารย์เมือง พลวัฒทโณ วัดป่ามัชฌิมาวาส อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ (ไตรมาส 2546) 13 กรกฎาคม – 2 พฤศจิกายน 2546
    32. พระอาจารย์สมบูรณ์ กนตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อ.ชาตตระการ จ.พิษณุโลก 14 พฤษภาคม – 27 ตุลาคม 2547( ไตรมาส 2547 )

    เหรียญนี้เข้าพิธีมานานถึง 7 ปี
    พิธีพุทธาภิเษก 26 พิธี และพิธีอธิษฐานจิตเดี่ยวอีก 32 พระเถระ
    เป็นเหรียญที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพุทธคุณ คือตั้งแต่ปี 40 และแล้วเสร็จในปี 47

     
  17. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,622
    ค่าพลัง:
    +14,040
    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  18. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    หวัดดี2.png
     
  19. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    47093755_2295862263984698_6416635793959288832_o.jpg
     
  20. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,484
    ค่าพลัง:
    +30,832
    J8nGAGDOifPoDjlxQU9EvTykigY51GwOkNg6P50ViLuaE1rKhQw_CwJITZhAsXdJrsmg4yxq&_nc_ht=scontent.fbkk5-6.jpg

    Sitthiphon Chuen
    24 มกราคม 2018 ·

    ข้อมูลจากเวปพลังจิต
    ตะกรุดอุปคุตมหาลาภ
    ตะกรุดชุดนี้สร้างตามตำราโบราณของสายล้านนา ตะกรุดทำจากเนื้อดีบุก ลงอักขระตัวเมือง ที่ครูบาอาจารย์ท่านได้ดัดแปลงมาเป็นภาพพระอุปคุตจกบาตร
    ตามตำรากล่าวไว้
    หากปราถนา โชคลาภ ให้แช่น้ำผึ้ง
    หากปราถนา เมตตา ให้แช่น้ำมันหอม
    หากปราถนา ศิริมงคลและป้องกันภัย ให้แช่น้ำพุทธมนต์
    หากปราถนา ความแคล้วคลาดปลอดภัย ให้แช่ในน้ำมันงา
    สิ่งที่นำมาแช่ตะกรุดนี้สามารถใช้เจิมร้านค้า ข้าวของ และเจิมหน้าเจิมตัว เพื่อความเป็นศิริมงคล อุดมโชคลาภได้อีกด้วย หากว่าหมดหรือพร่องลงสามารถหามาเติมได้ตลอดไป
    ผู้ใดมีไว้บูชา และเก็บไว้ในที่เก็บเงินทองของมีค่า จะช่วยรักษาทรัพย์สิน ให้มีโชคมีลาภมั่งคั่งและอยู่เย็นเป็นสุข
     

แชร์หน้านี้

Loading...