สนทนาเรื่องราวหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

ในห้อง 'หลวงปู่ดู่ และ หลวงตาม้า' ตั้งกระทู้โดย Aimee2500, 2 สิงหาคม 2010.

  1. Aimee2500

    Aimee2500 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    1,703
    ค่าพลัง:
    +1,765
    ขอเชิญท่านที่ศรัทธาในองค์หลวงปู่ดู่ที่อยู่อังกฤษมาคุยกันได้นะค่ะ
    เว๊ปที่อยากจะแนะนำค่ะ

    Luangpudu.com

    www.wadsakae.com
     
  2. พอชูเดช

    พอชูเดช เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,285
    ค่าพลัง:
    +4,339
    สาธุครับ

    -มหาโมทนากับกุศลจิต ขอให้สำเร็จตามที่ปรารถนาครับ

    สาธุ
     
  3. Aimee2500

    Aimee2500 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    1,703
    ค่าพลัง:
    +1,765
    [FONT=&quot]ประวัติหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ชาติภูมิ [/FONT][FONT=&quot]

    พระคุณเจ้าหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ มีชาติกำเนิดในสกุล “หนูศรี” เดิม ชื่อ ดู่
    เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๗ ตรงกับวันศุกร์ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีมะโรง ซึ่งตรงกับ [/FONT]
    [FONT=&quot]วันวิสาขบูชา [/FONT][FONT=&quot]
    ณ บ้านข้าวเม่า ตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

    โยมบิดาชื่อ พุด
    โยมมารดาชื่อ พุ่ม
    ท่านมีพี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน ๓ คน ท่านเป็นบุตรคนสุดท้าย มีโยมพี่สาว ๒ คน มีชื่อตามลำดับดังนี้
    ๑ . พี่สาวชื่อ ทองคำ สุนิมิตร
    ๒ . พี่สาวชื่อ สุ่ม พึ่งกุศล
    ๓ . ตัวท่าน
    [/FONT]

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ปฐมวัยและการศึกษาเบื้องต้น [/FONT][FONT=&quot]

    ชีวิตในวัยเด็กของท่าน ดูจะขาดความอบอุ่นอยู่มาก ด้วยกำพร้าบิดา มารดาตั้งแต่เยาว์วัย
    นาย ยวง พึ่งกุศล ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานของท่าน ได้เล่าให้ฟังว่า บิดามารดาของท่าน มีอาชีพทำนา โดยนอกฤดูทำนาจะมีอาชีพทำขนมไข่มงคลขาย เมื่อตอนที่ท่านยังเป็นเด็กทารก มีเหตุการณ์สำคัญที่ควรบันทึกไว้คือ ในคืนวันหนึ่งซึ่งเป็นหน้าน้ำ ขณะที่บิดามารดาของท่านกำลังทอด“ขนมมงคล”อยู่นั้น ท่านซึ่งถูกวางอยู่บนเบาะนอกชานคนเดียว ไม่ทราบด้วยเหตุใดตัวท่านได้กลิ้งตกลงไปในน้ำ ทั้งคนทั้งเบาะแต่เป็นที่อัศจรรย์ยิ่ง ที่ตัวท่านไม่จมน้ำ กลับลอยน้ำจนไปติดอยู่ข้างรั้ว กระทั่งสุนัขเลี้ยงที่บ้านท่าน มาเห็นเข้าจึงได้เห่าพร้อมกับวิ่งกลับไปกลับมาระหว่างตัวท่านกับมารดาท่าน เมื่อมารดาท่านเดินตามสุนัขเลี้ยงออกมา จึงได้พบท่านลอยน้ำติดอยู่ที่ข้างรั้ว ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้มารดาท่านเชื่อมั่นว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านจะต้องเป็นผู้มีบุญวาสนามากมาเกิด [/FONT][FONT=&quot]

    มารดาของท่าน ได้ถึงแก่กรรมตั้งแต่ท่านยังเป็นทารกอยู่ ต่อมาบิดาของท่านก็จากไปอีก ขณะท่านมีอายุได้เพียง
    ๔ ขวบเท่านั้น ท่านจึงต้องกำพร้าบิดามารดาตั้งแต่ยังเป็นเด็กเล็กจำความไม่ได้ ท่านได้อาศัยอยู่กับยาย โดยมีโยมพี่สาวที่ชื่อ สุ่ม เป็นผู้ดูแลเอาใจใส่ และท่านก็ได้มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนที่วัดกลางคลองสระบัว วัดประดู่ทรงธรรม และ วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]

    [FONT=&quot]สู่เพศพรหมจรรย์ [/FONT][FONT=&quot]

    เมื่อท่านอายุได้ ๒๑ ปี ก็ได้เข้าพิธีบรรพชาอุปสมบท
    เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับวันอาทิตย์แรม ๔ ค่ำ เดือน ๖
    ณ วัดสะแก ตำบลธนู อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    โดยมี [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงพ่อกลั่น เจ้าอาวาสวัดพระญาติการาม [/FONT][FONT=&quot]เป็นพระอุปัชฌาย์
    มี [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงพ่อแด่ เจ้าอาวาสวัดสะแก[/FONT][FONT=&quot] ขณะนั้น เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    และมี [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงพ่อฉาย วัดกลางคลองสระบัว[/FONT][FONT=&quot] เป็นพระอนุสาวนาจารย์
    ได้รับฉายาว่า[/FONT]
    [FONT=&quot] “พรหมปัญโญ” [/FONT][FONT=&quot]

    ในพรรษาแรกๆ นั้น ท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมที่ [/FONT]
    [FONT=&quot]วัดประดู่ทรงธรรม[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า วัดประดู่โรงธรรม
    โดยมีพระอาจารย์ผู้สอนคือ ท่านเจ้าคุณเนื่อง พระครูชม และ หลวงพ่อรอด (เสือ) เป็นต้น

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ในด้านการปฏิบัติพระกรรมฐานนั้น ท่านได้ศึกษากับ หลวงพ่อกลั่น ผู้เป็นอุปัชฌาย์ และ หลวงพ่อเภา[/FONT][FONT=&quot] ศิษย์องค์สำคัญของหลวงพ่อกลั่น ซึ่งมีศักดิ์เป็นอาของท่าน เมื่อท่านบวชได้พรรษาที่สองประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๙ หลวงพ่อกลั่นมรณภาพ ท่านจึงได้ศึกษาหาความรู้จากหลวงพ่อเภา เป็นสำคัญ นอกจากนี้ท่านยังได้ศึกษาจากตำรับตำราที่มีอยู่จากชาดกบ้าง จากธรรมบทบ้าง และด้วยความที่ท่านเป็นผู้ใฝ่รู้รักการศึกษา ท่านจึงได้เดินทางไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม จากพระอาจารย์อีกหลายท่านที่จังหวัดสุพรรณบุรี และสระบุรี [/FONT][FONT=&quot] <o></o>[/FONT]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_5" o:spid="_x0000_i1027" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/346.jpg" style='width:367.5pt;height:635.25pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image002.jpg" o:title="346"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    [FONT=&quot] <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]ประสบการณ์ธุดงค์ [/FONT][FONT=&quot]

    ประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๖ ออกพรรษาแล้ว ท่านก็เริ่มออกเดินธุดงค์จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    โดยมีเป้าหมายที่ป่าเขาทางแถบจังหวัดกาญจนบุรี และ แวะนมัสการสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น
    พระ พุทธฉาย และ รอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี จากนั้นท่านก็เดินธุดงค์ไปยังจังหวัดสิงห์บุรี สุพรรณบุรี จนถึงจังหวัดกาญจนบุรี จึงเข้าพักปฏิบัติตามป่าเขาและถ้ำต่างๆ

    หลวงปู่ดู่ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า เริ่มแรกที่ท่านขวนขวายศึกษาและปฏิบัตินั้น แท้จริงมิได้มุ่งเน้นมรรคผลนิพพาน
    หาก แต่ต้องการเรียนรู้ให้ได้วิชาต่างๆ เป็นต้นว่า วิชาคงกระพันชาตรี ก็เพื่อที่จะสึกออกไปแก้แค้นพวกโจรที่ปล้นบ้าน โยมพ่อโยมแม่ท่านถึง ๒ ครั้ง แต่เดชะบุญ แม้ท่านจะสำเร็จวิชาต่าง ๆ ตามที่ตั้งใจไว้ ท่านกลับได้คิดนึกสลดสังเวชใจตัวเอง ที่ปล่อยให้อารมณ์อาฆาตแค้น ทำร้ายจิตใจตนเองอยู่เป็นเวลานับสิบ ๆ ปี [/FONT]
    [FONT=&quot]ในที่สุดท่านก็ได้ตั้งจิตอโหสิกรรมให้แก่โจรเหล่านั้น แล้วมุ่งปฏิบัติฝึกฝนอบรมตน ตามทางแห่ง ศีล สมาธิ และ ปัญญา อย่างแท้จริง[/FONT][FONT=&quot]

    ใน ระหว่างที่ท่านเดินธุดงค์อยู่นั้น ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า ได้พบฝูงควายป่ากำลังเดินเข้ามาทางท่าน ท่านตั้งสติอยู่ครู่หนึ่ง จึงตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยว หยุดยืนภาวนานิ่งอยู่ ฝูงควายป่าที่มุ่งตรงมาทางท่าน พอเข้ามาใกล้จะถึงตัวท่าน
    ก็กลับเดินทักษิณารอบท่านแล้วก็จากไป

    บาง แห่งที่ท่านเดินธุดงค์ไปถึง ท่านมักพบกับพวกนักเลงที่ชอบลองของ ครั้งหนึ่งมีพวกนักเลงเอาปืนมายิงใส่ท่าน ขณะนั่งภาวนาอยู่ในกลด ท่านเล่าให้ฟังว่า พวกนี้ไม่เคารพพระ สนใจแต่ “ของดี” เมื่อยิงปืนไม่ออก จึงพากันมาแสดงตัวด้วยความนอบน้อม พร้อมกับอ้อนวอนขอ “ ของดี ” ทำให้ท่านต้องออกเดินธุดงค์หนีไปทางอื่น

    [/FONT]
    [FONT=&quot]การปฏิบัติของท่านในช่วงธุดงค์อยู่นั้น เป็นไปอย่างเอาจริงเอาจัง ยอมมอบกายถวายชีวิตไว้กับป่าเขา[/FONT][FONT=&quot] แต่สุขภาพธาตุขันธ์ของท่านก็ไม่เป็นใจเสียเลย บ่อยครั้งที่ท่านต้องเอาผ้ามาคาดที่หน้าผาก เพื่อบรรเทาอาการปวดศีรษะ
    อีกทั้งก็มีอาการเท้าชารุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ แม้กระนั้นท่านก็ยังไม่ละความเพียร
    สมดังที่ท่านเคย สอนลูกศิษย์ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“นิพพานอยู่ฟากตาย” [/FONT][FONT=&quot]

    ในการประพฤติปฏิบัตินั้น จำต้องยอมมอบกายถวายชีวิตลงไป
    ดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ถ้ามันไม่ดี หรือ ไม่ได้พบความจริง...ก็ให้มันตาย
    ถ้ามันไม่ตาย...ก็ให้มันดี หรือ ได้พบกับความจริง”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ดังนั้น อุปสรรคต่างๆ จึงกลับเป็นปัจจัย ช่วยให้จิตใจของผู้ปฏิบัติแข็งแกร่งขึ้นเป็นลำดับ[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_7" o:spid="_x0000_i1028" type="#_x0000_t75" alt="ดูรายละเอียด" style='width:12pt;height:12pt; visibility:visible' o:button="t"> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image003.gif" o:title="ดูรายละเอียด"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[/FONT]

    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_11" o:spid="_x0000_i1031" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/book009wi8.jpg" style='width:450pt;height:669.75pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image006.jpg" o:title="book009wi8"/> </v:shape><![endif]-->[/FONT][FONT=&quot]นิมิตธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]
    อยู่ มาวันหนึ่ง ประมาณก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เล็กน้อย หลังจากหลวงปู่ดู่สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติกิจส่วนตัวเสร็จเรียบร้อยแล้ว ท่านก็จำวัด เกิดนิมิตไปว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ได้ฉันดาวที่มีแสงสว่างมาก ๓ ดวง [/FONT][FONT=&quot]
    ในขณะที่กำลังฉันอยู่นั้น ก็รู้สึกว่า กรอบๆ ดี ก็เลยฉันเข้าไปทั้งหมด แล้วจึงตกใจตื่น

    เมื่อท่านพิจารณาใคร่ครวญถึงนิมิตธรรมที่เกิดขึ้น ก็เกิดความเข้าใจขึ้นว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แก้ว ๓ ดวงนั้น ก็คือ พระไตรสรณาคมน์นั่นเอง[/FONT][FONT=&quot]
    พอท่านว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“พุทธัง สรณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ, สังฆัง สรณัง คัจฉามิ” [/FONT][FONT=&quot]
    ก็เกิดอัศจรรย์ขึ้นในจิตท่าน พร้อมกับอาการปีติอย่างท่วมท้น ทั้งเกิดความรู้สึกลึกซึ้ง และ มั่นใจว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระไตรสรณาคมน์นี้แหล่ะ เป็นรากแก้วของพระพุทธศาสนา [/FONT][FONT=&quot]
    ท่านจึงกำหนดเอามาเป็นคำบริกรรมภาวนาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

    หลวงปู่ดู่ ท่านให้ความสำคัญอย่างมากในเรื่องของการปฏิบัติสมาธิภาวนา
    ท่านว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ถ้าไม่เอา(ปฏิบัติ)เป็นเถ้าเสียดีกว่า” [/FONT][FONT=&quot]
    ใน สมัยก่อนเมื่อตอนที่ศาลาปฏิบัติธรรมหน้ากุฏิท่านยังสร้างไม่เสร็จนั้น ท่านก็เมตตาให้ใช้ห้องส่วนตัวที่ท่านใช้จำวัด เป็นที่รับรองสานุศิษย์และผู้สนใจได้ใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรม ซึ่งนับเป็นเมตตาอย่างสูง

    สำหรับผู้ที่ไปกราบนมัสการท่านบ่อยๆ หรือ มีโอกาสได้ฟังท่านสนทนาธรรม ก็คงจะได้เห็นกุศโลบายในการสอนของท่านที่จะโน้มน้าว ผู้ฟังให้วกเข้าสู่การปรับปรุงแก้ไขตนเอง เช่น ครั้งหนึ่งมีลูกศิษย์วิพากษ์วิจารณ์คนนั้นคนนี้ให้ท่านฟังในเชิงว่ากล่าวว่า เป็นต้นเหตุของปัญหาและความยุ่งยาก แทนที่ท่านจะเออออไปตาม อันจะทำให้เรื่องยิ่งบานปลายออกไป ท่านกลับปรามว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“เรื่องของคนอื่น เราไปแก้เขาไม่ได้ ที่แก้ได้คือตัวเรา
    แก้ข้างนอก...เป็นเรื่องโลก
    แต่แก้ที่ตัวเรานี่...เป็นเรื่องธรรม”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    คำสอนของหลวงปู่ดู่จึงสรุปลงที่ [/FONT]
    [FONT=&quot]การใช้ชีวิตอย่างคนไม่ประมาท[/FONT][FONT=&quot]
    นั่นหมายถึงว่า สิ่งที่จะต้องเป็นไปพร้อมๆ กันก็คือ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ความพากเพียรที่ลงสู่ภาคปฏิบัติ ในมรรควิถีที่เป็นสาระแห่งชีวิตของผู้ไม่ประมาท [/FONT][FONT=&quot]
    ดังที่ท่านพูดย้ำเสมอว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“หมั่นทำเข้าไว้ ๆ”[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_17" o:spid="_x0000_i1032" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/e2335869.jpg" style='width:375pt;height:510.75pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image007.jpg" o:title="e2335869"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]อ่อนน้อมถ่อมตน [/FONT][FONT=&quot]

    นอกจาก [/FONT]
    [FONT=&quot]ความอดทน อดกลั้น[/FONT][FONT=&quot] ยิ่งแล้ว หลวงปู่ดู่ยังเป็นแบบอย่างของ [/FONT][FONT=&quot]ผู้ไม่ถือตัว[/FONT][FONT=&quot] วางตัวเสมอต้นเสมอปลาย
    ไม่ยกตนข่มผู้อื่น เมื่อครั้งที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม) วัดสุทัศน์เทพวราราม หรือ ที่เราเรียกกันว่า
    “ท่านเจ้าคุณเสงี่ยม” ซึ่งมีอายุพรรษามากกว่าหลวงปู่ดู่ ๑ พรรษา มานมัสการหลวงปู่โดยยกย่องเป็นครูเป็นอาจารย์

    แต่ เมื่อท่านเจ้าคุณเสงี่ยม กราบหลวงปู่เสร็จแล้ว หลวงปู่ท่านก็กราบตอบ เรียกว่า ต่างองค์ต่างกราบซึ่งกันและกัน เป็นภาพที่พบเห็นได้ยากเหลือเกิน ในโลกที่ผู้คนทั้งหลายมีแต่จะเติบโตทางด้านทิฏฐิมานะ ความถือตัวอวดดี
    อวด เด่น ยกตนข่มท่าน ปล่อยให้กิเลสตัวหลงออกเรี่ยราด เที่ยวประกาศให้ผู้คนทั้งหลายได้รู้ว่า ตนเก่ง โดยเจ้าตัวก็ไม่รู้ว่า ถูกกิเลสขึ้นขี่คอพาบงการให้เป็นไป

    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่ ไม่เคยวิพากษ์วิจารณ์การปฏิบัติธรรมของสำนักไหนๆ ในเชิงลบหลู่ หรือ เปรียบเทียบดูถูกดูหมิ่น
    ท่านว่า “คนดีน่ะ เขาไม่ตีใคร” ซึ่งลูกศิษย์ทั้งหลายได้ถือเป็นแบบอย่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่เป็นพระพูดน้อย ไม่มากโวหาร ท่านจะพูดย้ำอยู่แต่ในเรื่องของ การปฏิบัติธรรมและความไม่ประมาท เช่น
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ของดีอยู่ที่ตัวเรา หมั่นทำ (ปฏิบัติ) เข้าไว้”
    “ให้หมั่นดูจิต รักษาจิต”
    “อย่าลืมตัวตาย”[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ให้หมั่นพิจารณา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” [/FONT][FONT=&quot] เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot] <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_19" o:spid="_x0000_i1033" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/50a644c3.jpg" style='width:337.5pt;height:519.75pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image008.jpg" o:title="50a644c3"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]อุบายธรรม [/FONT][FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่เป็นผู้ที่มี [/FONT]
    [FONT=&quot]อุบายธรรมลึกซึ้ง [/FONT][FONT=&quot]สามารถขัดเกลาจิตใจคนอย่างค่อยเป็นค่อยไป มิได้เร่งรัดเอาผล เช่น
    ครั้งหนึ่ง มีนักเลงเหล้าติดตามเพื่อนซึ่งเป็นลูกศิษย์มากราบนมัสการท่าน
    สนทนากันได้สักพักหนึ่ง เพื่อนที่เป็นลูกศิษย์ ก็ชักชวนเพื่อนนักเลงเหล้าให้สมาทานศีล ๕ พร้อมกับฝึกหัด
    ปฏิบัติสมาธิภาวนา

    นักเลงเหล้าผู้นั้นก็แย้งว่า “จะมาให้ผมสมาทานศีลและปฏิบัติได้ยังไง ก็ผมยังกินเหล้าเมายาอยู่นี่ครับ ”
    หลวงปู่ดู่ท่านก็ตอบว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“เอ็งจะกินก็กินไปซิ ข้าไม่ว่า แต่ให้เอ็งปฏิบัติให้ข้าวันละ ๕ นาที ก็พอ” [/FONT][FONT=&quot]
    นักเลงเหล้าผู้นั้นเห็นว่า นั่งสมาธิแค่วันละ๕ นาที ไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไร จึงได้ตอบปากรับคำจากหลวงพ่อ

    ด้วยความที่เป็นคนนิสัยทำอะไรทำจริง ซื่อสัตย์ต่อตัวเอง ทำให้เขาสามารถปฏิบัติได้สม่ำเสมอเรื่อยมามิได้ขาด
    แม้ แต่วันเดียว บางครั้งถึงขนาดงดไปกินเหล้ากับเพื่อนๆ เพราะได้เวลาปฏิบัติ จิตของเขาเริ่มเสพคุ้นกับความสุขสงบจากการที่จิตเป็นสมาธิ ไม่ช้าไม่นานเขาก็สามารถเลิกเหล้าได้โดยไม่รู้ตัว ด้วยอุบายธรรมที่น้อมนำมาจากหลวงปู่
    ต่อมาเขาได้มีโอกาสมานมัสการท่านอีกครั้ง

    ที่นี้หลวงปู่ดู่ท่านให้โอวาทว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ที่แกปฏิบัติอยู่ ให้รู้ว่าไม่ใช่เพื่อข้า แต่เพื่อตัวแกเอง”[/FONT][FONT=&quot]
    คำพูดของหลวงปู่ทำให้เขาเข้าใจอะไรมากขึ้น ศรัทธาและความเพียรต่อการปฏิบัติก็มีมากขึ้นตามลำดับ
    ถัดจากนั้นไม่กี่ปี เขาผู้ที่อดีตเคยเป็นนักเลงเหล้า ก็ละเพศฆราวาส เข้าสู่เพศบรรพชิต...ตั้งใจปฏิบัติธรรมเรื่อยมา

    อีกครั้งหนึ่งมีชาวบ้านหาปลามานมัสการท่าน และ ก่อนกลับท่านก็ให้เขาสมาทานศีล ๕
    เขาเกิดตะขิดตะขวงใจกราบเรียนท่านว่า “ผมไม่กล้าสมาทานศีล ๕ เพราะรู้ว่าประเดี๋ยวก็ต้องไปจับปลา จับกุ้ง มันเป็นอาชีพของผมครับ ”
    หลวงปู่ตอบเขาด้วยความเมตตาว่า[/FONT]
    [FONT=&quot] “แกจะรู้เหรอว่า แกจะตายเมื่อไหร่ ไม่แน่ว่าแกเดินออกไปจากกุฏิข้าแล้ว อาจถูกงูกัดตายเสียกลางทางก่อนไปจับปลา จับกุ้งก็ได้ เพราะฉะนั้น เมื่อตอนนี้แกยังไม่ได้ทำบาปกรรมอะไร ยังไงๆ ก็ให้มีศีลไว้ก่อน ถึงจะมีศีลขาด ก็ยังดีกว่าไม่มีศีล ”[/FONT][FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่ ท่านไม่เพียงพร่ำสอนให้บรรดาศิษย์ทั้งหลายเจริญบำเพ็ญคุณงามความดีเท่านั้น หากแต่ยังเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญ และระมัดระวังในการรักษาไว้ซึ่งคุณงามความดีนั้นๆให้คงอยู่ รวมทั้งเจริญงอกงามขึ้นเรื่อยๆ ท่านมักจะพูดเตือนเสมอๆว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อ ปลูกต้นธรรมด้วยดีแล้ว ก็ต้องคอยหมั่นระวังอย่าให้หนอนและแมลง ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ และความหลง มากัดกินทำลายต้นธรรมที่อุตส่าห์ปลูกขึ้น[/FONT][FONT=&quot]

    และ อีกครั้งหนึ่งที่ท่านแสดงถึงแบบอย่างของความเป็นครูอาจารย์ ที่ปราศจากทิฏฐิมานะ และเปี่ยมด้วยอุบายธรรมก็คือ ครั้งที่มีนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒ คน ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของท่าน มากราบลาพร้อมกับเรียนให้ท่านทราบว่า จะเดินทางไปพักค้างเพื่อปฏิบัติธรรมกับ ท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี

    หลวงปู่ดู่ท่านฟังแล้ว ก็ยกมือพนมขึ้นไหว้ไปทางข้างๆ พร้อมกับพูดว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ข้าโมทนากับพวกแกด้วย ตัวข้าไม่มีโอกาส...” [/FONT][FONT=&quot]
    ไม่ มีเลยที่ท่านจะห้ามปราม หรือ แสดงอาการที่เรียกว่า หวงลูกศิษย์ ตรงกันข้ามมีแต่จะส่งเสริม สนับสนุน ให้กำลังใจเพื่อให้ลูกศิษย์ของท่านขวนขวายในการปฏิบัติธรรมยิ่งๆ ขึ้นไป

    แต่ ถ้าเป็นกรณีที่มีลูกศิษย์มาเรียนให้ท่านทราบ ถึงครูอาจารย์องค์นั้นองค์นี้ ในลักษณะตื่นครูตื่นอาจารย์ ท่านก็จะปรามเพื่อวกเข้าสู่เจ้าตัว โดยพูดเตือนสติว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ครูอาจารย์ดีๆ แม้จะมีอยู่มาก
    แต่สำคัญที่ตัวแก ต้องปฏิบัติให้จริง
    สอนตัวเองให้มากนั่นแหละจึงจะดี” [/FONT]
    [FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่ท่านมีแนวทาง [/FONT]
    [FONT=&quot]การสอนธรรมะที่เรียบง่าย ฟังง่ายชวนให้ติดตามฟัง[/FONT][FONT=&quot] ท่านนำเอาสิ่งที่เข้าใจยากมาแสดงให้เข้าใจง่าย เพราะท่านจะยกอุปมาอุปไมยประกอบในการสอนธรรมะ จึงทำให้ผู้ฟังเห็นภาพ และ เกิดความเข้าใจในธรรมที่ท่านนำมาแสดง แม้ว่าท่านมักจะออกตัวว่า ท่านเป็นพระบ้านนอกที่ไม่มีความรู้อะไร แต่สำหรับบรรดาศิษย์ทั้งหลาย คงไม่อาจปฏิเสธว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลายครั้งที่ท่านสามารถพูดแทงเข้าไปถึงก้นบึ้งหัวใจของผู้ฟังทีเดียว [/FONT][FONT=&quot]

    อีก ประการหนึ่ง ด้วยความที่ท่านมีรูปร่างลักษณะที่เป็นที่น่าเคารพ เลื่อมใส เมื่อใครได้มาพบเห็นท่านด้วยตนเอง และถ้ายิ่งได้สนทนาธรรมกับท่านโดยตรงก็จะยิ่งเพิ่มความเคารพเลื่อมใส และ ศรัทธาในตัวท่านมากขึ้นเป็นทวีคูณ

    หลวงปู่ดู่ท่านพูดถึง การประพฤติปฏิบัติของคนสมัยนี้ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“คนเราทุกวันนี้ โลกเท่าแผ่นดิน ธรรมเท่าปลายเข็ม
    เรามัวพากันยุ่งอยู่กับโลกจนเหมือนลิงติดตัง เรื่องของโลก เรื่องเละๆ เรื่องไม่มีที่สิ้นสุด
    เราไปแก้ไขเขาไม่ได้ จะต้องแก้ไขที่ตัวเราเอง
    ตนของตนเตือนตนด้วยตนเอง”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ท่านได้อบรมสั่งสอนศิษย์ โดยให้พยายามถือเอาเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นครูสอนตนเองเสมอ
    เช่น ในหมู่คณะ หากมีผู้ใดประพฤติปฏิบัติดี เจริญในธรรมปฏิบัติ ท่านก็กล่าวชม และให้ถือเป็นแบบอย่าง แต่ถ้ามีผู้ประพฤติผิด ถูกท่านตำหนิติเตียน ก็ให้น้อมเอาเหตุการณ์นั้นๆ มาสอนตนทุกครั้งไป ท่านไม่ได้ชมผู้ทำดีจนหลงลืมตน และท่านไม่ได้ติเตียนผู้ทำผิดจนหมดกำลังใจ แต่ถือเอาเหตุการณ์ เป็นเสมือนครูที่เป็นความจริง แสดงเหตุผลให้เห็นธรรมที่แท้จริง

    [/FONT]
    [FONT=&quot]การสอนของท่าน ก็พิจารณาดูบุคคลด้วย[/FONT][FONT=&quot] เช่น
    คน บางคนพูดให้ฟัง เพียงอย่างเดียวไม่เข้าใจ บางทีท่านก็ต้องทำให้เกิดความกลัว เกิดความ ละอายบ้าง ถึงจะหยุดเลิกละการกระทำที่ไม่ดีนั้นๆได้
    หรือบางคนเป็นผู้มีอุปนิสัยเบาบางอยู่แล้ว ท่านก็สอนธรรมดา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การสอนธรรมะของท่าน บางทีก็สอนให้กล้า บางทีก็สอนให้กลัว[/FONT][FONT=&quot]
    ที่ว่าสอนให้กล้านั้นคือ ให้กล้าในการทำความดี กล้าในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อถอดถอนกิเลสออกจากใจ ไม่ให้ตกเป็นทาสของกิเลสอยู่ร่ำไป
    ส่วนที่สอนให้กลัวนั้น ท่านให้กลัวในการทำความชั่ว ผิดศีลธรรม เป็นโทษ ทำแล้วผู้อื่นเดือดร้อน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]บางทีท่านก็สอนให้เชื่อ[/FONT][FONT=&quot] คือ ให้เชื่อมั่นในคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เชื่อในเรื่องกรรม
    อย่างที่ท่านเคยกล่าวว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“เชื่อไหมล่ะ ถ้าเราเชื่อจริง ทำจริง มันก็เป็นของจริง ของจริงมีอยู่
    แต่เรามันไม่เชื่อจริง จึงไม่เห็นของจริง ”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่ท่านสอนให้ [/FONT]
    [FONT=&quot]มีปฏิปทาสม่ำเสมอ [/FONT][FONT=&quot]
    ท่านว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ขยันก็ให้ทำ ขี้เกียจก็ให้ทำ
    ถ้าวันไหนยังกินข้าวอยู่...ก็ต้องทำ
    วันไหนเลิกกินข้าวแล้วนั่นแหละ...จึงค่อยเลิกทำ” [/FONT]
    [FONT=&quot]

    การสอนของท่านนั้น มิได้เน้นแต่เพียงการนั่งหลับตาภาวนา หากแต่หมายรวมไปถึงการ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]กำหนดดู กำหนดรู้ และพิจารณาสิ่งต่างๆ ในความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา [/FONT][FONT=&quot]
    โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ท่านชี้ให้เห็นถึงสังขารร่างกายที่ มันเกิด มันตาย อยู่ตลอดเวลา ท่านว่าเราวันนี้กับเราเมื่อตอนเป็นเด็กมันก็ไม่เหมือนเก่า เราขณะนี้กับเราเมื่อวานก็ไม่เหมือนเก่า จึงว่าเราเมื่อตอนเป็นเด็ก หรือเราเมื่อวานมันได้ตายไปแล้ว เรียกว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ร่างกายเรามันเกิด - ตาย อยู่ทุกลมหายใจเข้าออก มันเกิด - ตาย อยู่ทุกขณะจิต [/FONT][FONT=&quot]
    ท่านสอนให้บรรดาศิษย์เห็นจริงถึงความสำคัญของความทุกข์ยากว่า เป็นสิ่งมีคุณค่าในโลก

    ท่านจึงพูดบ่อยครั้งว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การที่เราประสบทุกข์ นั่นแสดงว่าเรามาถูกทางแล้ว
    เพราะอาศัยทุกข์นั่นแหละ จึงทำให้เราเกิดปัญญาขึ้นได้[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_21" o:spid="_x0000_i1034" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/852.jpg" style='width:450pt;height:8in;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image009.jpg" o:title="852"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[/FONT]
    [FONT=&quot]ใช้ชีวิตอย่างผู้รักสันโดษและเรียบง่าย [/FONT][FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่ท่านยังเป็นแบบอย่างของ[/FONT]
    [FONT=&quot] ผู้มักน้อยสันโดษ[/FONT][FONT=&quot] ใช้ชีวิตเรียบง่าย ไม่นิยมความหรูหราฟุ่มเฟือย
    แม้แต่การสรงน้ำ ท่านก็ยังไม่เคยใช้สบู่เลย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ก็น่าอัศจรรย์ เมื่อได้ทราบจากพระอุปัฏฐากว่าไม่พบว่า ท่านมีกลิ่นตัว แม้ในห้องที่ท่านจำวัด [/FONT][FONT=&quot]

    มี ผู้ปวารณาตัวจะถวายเครื่องใช้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้กับท่าน ซึ่งส่วนใหญ่ท่านจะปฏิเสธ คงรับไว้บ้างเท่าที่เห็นว่า ไม่เกินเลยอันจะเสียสมณะสารูป และใช้สอยพอให้ผู้ถวายได้เกิดความปลื้มปีติที่ได้ถวายแก่ท่าน ซึ่งในภายหลังท่านก็มักยกให้เป็นของสงฆ์ส่วนรวมเช่นเดียวกับข้าวของต่างๆ ที่มีผู้มาถวายเป็นสังฆทานโดยผ่านท่าน และเมื่อถึงเวลาเหมาะควร ท่านก็จะจัดสรรไปให้วัดต่างๆ ที่อยู่ในชนบท และ ยังขาดแคลนอยู่

    สิ่งที่ท่านถือปฏิบัติสม่ำเสมอในเรื่องลาภสักการะ ก็คือ [/FONT]
    [FONT=&quot]การยกให้เป็นของสงฆ์ส่วนรวม [/FONT][FONT=&quot]
    แม้ ปัจจัยที่มีผู้ถวายให้กับท่านเป็นส่วนตัวสำหรับค่ารักษาพยาบาล ท่านก็สมทบเข้าในกองทุนสำหรับจัดสรรไปในกิจสาธารณประโยชน์ต่างๆ ทั้งโรงเรียน และ โรงพยาบาล

    หลวงปู่ดู่ ท่านไม่มีอาการแห่งความเป็นผู้อยากเด่นอยากดังแม้แต่น้อย ดังนั้นแม้ท่านจะเป็นเพียงพระบ้านนอกรูปหนึ่ง ซึ่งไม่เคยออกจากวัดไปไหน ทั้งไม่มีการศึกษาระดับสูงๆในทางโลก
    แต่ในความรู้สึกของลูกศิษย์ทั้งหลาย [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่าน เป็นดั่งพระเถระผู้ถึงพร้อมด้วยจริยวัตรอันงดงาม สงบ เรียบง่าย เบิกบาน และ ถึงพร้อมด้วยธรรมวุฒิที่รู้ถ้วนทั่วในวิชชา อันจะนำพาให้ พ้นเกิด พ้นแก่ พ้นเจ็บ พ้นตาย ถึงฝั่งอันเกษม
    เป็นที่ฝากเป็นฝากตาย และฝากหัวใจของลูกศิษย์ทุกคน[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ใน เรื่องทรัพย์สมบัติดั้งเดิมของท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่นา ซึ่งมีอยู่ประมาณ ๓๐ ไร่ ท่านก็ได้แบ่งให้กับหลานๆ ของท่าน ซึ่งในจำนวนนี้ นายยวง พึ่งกุศล ผู้เป็นบุตรของนางสุ่ม โยมพี่สาวคนกลาง ที่เคยเลี้ยงดูท่านมาตลอด ก็ได้รับส่วนแบ่งที่นาจากท่านด้วยจำนวน ๑๘ ไร่เศษ แต่ด้วยความที่นายยวงผู้เป็นหลานของท่านนี้ไม่มีทายาท ได้คิดปรึกษานางถมยา ผู้ภรรยาเห็นควรยกให้เป็นสาธารณประโยชน์ จึงยกที่ดินแปลงนี้ให้กับโรงเรียนวัดสะแก
    ซึ่งหลวงปู่ดู่ท่านก็อนุโมทนาในกุศลเจตนาของคนทั้งสอง<o></o>[/FONT]


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5CADMINI%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5CADMINI%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5CADMINI%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:HyphenationZone>21</w:HyphenationZone> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>CS</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>X-NONE</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:238; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:238; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:238; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-520082689 -1073717157 41 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-language:EN-US;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-hansi-font-family:Calibri;} @page WordSection1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:70.85pt 70.85pt 70.85pt 70.85pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.WordSection1 {page:WordSection1;}</style>[FONT=&quot]กุศ[/FONT][FONT=&quot]โลบายในการสร้างพระ[/FONT][FONT=&quot]

    หลวง ปู่ดู่ท่านมิได้ตั้งตัวเป็นเกจิอาจารย์ การที่ท่านสร้าง หรือ อนุญาตให้สร้างพระเครื่อง หรือ พระบูชา ก็เพราะเห็นประโยชน์ เพราะบุคคลจำนวนมากยังขาดที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ท่านมิได้จำกัดศิษย์อยู่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
    ดังนั้นคณะศิษย์ของท่านจึงมีกว้างขวางออกไป ทั้งที่ใฝ่ใจธรรมล้วนๆ หรือ ที่ยังต้องอิงกับวัตถุมงคล
    ท่านเคยพูดว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ติดวัตถุมงคล ก็ยังดีกว่าที่จะให้ไปติดวัตถุอัปมงคล”[/FONT][FONT=&quot]
    ทั้งนี้ ท่านย่อมใช้ดุลยพินิจพิจารณา ตามความเหมาะควรแก่ผู้ที่ไปหาท่าน

    แม้ว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่จะรับรองในความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่อง ที่ท่านอธิษฐานจิตให้
    แต่สิ่งที่ท่านยกไว้เหนือกว่านั้นก็คือ การปฏิบัติ [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ดังจะเห็นได้จากคำพูดของท่านว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“เอาของจริงดีกว่า พุทธังฯ ธัมมังฯ สังฆังฯ สรณัง คัจฉามิ นี่แหละของแท้” [/FONT][FONT=&quot]

    จากคำพูดนี้ จึงเสมือนเป็นการยืนยันว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]การปฏิบัติภาวนานี้แหละ...เป็นที่สุดแห่งเครื่องรางของขลัง [/FONT][FONT=&quot]
    เพราะ คนบางคนแม้แขวนพระที่ผู้ทรงคุณวิเศษอธิษฐานจิตให้ก็ตาม ก็ใช่ว่าจะรอดปลอดภัยอยู่ดีมีสุขไปทุกกรณี อย่างไรเสียทุกคนไม่อาจหลีกหนีวิบากกรรมที่ตนได้สร้างไว้
    ดังที่ท่านได้กล่าวไว้ว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่เหนือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ก็คือ กรรม[/FONT][FONT=&quot]

    ดังนั้น จึงมีแต่ พระ[/FONT]
    [FONT=&quot] “สติ”[/FONT][FONT=&quot] พระ[/FONT][FONT=&quot] “ปัญญา”[/FONT][FONT=&quot] ที่ฝึกฝนอบรมมาดีแล้วเท่านั้น ที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติ รู้เท่าทัน และ
    พร้อมที่จะเผชิญกับปัญหาและสิ่งกระทบต่างๆที่เข้ามาในชีวิต...อย่างไม่ทุกข์ใจ [/FONT]
    [FONT=&quot]ดุจว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นเสมือนฤดูกาลที่ผ่านเข้ามาในชีวิต บางครั้งร้อนบางครั้งหนาว ทุกสิ่งทุกอย่าง ล้วนเป็นไปตามธรรมดาของโลก [/FONT][FONT=&quot]

    พระเครื่อง หรือ พระบูชาต่างๆ ที่ท่านอธิษฐานปลุกเสกให้แล้วนั้น ปรากฏผลแก่ผู้บูชาในด้านต่างๆ เช่น
    แคล้วคลาด ฯลฯ[/FONT]
    [FONT=&quot] นั่นก็เป็นเพียงผลพลอยได้[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งเป็นประโยชน์ทางโลกๆ

    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ประโยชน์ที่ท่านสร้างมุ่งหวังอย่างแท้จริงนั้นก็คือ ใช้เป็นเครื่องมือในการ "ปฏิบัติภาวนา" [/FONT][FONT=&quot]
    มีพุทธานุสติกรรมฐาน เป็นต้น

    นอกจากนี้แล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot] ผู้ปฏิบัติยังได้อาศัยพลังจิตที่ท่านตั้งใจบรรจุไว้ในพระเครื่อง ช่วยน้อมนำ และ ประคับประคอง
    ให้จิตรวมสงบได้เร็วขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot] ตลอดถึงการใช้เป็นเครื่องเสริมกำลังใจ และระงับความหวาดวิตกในขณะปฏิบัติ
    ถือเป็นประโยชน์ทางธรรม ซึ่งก่อให้เกิดพัฒนาการทางจิตของผู้ใช้ไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด

    จากที่เบื้องต้น เราได้อาศัย พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ และ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
    คือ ยึดเอา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะ จนจิตของเราเกิดศรัทธา โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เราเรียกกันว่า ตถาคตโพธิสัทธา คือ เชื่อปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าขึ้นแล้ว เราก็ย่อมเกิดกำลังใจขึ้นว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระพุทธองค์เดิมก็เป็นคนธรรมดาเช่นเดียวกับเรา ความผิดพลาดพระองค์ก็เคยทรงทำมาก่อน
    แต่ด้วยความเพียร ประกอบกับพระสติปัญญาที่ทรงอบรมมาดีแล้ว จึงสามารถก้าวข้ามวัฏฏะสงสาร
    สู่ความหลุดพ้น เป็นการบุกเบิกทางที่เคยรกชัฏให้พวกเราได้เดินกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ดัง นั้นเราซึ่งเป็นมนุษย์เช่นเดียวกับพระองค์ ก็ย่อมที่จะมีศักยภาพ ที่จะฝึกฝนอบรม กาย วาจา ใจ ด้วยตัวเราเองได้เช่นเดียวกับที่พระองค์ทรงกระทำมา พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ กาย วาจา ใจ เป็นสิ่งที่ฝึกฝนอบรมกันได้ ใช่ว่าจะต้องปล่อยให้ไหลไปตามยถากรรม

    เมื่อจิตเราเกิดศรัทธาดังที่ กล่าวมานี้แล้ว ก็มีการน้อมนำเอาข้อธรรมคำสอนต่างๆ มาประพฤติปฏิบัติ ขัดเกลากิเลส ออกจากใจตน จิตใจของเราก็จะเลื่อนชั้น จากปุถุชนที่หนาแน่นด้วยกิเลส ขึ้นสู่กัลยาณชนและอริยชน เป็นลำดับ เมื่อเป็นดังนี้แล้ว ในที่สุดเราก็ย่อมเข้าถึงที่พึ่งคือตัวเราเอง อันเป็นที่พึ่งที่แท้จริง เพราะ [/FONT]
    [FONT=&quot]กาย วาจา ใจ ที่ได้ผ่านขั้นตอนการฝึกฝนอบรมโดย การเจริญศีล สมาธิ และปัญญาแล้ว ย่อมกลายเป็น กายสุจริต วาจาสุจริต และมโนสุจริต กระทำสิ่งใด พูดสิ่งใด คิดสิ่งใด ก็ย่อมหาโทษมิได้ถึงเวลานั้นแม้พระเครื่องไม่มี ก็ไม่อาจทำให้เราเกิดความหวั่นไหว หวาดกลัว ขึ้นได้เลย<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_25" o:spid="_x0000_i1036" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/967.jpg" style='width:525pt;height:330pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image011.jpg" o:title="967"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]เปี่ยมด้วยเมตตา[/FONT][FONT=&quot]

    นึก ถึงสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธองค์ทรงประชวรหนักครั้งสุดท้ายแห่งการปรินิพพาน ท่านพระอานนท์ผู้อุปัฏฐากพระองค์อยู่ตลอดเวลา ได้ห้ามมานพผู้หนึ่ง ซึ่งขอร้องจะขอเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าขณะนั้น พระอานนท์คัดค้านอย่างเด็ดขาดไม่ให้เข้าเฝ้า แม้มานพขอร้องถึง ๓ ครั้ง ท่านก็ไม่ยอม จนกระทั่งเสียงขอกับเสียงขัดดังถึงพระพุทธองค์ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า“อานนท์ อย่าห้ามมานพนั้นเลยจงให้เข้ามาเดี๋ยวนี้” เมื่อได้รับอนุญาตแล้วมานพ ก็เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าได้ฟังธรรม จนบรรลุมรรคผลแล้วขอบวชเป็นพระสาวกองค์สุด ท้ายมีนามว่า “พระสุภัททะ”

    พระอานนท์ท่านทำหน้าที่ของท่านถูกต้องแล้ว ไม่มีความผิดอันใดเลยแม้แต่น้อย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ส่วนที่พระพุทธเจ้าให้เข้าเฝ้านั้นเป็นส่วน พระมหากรุณาธิคุณ ของพระองค์ ที่ทรงมีต่อสรรพสัตว์ทั้งหลายโดยไม่มีประมาณ ย่อมแผ่ไพศาลไปทั่วทั้งสามโลก พระสาวกรุ่นหลังกระทั่งถึง พระเถระ หรือ ครูบาอาจารย์ผู้สูงอายุโดยทั่วไปที่มีเมตตาสูง
    รวมทั้งหลวงปู่ ย่อมเป็นที่เคารพนับถือของชนหมู่มาก ท่านก็อุทิศชีวิตเพื่อกิจพระศาสนา ก็ไม่ค่อยคำนึงถึงความชราอาพาธของท่าน เห็นว่าผู้ใดได้ประโยชน์จากการบูชาสักการะท่าน ท่านก็อำนวยประโยชน์นั้นแก่เขา [/FONT]
    [FONT=&quot]

    เมื่อครั้งที่หลวงปู่อาพาธอยู่ ได้มีลูกศิษย์กราบเรียนท่านว่า “รู้สึกเป็นห่วง หลวงปู่”
    ท่านได้ตอบศิษย์ผู้นั้นด้วยความเมตตาว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ห่วงตัวแกเองเถอะ”[/FONT][FONT=&quot]
    อีกครั้งที่ผู้เขียนเคยเรียนหลวงปู่ว่า “ขอให้หลวงปู่พักผ่อนมากๆ”

    หลวงปู่ตอบทันทีว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“พักไม่ได้ มีคนเขามากันมาก บางทีกลางคืนเขาก็มากัน เราเหมือนนกตัวนำ เราเป็นครูเขานี่
    ครู..เขาตีระฆังได้เวลาสอนแล้วก็ต้องสอน ไม่สอนได้ยังไง”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ชีวิต ของท่านเกิดมาเพื่อเกื้อกูลธรรมแก่ผู้อื่น แม้จะอ่อนเพลียเมื่อยล้าสักเพียงใด ท่านก็ไม่แสดงออกให้ใครต้องรู้สึกวิตกกังวล หรือลำบากใจแต่อย่างใดเลย เพราะอาศัยความเมตตาเป็นที่ตั้ง จึงอาจกล่าวได้ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ปฏิปทาของท่านเป็นดั่ง พระโพธิสัตว์ หรือ หน่อพุทธภูมิ ซึ่งเห็นประโยชน์ของผู้อื่น มากกว่าประโยชน์ส่วนตน [/FONT][FONT=&quot]
    ดังเช่น พระโพธิสัตว์ หรือ หน่อพุทธภูมิอีกท่านหนึ่ง คือ [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ทวดเหยียบน้ำทะเลจืด[/FONT][FONT=&quot]พระสุปฏิปันโนสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งหลวงปู่ดู่ได้สอนให้ลูกศิษย์ให้ความเคารพ เสมือนครูอาจารย์ผู้ชี้แนะแนวทางการปฏิบัติอีกท่านหนึ่ง

    หลวงปู่ดู่ ท่านได้ตัดสินใจไม่รับกิจนิมนต์ออกนอกวัด ตั้งแต่ก่อน ปี พ.ศ. ๒๔๙๐
    ดังนั้นทุกคนที่ตั้งใจไปกราบนมัสการ และ ฟังธรรมจากท่านจะไม่ผิดหวังเลยว่า จะไม่ได้พบท่าน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านจะนั่งรับแขกบนพื้นไม้กระดานแข็งๆ หน้ากุฏิของท่านทุกวัน ตั้งแต่เช้าจรดค่ำ บางวันที่ท่านอ่อนเพลีย
    ท่านจะเอนกายพักผ่อนหน้ากุฏิ แล้วหาอุบายสอนเด็กวัด โดยให้เอาหนังสือธรรมะ มาอ่านให้ท่านฟังไปด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ข้อวัตรของท่านอีกอย่างหนึ่งก็คือ การฉันอาหารมื้อเดียว ซึ่งท่านกระทำมาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๐
    แต่ ภายหลังคือ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เหล่าสานุศิษย์ ได้กราบนิมนต์ให้ท่านฉัน ๒ มื้อ เนื่องจากความชราภาพของท่าน ประกอบกับต้องรับแขกมากขึ้น ท่านจึงได้ผ่อนปรนตามความเหมาะควรแห่งอัตภาพ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งจะได้เป็นการโปรดญาติโยมจากที่ไกลๆ ที่ตั้งใจมาทำบุญถวายภัตตาหารแด่ท่าน[/FONT][FONT=&quot]

    หลวง ปู่แม้จะชราภาพมากแล้ว ท่านก็ยังอุตส่าห์นั่งรับแขกที่มาจากทิศต่างๆ วันแล้ววันเล่า ศิษย์ทุกคนก็ตั้งใจมาเพื่อกราบนมัสการท่าน บางคนก็มา เพราะมีปัญหาหนักอกหนักใจแก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ จึงมุ่งหน้ามาเพื่อกราบเรียนถามปัญหา เพื่อให้คลายความทุกข์ใจ บางคนมาหาท่านเพื่อต้องการของดี เช่น เครื่องรางของขลัง ซึ่งก็มักได้รับคำตอบจากท่านว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ของดีนั้นอยู่ที่ตัวเรา พุทธัง ธัมมัง สังฆัง นี่แหละของดี ” [/FONT][FONT=&quot]

    บางคนมาหาท่าน เพราะได้ยินข่าวเล่าลือถึง คุณความดี ศีลาจาริยวัตรของท่านในด้านต่างๆ
    บางคนมาหาท่าน เพื่อขอหวยหวังรวยทางลัดโดยไม่อยากทำงาน แต่อยากได้เงินมากๆ
    บาง คนเจ็บไข้ไม่สบาย ก็มาเพื่อให้ท่านรดน้ำมนต์ เป่าหัวให้ มาขอดอกบัวบูชาพระของท่าน เพื่อนำไปต้มดื่ม ให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ นานาสารพันปัญหา แล้วแต่ใครจะนำมาเพื่อหวังให้ท่านช่วยตน
    บางคนไม่เคยเห็นท่าน ก็อยากมาดูว่าท่านมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร
    บ้างแค่มาเห็นก็เกิดปีติ สบายอกสบายใจ จนลืมคำถาม หรือ หมดคำถามไปเลย

    หลายคนเสียสละเวลา เสียค่าใช้จ่ายเดินทางไกลมาเพื่อพบท่าน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยเหตุนี้ท่านจึงอุตส่าห์นั่งรับแขกอยู่ตลอดวัน โดยไม่ได้พักผ่อนเลย และไม่เว้นแม้ยามป่วยไข้
    แม้นายแพทย์ผู้ให้การดูแลท่านอยู่ประจำจะขอร้องท่านอย่างไร ท่านก็ไม่ยอมตาม
    ด้วยเมตตาสงสาร และ ต้องการให้กำลังใจแก่ญาติโยมทุกคนที่มาพบท่าน<o></o>[/FONT]

    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_27" o:spid="_x0000_i1037" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/999.jpg" style='width:375pt;height:519pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image012.jpg" o:title="999"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]ท่านเป็นดุจพ่อ[/FONT][FONT=&quot]

    หลวงปู่ดู่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านเป็นดุจพ่อ...ของลูกศิษย์ทุกๆคน[/FONT][FONT=&quot] เหมือนอย่างที่พระกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่นเรียกหลวงปู่มั่นว่า
    “ พ่อแม่ครูอาจารย์ ” ซึ่งถือเป็น คำยกย่องอย่างสูง เพื่อให้สมฐานะอันเป็นที่รวมแห่งความเป็นกัลยาณมิตร

    หลวง ปู่ดู่ท่านให้การต้อรับแขกอย่างเสมอหน้ากันหมด ไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะ ท่านจะพูดห้ามปราม หากมีผู้มาเสนอตัวเป็นนายหน้า คอยจัดแจงเกี่ยวกับแขกที่เข้ามานมัสการท่าน ถึงแม้จะด้วยเจตนาดี อันเกิดจากความห่วงใยในสุขภาพของท่านก็ตาม เพราะท่านทราบดีว่า มีผู้ใฝ่ธรรมจำนวนมากที่อุตส่าห์เดินทางมาไกล เพื่อนมัสการ
    และซักถามข้อธรรมจากท่าน หากมาถึงแล้วยังไม่สามารถเข้าพบท่านได้โดยสะดวกก็จะทำให้เสียกำลังใจ

    นี้ เป็นเมตตาธรรมอย่างสูง ซึ่งนับเป็นโชคดีของบรรดาศิษย์ทั้งหลาย ไม่ว่าใกล้หรือไกล ที่สามารถมีโอกาสเข้ากราบนมัสการท่านได้โดยสะดวก หากมีผู้สนใจการปฏิบัติกรรมฐานมาหาท่าน ท่านจะเมตตาสนทนาธรรมเป็นพิเศษ
    อย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย บางครั้งหลวงพ่อก็มิได้กล่าวอะไรมาก เพียงการทักทายศิษย์ด้วยถ้อยคำสั้นๆ เช่น
    “ เอ้า . . . กินน้ำชาสิ ” หรือ “ ว่า ไง . . ” ฯลฯ
    เท่านี้ก็เพียงพอที่ยังปีติให้เกิดขึ้นกับศิษย์ผู้นั้น เหมือนดังหยาดน้ำทิพย์ชโลมให้เย็นฉ่ำ
    เกิดความสดชื่นตลอดร่างกายจน . . . ถึงจิต . . . ถึงใจ

    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่ท่านให้ความเคารพในองค์ หลวงปู่ทวด อย่างมาก[/FONT][FONT=&quot]
    ทั้งกล่าวยกย่อง ในความที่เป็นผู้ที่มีบารมีธรรมเต็มเปี่ยม ตลอดถึงการที่จะได้มาตรัสรู้ธรรมในอนาคต
    ให้บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายยึดมั่นและหมั่นระลึกถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อติดขัดในระหว่างการปฏิบัติธรรม
    หรือแม้แต่ประสบปัญหาในทางโลกๆ ท่านว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ทวด ท่านคอยจะช่วยเหลือทุกคนอยู่แล้ว แต่ขอให้ทุกคนอย่าได้ท้อถอย หรือ ละทิ้งการปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="obrázek_x0020_29" o:spid="_x0000_i1038" type="#_x0000_t75" alt="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/326.jpg" style='width:525pt;height:354.75pt;visibility:visible'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image013.jpg" o:title="326"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่กับครูอาจารย์ท่านอื่น [/FONT][FONT=&quot]

    ในระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๒ ได้มีพระเถระ และ ครูบาอาจารย์หลายท่าน เดินทางมาเยี่ยมเยียนหลวงปู่ดู่ เช่น [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่บุดดา ถาวโร [/FONT][FONT=&quot]วัดกลางชูศรีเจริญสุข จังหวัดสิงห์บุรี ท่านเป็นพระเถระซึ่งมีอายุย่างเข้า ๙๖ ปี ก็ยังเมตตามาเยี่ยมหลวงปู่ดู่ที่วัดสะแก ถึง ๒ ครั้ง และบรรยากาศของการพบกันของท่านทั้งสองนี้ เป็นที่ประทับใจผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์อย่างยิ่ง เพราะต่างองค์ต่างอ่อนน้อมถ่อมตน ปราศจากการแสดงออกซึ่งทิฏฐิมานะใดๆ เลย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แป้งเสกที่หลวงปู่บุดดาเมตตามอบให้หลวงปู่ดู่ ท่านก็เอามาทาที่ศีรษะเพื่อแสดงถึงความเคารพอย่างสูง[/FONT][FONT=&quot]

    พระเถระอีกท่านหนึ่ง ซึ่งได้เดินทางมาเยี่ยมหลวงปู่ดู่ค่อนข้างบ่อยครั้งคือ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่โง่น โสรโย[/FONT][FONT=&quot] วัดพระพุทธบาทเขารวก จังหวัดพิจิตร ท่านมีความห่วงใยในสุขภาพของหลวงปู่ดู่อย่างมาก โดยได้สั่งให้ลูกศิษย์จัดทำป้ายกำหนดเวลารับแขกในแต่ละวันของหลวงปู่ดู่ เพื่อเป็นการถนอมธาตุขันธ์ของหลวงปู่ให้อยู่ได้นานๆ แต่อย่างไรก็ดี ไม่ช้าไม่นานหลวงปู่ดู่ท่านก็ให้นำป้ายออกไป เพราะเหตุแห่งความเมตตา ที่ท่านมีต่อผู้คนทั้งหลาย

    ในระยะเวลาเดียวกันนั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]ครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร[/FONT][FONT=&quot] วัดพระธาตุดอนเรือง ท่านเป็นศิษย์ของหลวงปู่โง่น โสรโย
    ก็ได้เดินทางมากราบนมัสการหลวงปู่ดู่ ๒ ครั้ง โดยท่านได้เล่าให้ฟังภายหลังว่า เมื่อได้มาพบหลวงปู่ดู่ จึงได้รู้ว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่ก็คือ พระภิกษุชราภาพที่ไปสอนท่านในสมาธิ ในช่วงที่ท่านอธิษฐานเข้ากรรมปฏิบัติไม่พูด ๗ วัน[/FONT][FONT=&quot]
    ซึ่งท่านก็ได้แต่กราบระลึกถึงอยู่ตลอดทุกวัน โดยไม่รู้ว่าพระภิกษุชราภาพรูปนี้คือใคร
    กระทั่งได้มีโอกาสมาพบหลวงปู่ดู่ที่วัดสะแก เกิดรู้สึกเหมือนดังพ่อลูกที่จากกันไปนานๆ
    แม้ครั้งที่ ๒ ที่พบกับหลวงปู่ดู่ หลวงปู่ดู่ก็ได้พูดสอนให้ท่านเร่งความเพียร เพราะหลวงปู่จะอยู่อีกไม่นาน

    ครูบาบุญชุ่มยังได้เล่าว่า ท่านตั้งใจจะกลับไปวัดสะแกอีก เพื่อหาโอกาสไปอุปัฏฐากหลวงปู่ดู่
    แต่แล้วเพียงระยะเวลาไม่นานนักก็ได้ข่าวว่า หลวงปู่ดู่ มรณภาพ ยังความสลดสังเวชใจแก่ท่าน
    ท่านได้เขียนบันทึกความรู้สึกในใจของท่าน ไว้ในหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ดู่ ตอนหนึ่งว่า

    [/FONT]
    [FONT=&quot]“…หลวงปู่ท่านมรณภาพสิ้นไป เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ ที่ให้ความสว่างส่องแจ้งในโลกดับไป
    อุปมาเหมือนดังดวงประทีปที่ให้ความสว่างไสวแก่ลูกศิษย์ได้ดับไป
    ถึงแม้ พระเดชพระคุณหลวงปู่ได้มรณะไปแล้ว แต่บุญญาบารมีที่ท่านแผ่เมตตาและรอยยิ้ม อันอิ่มเอิบ
    ยังปรากฏฝังอยู่ในดวงใจอาตมา มิอาจลืมได้
    …. ถ้าหลวงปู่มีญาณรับทราบ และแผ่เมตตาลูกศิษย์ลูกหาทุกคน ขอให้พระเดชพระคุณหลวงปู่เข้าสู่ พระนิพพานเป็นอมตะแด่ท่านเทอญ กระผมขอกราบคารวะพระเดชพระคุณหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
    ด้วยความเคารพสูงสุด ”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    นอกจากนี้ยังมีพระเถระอีกรูปหนึ่งที่ควรกล่าวถึงเพราะ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่ให้ความยกย่องมากในความเป็นผู้มีคุณธรรมสูง[/FONT][FONT=&quot] และเป็นแบบอย่างของผู้ที่มีความเคารพ
    ในพระรัตนตรัยเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งหลวงปู่ดู่ได้แนะนำสานุศิษย์ให้ถือท่านเป็นครูอาจารย์อีกท่านหนึ่งด้วย
    นั่นก็คือ[/FONT]
    [FONT=&quot] หลวงพ่อเกษม เขมโก [/FONT][FONT=&quot]แห่งสุสานไตรลักษณ์ จังหวัดลำปาง [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1039" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:525pt;height:378pt'> <v:imagedata src="file:///C:\Users\ADMINI~1\AppData\Local\Temp\msohtmlclip1\01\clip_image014.jpg" o:href="http://i788.photobucket.com/albums/yy165/surin2507/84045192.jpg"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    <!--[endif]--><o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]ปัจฉิมวาร [/FONT][FONT=&quot]

    นับ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นต้นมา สุขภาพของหลวงปู่เริ่มแสดงไตรลักษณะ ให้ปรากฏอย่างชัดเจน สังขารร่างกายของหลวงปู่ ซึ่งก่อเกิดมาจากธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ และมีใจครองเหมือนเราๆท่านๆ เมื่อสังขารผ่านมานานวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้ามีการใช้งานมาก และพักผ่อนน้อย ความทรุดโทรมก็ย่อมเกิดเร็วขึ้นกว่าปรกติ กล่าวคือ สังขารร่างกายของท่านได้เจ็บป่วย อ่อนเพลียลงไปเป็นลำดับ ในขณะที่บรรดาลูกศิษย์ลูกหาทั้งญาติโยม และบรรพชิตก็หลั่งไหลกันมานมัสการท่านเพิ่มขึ้นทุกวัน

    ในท้ายที่สุดแห่งชีวิตของหลวงปู่ดู่ ด้วยปณิธานที่ตั้งไว้ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot] “สู้แค่ตาย” [/FONT][FONT=&quot]
    ท่านใช้ความอดทน อดกลั้นอย่างสูง แม้บางครั้งจะมีโรคมาเบียดเบียนอย่างหนัก
    ท่านก็อุตส่าห์ออกโปรดญาติโยมเป็นปกติ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระที่อุปัฏฐากท่านได้เล่าให้ฟังว่า
    บางครั้งถึงขนาดที่ท่านต้องพยุงตัวเองขึ้นด้วยอาการสั่น และมีน้ำตาคลอเบ้า
    ท่านก็ไม่เคยปริปากให้ใคร ต้องเป็นกังวลเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ในปีท้ายๆ ท่านถูกตรวจพบว่าเป็น [/FONT]
    [FONT=&quot]โรคลิ้นหัวใจรั่ว[/FONT][FONT=&quot]
    แม้นายแพทย์จะขอร้องท่านเข้าพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล ท่านก็ไม่ยอมไป
    ท่านเล่าให้ฟังว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“แต่ก่อนเราเคยอยากดี
    เมื่อดีแล้วก็เอาให้หายอยาก อย่างมากก็สู้แค่ตาย
    ใครจะเหมือนข้า ข้าสู้จนตัวตาย”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    มีบางครั้งได้รับข่าวว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านล้ม ขณะกำลังลุกเดินออกจากห้อง...เพื่อออกโปรดญาติโยม [/FONT][FONT=&quot]
    คือ ประมาณ ๖ นาฬิกา อย่างที่เคยปฏิบัติอยู่ทุกวัน โดยปกติในยามที่สุขภาพของท่านแข็งแรงดี ท่านจะเข้าจำวัดประมาณสี่ห้าทุ่ม แต่กว่าจะจำวัดจริงๆ ประมาณเที่ยงคืน หรือ ตีหนึ่ง แล้วมาตื่นนอนตอนประมาณตีสาม มาช่วงหลังที่สุขภาพของท่านไม่แข็งแรง จึงตื่นตอนประมาณตีสี่ถึงตีห้า เสร็จกิจทำวัตรเช้าและกิจธุระส่วนตัว แล้วจึงออกโปรดญาติโยมที่หน้ากุฏิ

    ประมาณปลายปี พ.ศ.๒๕๓๒ หลวงปู่ดู่พูดบ่อยครั้งในความหมายว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ใกล้ถึงเวลาที่ท่านจะละสังขารนี้แล้ว[/FONT][FONT=&quot]
    ในช่วงท้ายของชีวิตท่าน ธรรมที่ถ่ายทอดยิ่งเด่นชัดขึ้น
    มิใช่ด้วยเทศนาธรรมของท่าน
    หากแต่เป็นการสอน ด้วยการปฏิบัติให้ดู

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งปฏิปทาในเรื่องของ [/FONT]
    [FONT=&quot]ความอดทน [/FONT][FONT=&quot]
    สมดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ประทานไว้ในโอวาทปาฏิโมกข์ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ขันตี ปรมัง ตโป ตีติกขา
    ความอดทนเป็นตบะอย่างยิ่ง”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    แทบจะไม่มีใครเลย นอกจากโยมอุปัฏฐากใกล้ชิดที่ทราบว่า ที่ท่านนั่งรับแขกบนพื้นไม้กระดานแข็งๆ ทุกวันๆ
    ตั้งแต่เช้าจรดค่ำ เป็นระยะเวลานับสิบๆ ปี ด้วยอาการยิ้มแย้มแจ่มใส
    ใครทุกข์ใจมา ท่านก็แก้ไขให้ได้รับความสบายใจกลับไป
    แต่เบื้องหลังก็คือ ความลำบากทางธาตุขันธ์ของท่าน ที่ท่านไม่เคยปริปากบอกใคร

    [/FONT]
    [FONT=&quot]กระทั่งวันหนึ่งโยมอุปัฏฐากได้รับการไหว้วานจากท่านให้เดินไปซื้อยาทาแผลให้ท่าน จึงได้มีโอกาสขอดู และ
    ได้เห็นแผลที่ก้นท่าน ซึ่งมีลักษณะแตกซ้ำๆ ซากๆ ในบริเวณเดิม
    เป็นที่สลดใจ...จนไม่อาจกลั้นน้ำตาเอาไว้ได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]

    ท่านจึงเป็นครูที่เลิศ
    สมดังพระพุทธโอวาทที่ว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]สอนเขาอย่างไร พึงปฏิบัติให้ได้อย่างนั้น[/FONT][FONT=&quot]

    ดัง นั้น ธรรมในข้อ “อนัตตา” ซึ่งหลวงปู่ท่านยกไว้เป็นธรรมชั้นเอก ท่านก็ได้ปฏิบัติให้เห็นเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของศิษย์ทั้งหลายแล้วถึงข้อ ปฏิบัติต่อหลักอนัตตาไว้อย่างบริบูรณ์ จนแม้ความอาลัยอาวรณ์ในสังขารร่างกาย
    ที่จะมาหน่วงเหนี่ยว หรือ สร้างความทุกข์ร้อนแก่จิตใจท่าน ก็มิได้ปรากฏให้เห็นเลย

    ในตอนบ่ายของวันก่อนหน้าที่ท่านจะมรณภาพ ขณะที่ท่านกำลังเอนกายพักผ่อนอยู่นั้น
    ก็มีนายทหารอากาศผู้หนึ่งมากราบนมัสการท่าน ซึ่งเป็นการมาครั้งแรก
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่ดู่ได้ลุกขึ้นนั่งต้อนรับด้วยใบหน้าที่สดใส ราศีเปล่งปลั่งเป็นพิเศษ[/FONT][FONT=&quot]
    กระทั่งบรรดาศิษย์ ณ ที่นั่นเห็นผิดสังเกต หลวงปู่แสดงอาการยินดีเหมือนรอคอยบุคคลผู้นี้มานาน
    ท่านว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ต่อไปนี้ข้าจะได้หายเจ็บหายไข้เสียที” [/FONT][FONT=&quot]
    ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่า...ท่านกำลังโปรดลูกศิษย์คนสุดท้ายของท่าน
    หลวงปู่ดู่ท่านได้ย้ำในตอนท้ายว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ข้าขอฝากให้แกไปปฏิบัติต่อ” [/FONT][FONT=&quot]

    ใน คืนนั้นก็ได้มีคณะศิษย์มากราบนมัสการท่าน ซึ่งการมาในครั้งนี้ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนเช่นกันว่า จะเป็นการมาพบกับสังขารธรรมของท่าน...เป็นครั้งสุดท้ายแล้ว หลวงปู่ดู่ได้เล่าให้ศิษย์คณะนี้ฟังด้วยสีหน้าปรกติว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดในร่างกายข้า ที่ไม่เจ็บปวดเลย
    ถ้าเป็นคนอื่นคงเข้าห้องไอซียูไปนานแล้ว”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    พร้อมทั้งพูดหนักแน่นว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ข้าจะไปแล้วนะ”[/FONT][FONT=&quot]

    ท้ายที่สุดท่านก็เมตตากล่าวย้ำให้ทุกคนตั้งอยู่ใน ความไม่ประมาท
    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ถึงอย่างไรก็ขออย่าได้ทิ้งการปฏิบัติ
    ก็เหมือนนักมวยขึ้นเวทีแล้วต้องชก อย่ามัวแต่ตั้งท่า เงอะๆงะๆ” [/FONT]
    [FONT=&quot]

    นี้ดุจเป็น ปัจฉิมโอวาท แห่งผู้เป็นพระบรมครูของผู้เป็นศิษย์ทุกคน อันจะไม่สามารถลืมเลือนได้เลย

    หลวงปู่ดู่ ได้ละสังขารไปด้วยอาการอันสงบด้วยโรคหัวใจในกุฏิท่าน
    เมื่อเวลาประมาณ ๕ นาฬิกา ของวันพุธที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓
    อายุ ๘๕ ปี ๘ เดือน อายุพรรษา ๖๕ พรรษา
    สังขารธรรมของท่านได้ตั้งบำเพ็ญกุศลโดยมีเจ้าภาพ สวดอภิธรรมเรื่อยมาทุกวันมิได้ขาด ตลอดระยะเวลา ๔๕๙ วัน
    จนกระทั่งได้รับพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ ในวันเสาร์ที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๔

    พระคุณเจ้าหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ ได้อุปสมบทและจำพรรษาอยู่ ณ วัดสะแก มาโดยตลอด จนกระทั่งมรณภาพ
    ยังความเศร้าโศก และอาลัยแก่ศิษยานุศิษย์ และผู้เคารพรักท่านเป็นอย่างยิ่ง
    อุปมาดั่งดวงประทีปที่เคยให้ความสว่างไสวแก่ศิษยานุศิษย์ได้ดับไป
    แต่เมตตาธรรมและคำสั่งสอนของท่าน จะยังปรากฏอยู่ใน...ดวงใจของศิษยานุศิษย์ และผู้ที่เคารพรักท่านตลอดไป

    บัดนี้ สิ่งที่คงอยู่มิใช่สังขารธรรมของท่าน
    หากแต่เป็นหลวงปู่ดู่องค์แท้...ที่ศิษย์ทุกคนจะเข้าถึงท่านได้
    ด้วยการสร้างคุณงามความดี ให้เกิดให้มีขึ้นที่ตนเอง
    สมดังที่ท่านได้กล่าวไว้เป็นคติว่า

    [/FONT]
    [FONT=&quot]“ตราบใดก็ตามที่แกยังไม่เห็นความดีในตัว ก็ยังไม่นับว่าแกรู้จักข้า
    แต่ถ้าเมื่อใด แกเริ่มเห็นความดีในตัวเองแล้ว
    เมื่อนั้น...ข้าจึงว่าแกเริ่มรู้จักข้าดีขึ้นแล้ว ”[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ธรรมทั้งหลายที่ท่านได้พร่ำสอน ทุกวรรคตอนแห่งธรรม ที่บรรดาศิษย์ได้น้อมนำมาปฏิบัตินั้นก็คือ
    การที่ท่านได้เพาะเมล็ดพันธุ์แห่งความดีงามบนดวงใจของศิษย์ทุกคน
    ซึ่งนับวันจะเติบใหญ่ผลิดอก ออกผลเป็น[/FONT]
    [FONT=&quot] สติ และ ปัญญา [/FONT][FONT=&quot]
    บนลำต้นที่แข็งแรงคือ [/FONT]
    [FONT=&quot]สมาธิ [/FONT][FONT=&quot]
    และบนพื้นดินที่มั่นคงแน่นหนาคือ[/FONT]
    [FONT=&quot] ศีล [/FONT][FONT=&quot]
    สมดังเจตนารมณ์ที่ท่านได้ทุ่มเททั้งชีวิต ด้วยเมตตาธรรมอันยิ่ง อันจักหาได้ยากทั้งในอดีต ปัจจุบัน และ...อนาคต[/FONT]
    [FONT=&quot]


    ***จากบทความของ คุณสิทธิ์
    ที่มา http://www.luangpordu.com/
    <o></o>[/FONT]
     
  4. เด็กสร้างบ้าน

    เด็กสร้างบ้าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,195
    ค่าพลัง:
    +538
    ขออนุโมทนาบุญกับท่านเจ้าของกระทู้ด้วยครับ สาธุ สาธุ

    ตัวผมเองได้ไปวัดสะแกไหว้รูปหลวงปู่อยู่เสมอ
     
  5. pjjit

    pjjit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    34
    ค่าพลัง:
    +125
    สุดยอดวิทยาทานครับ
     
  6. ใบไม้ไหว

    ใบไม้ไหว สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +17
    สาธุ ขออนุโมทนาบุญแด่ท่านเจ้าของกระทู้
    ขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง ขอน้อมรับคำสั่งสอนของหลวงปู่ดู่เหนือเศียรเกล้า
     

แชร์หน้านี้

Loading...