ต่อจาก จิตผู้รู้ ก็คือ จิตผู้ดู นั่นเอง ผู้ชมที่ดีเป็นยังไง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย nilakarn, 25 กันยายน 2020.

  1. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
     
  2. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2020
  3. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  4. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  5. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  6. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    จิตผู้รู้ จิตผู้ดู

    จิตผู้รู้ ก็ ก็คือ จิตผู้รู้
    จิตผู้ดู ก้คือจิตผู้รู้ กะอันเดียวกัน

    จิตผู้รู้
    จิตผู้ดู
    จิตผู้ฟัง
    จิตผู้รับรส
    จิตผู้สัมผัส
    จิตผู้รับกลิ่น


    แปลภาษา ง่ายๆ ก็
    จิตอาศัย วิญญาณทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    (อาศัย วิญญาณทั้ง6 เรียกว่า กองวิญญาณขันธ์)
    เป็นเครื่องมือ ในการ รับ แล้วจิตจึงรู้

    จิตจึงเรียกว่าผู้รู้ มีสภาพรู้ รู้อย่างเดียว นี่จึงเรียกว่า จิต แต๊ๆ
    มีแต่สภาพ รู้แต๊ๆ รู้อย่างเดียว แยกไม่ออกว่า ดีชั่ว บุญ บาป

    จิึงเรียก จิตแต้ๆ รู้แต๊ๆ โดยสภาพของมันคือ อวิชา

    พบผู้รู้ ทำลายผู้รู้ ก็คือ พบอวิชา ทำลายอวิชานั่นแหล่ะ


    ทีนี้ บางคน เจอ คำว่า อวิชา กลัวกะโตกโกรกกราก สะดุ้ง โหยงๆ
    กลัวแล้ว กลัวแล้ว กลัวอวิชา ไปนู้น

    สำหรับ
    ลูกกะตาเป็นลูกๆ สองลูก หรือ หู ใบหู สองข้าง หรือ ลิ้นในปาก

    หรือ ผิวหนังสัมผัส หรือ จมูกสองรู หรือความรู้สึกทางใจ พวกนี้

    เป็น ตัวหยาบ ทางเชื่อม เรียกว่า เครื่องรับ ของหยาบ ทางรูปกาย

    จึงเรียกเป็น ลูกกะตา ใบหู ลิ้น จมุก กาย ใจ มันก้เชื่อมกับ
    วิญญาณหกของกายละเอียดไปอีก
    ฉะนั้น ไม่มีลุกกะตา ไม่มีใบหู ไม่มี ลิ้น ไม่มีจมูก ไม่มีกายหยาบ ไม่มีความรู้สึกทางใจ

    จิตมันก็ยังมี วิญญาณหก เป็นของละเอียด เชื่อมกัน

    จึงสามารถ ดู ฟัง รับรส ได้กลิ่น สัมผัส ธัมมารมได้ ได้ ตลอด
    เพียงแต่ว่า มันเป็นของละเอียดเข้าไปอีก ไม่ใช่ของหยาบแบบรูปกาย ที่มีลูกกะตา



    แมวตัวเดียว ท่องเที่ยวไป
    กำมือซ้าย แบมือขวา
    กำมือขวา แบมือซ้าย
    ย้ายไปกะย้ายมา
    1391055807-1391020570-o.gif
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2020
  7. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
    การฝึก กายในกาย จะเน้น มีสติ ฝึกจิตแยกรูป-นาม
    การฝึก เวทนาในเวทนา จะเน้น
    มีสติระลึกรู้ ฝึกจิตแยกเวทนาเกิด-ดับ
    การฝึก จิตในจิต จะเน้น
    มีจิตผู้รู้ ฝึกจิตแยกดี-เลว
    การฝึก ธรรมในธรรม จะเน้น
    มีจิตผู้ดู ฝึกจิตแยกอยาก-ไม่อยาก

    การฝึกสี่อย่างมีวิธีการฝึกคนละอย่าง แยกฝึกกันอย่างชัดเจน
    แต่จะฝึกอันไหนก็สามารถบรรลุธรรมได้เหมือนกัน
    ถ้ามีคนสอนที่ดี
    และ มีลูกศิษย์ที่ดีเสมอกัน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2020
  8. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    ชื่อ ก้บอกอยู่แล้ว ว่า

    มหาสติปัฏฐาน มีฐานทั้งสี่ คือ กาย เวทนา จิต ธรรม
    ทั้งสี่ฐาน เป็นเครื่องมือ ฝึกจิต ให้จิตมีสติ ล้วนๆ

    จะฐานไหนก้ได้ รวมได้ 21 บรรพะ
    หรือ 21 วิธี ในการ สร้างสติ ให้เป็น มหาสติปัฏฐาน

    นะครัชเจ้านาย
     
  9. KeeMaoAu

    KeeMaoAu สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2020
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +22
    อ่านในสติปัฐฐาน4ให้เห็นเป็น
    อนัตตาทั้งหมด
    เมื่อพิจารณาร่วมลง
    อนัตตาแล้วต้องพิจารณา
    ธรรมในธรรมอีกหรือไม่
    1. กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่ากายเป็นแค่ที่รวมของธาตุ 4 ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟมาประชุมรวมกันเป็นร่างกาย ไม่มองกายด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองแยกเป็น รูปธรรมหนึ่งๆ อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่ากายล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา
    2. เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน -การมีสติไม่ลืมว่าเวทนา, ทั้งสุข ทุกข์ อุเบกขา มีและไม่มีอามิส, ล้วนเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง ไม่มองกายด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองแยกเป็นแค่นามธรรมที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าเวทนาล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา
    3. จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่าจิตมีเหตุใกล้คือเจตสิกมากมายเป็นปัจจัยให้เกิดอยู่ ไม่มองจิตด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา คือไม่มองว่าเรากำลังคิด เรากำลังโกรธ หรือเรากำลังเหม่อลอย แต่มองแยกเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง ที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าจิตล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา
    4. ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน - การมีสติไม่ลืมว่าโลกิยธรรมทั้งปวงเกิดจากเหตุปัจจัยมากมาย ไม่มองด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองเป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่อาศัยเหตุปัจจัยมากมายเกิดขึ้นเป็นวงจรปฏิจจสมุปบาทก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่าธรรมที่เกิดจากเหตุปัจจัยล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา
     
  10. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  11. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  12. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  13. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
     
  14. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  15. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  16. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  17. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  18. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  19. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014
  20. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,606
    ค่าพลัง:
    +3,014

แชร์หน้านี้

Loading...