คําสวดทําวัตร เช้า-เย็น

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย nondanun, 13 กันยายน 2007.

  1. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">คำสวดทำวัตรเช้า </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี
    เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า
    โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
    สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
    อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
    สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
    ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
    อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
    อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (แต่ถ้าแบบธรรมยุตพระเถระจะเริ่มจากที่นี่)
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สังฆัง นะมามิ (กราบ)

    (เฉพาะแบบธรรมยุต-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ)

    ปุพพภาคนมการ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส)
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
    พุทธาภิถุติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส)
    โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
    พุทโธ ภะคะวา โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง
    สะพรหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง
    สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง
    มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง
    ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ
    ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ (กราบ)
    ธัมมาภิถุติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส)
    โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
    ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ (กราบ)
    สังฆาภิถุติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส)
    โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
    ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ
    ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ (กราบ แล้วนั่งราบ)
    รตนัตตยัปปณามคาถา
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐัญจะ ภะณามะ เส)
    พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว
    โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
    โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก
    วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
    ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน โย
    มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
    โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน
    วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
    สังโฆ สุเขตาภยะติเขตตะสัญญิโต
    โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก
    โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส
    วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
    อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง
    วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง
    มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา
    สังเวคปริกิตตนปาฐะ
    อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    ธัมโม จะ เทสีโต นิยยานิโก
    อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต
    มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ
    ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง
    โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา
    อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
    ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
    สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา
    เสยยะถีทัง
    รูปูปาทานักขันโธ เวทะนูปาทานักขันโธ
    สัญญูปาทานักขันโธ สังขารูปาทานักขันโธ วิญญาณูปาทานักขันโธ
    เยสังปะริญญายะ ธะระมาโน โส ภะคะวา
    เอวัง พะหุลัง สาวเก วิเนติ
    เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ
    อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ
    รูปัง อะนิจจัง เวทะนา อะนิจจา สัญญา อะนิจจา
    สังขารา อะนิจจา วิญญาณัง อะนิจจา
    รูปัง อะนัตตา เวทะนา อะนัตตา สัญญา อะนัตตา
    สังขารา อะนัตตา วิญญาณัง อะนัตตา
    สัพเพ สังขารา อะนิจจา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ
    เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ
    โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ
    ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ
    ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ
    จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง
    ภะคะวันตัง สะระณังคะตา
    ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ
    ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง
    มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ
    สา สา โน ปะฏิปัตติ
    อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ

    *จบทำวัตรเช้า แต่อาจต่อด้วยคาถากรวดน้ำตอนเช้าดังนี้ (มีข้อสังเกตุว่ามีหลายสำนวนด้วยกันและจะไม่เหมือนกัน)

    สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน้ำระลึกพระคุณ)
    (ผู้นำสวดเริ่มว่า หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
    ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม
    เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกะ
    เย ปิยา คุณะวันตา จะ มัยหัง มาตาปิตาทะโย
    ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐิ วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน
    สัตตา ติฏฐันติ โลกัสมิง เต ภุมมา จะตุโยนิกา
    ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว
    ญาตัง เย ปัตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง
    เย จิมัง นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง
    มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะ เหตุนา
    สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน
    เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา
    (จบแล้วกล่าวเพิ่มว่า)
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ)
    มาตาปิตุอุปัฏฐานัง อะหัง วันทามิ (กราบ)
    คะรุอุปัชฌายะอาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ (กราบ)

    จบทำวัตรเช้าบริบูรณ์
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%"> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">คำสวด หรือบทสวดทำวัตรเช้า </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">คำสวดทำวัตรเย็น </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี
    เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สังฆัง นะมามิ (กราบ)

    (เฉพาะแบบธรรมยุติ-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ)

    ปุพพภาคนมการ
    (แบบธรรมยุตผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อภิคายิตุง ปุพพะภาคะ นะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส)
    (แบบมหานิกายผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส)
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
    อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่า ๓ จบแล้วกราบ 3 ครั้ง)
    พุทธานุสสติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
    ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง
    เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
    พุทธาภิคีติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส)
    พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต
    สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต
    โพเธสิ โย สุชะนะตังกะมะลังวะ สูโร
    วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง
    พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
    ปะฐะมานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
    พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร
    พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
    พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
    วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน
    พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยังปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
    สัพเพปิ อันตะระยา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
    (กราบหนึ่งครั้ง)
    กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา วา
    พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายัง
    พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะ ยันตัง
    กาลันตะเร สังวะริตุง วะพุทเธ

    ธัมมานุสสติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ
    ธัมมาภิคีติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส)
    สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย
    โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท
    ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี
    วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง
    ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
    ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
    ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร
    ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
    ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
    วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
    ธัมมัง เมวันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
    สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
    ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
    ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
    กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม
    สังฆานุสสติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อายุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ
    สังฆาภิคีติ
    (ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส)
    สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต
    โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ
    สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต
    วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง
    สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
    ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
    สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร
    สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
    สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
    วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
    สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
    สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
    กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา
    สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง
    สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
    กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ
    จบทำวัตรเย็น
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%"> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">คำสวด หรือบทสวดทำวัตรเย็น </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">บทกรวดน้ำ </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">เมื่อเสร็จพิธีทำบุญและพระสงฆ์กล่าวรับแล้วให้กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้กับเจ้ากรรมนายเวรของเราโดยว่าดังนี้
    ข้าพเจ้าขออุทิศบุญกุศลจากการเจริญภาวนานี้ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายของข้าพเจ้า ที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินท่านไว้ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ท่านจะอยู่ภพใดหรือภูมิใดก็ตาม ขอให้ท่านได้รับผลบุญนี้ แล้วโปรดอโหสิกรรม และอนุโมทนายบุญแก่ข้าพเจ้าด้วยอำนาจบุญนี้ด้วยเทอญ
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%"> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%">เป็นบทกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา http://www.mahamodo.com/modo/dhama_bud/kata_main.aspx
     
  2. chanin

    chanin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2005
    โพสต์:
    675
    ค่าพลัง:
    +1,331
  3. อาหลี_99

    อาหลี_99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    744
    ค่าพลัง:
    +2,992
    พี่ครับ บทสวดทำวัตรนี้ คนที่ไม่ได้เป็นพระสวดได้ไม่ครับ
     
  4. pbeer

    pbeer สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +4
    ขอบคุณครับ

    ขออนุญาตนำบทสวดนี้ไปเผยแผ่นะครับ พอดีกะลังหาบทสวดหลายๆบทมารวบรวมทำเป็นหนังสือสวดมนต์ แจกจ่ายให้ผู้สนใจในธรรมมะและการสวดมนต์นะครับ เพื่อเป็นการขอบคุณ ขออนุโมทนาสาธุ และอวยพรให้คุณ และทุกท่านที่ใจบุญ มีอายุยืนยาว พบเจอแต่สิ่งดีๆ ขอคุณพระศรีรัตนตรัยจงคุ้มครอง และประสบความสำเร็จในทุกๆด้านด้วยนะครับ :cool:
     
  5. Jeerachai_BK

    Jeerachai_BK เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +821
    พุทธศาสนิกชนทั่วไปสวดทำวัตรเช้าและเย็นได้ครับ เวลาไปวัด เราก็สวดพร้อมกับพระท่าน เฉพาะที่อยู่นอกวงเล็บนะครับ หากกังวล ก็เปิดไฟล์สวดทำวัตรเช้า/เย็น ก็น่าจะดีนะครับ ^_^

    ปล. บททำวัตรเช้า/เย็นของฝ่ายธรรมยุตและมหายาน อาจแตกต่างกันเล็กน้อยครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 พฤศจิกายน 2009
  6. ศิญา

    ศิญา สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    6
    ค่าพลัง:
    +10
    ตอนนี้เข้าพรรษา ถือศีล 5 ทำวัตรเช้า - เย็น นุ่งขาวห่มขาวที่บ้าน
    อยากทราบว่า ถ้าหมดพรรษาเราจะมีคำกล่าวอย่างไรค่ะ เพราะกล่าวตามหนังสือ
    เป็นอุบาสิกา ไว้ค่ะ รบกวนนิดนะค่ะ ขอบคุณค่ะ
     
  7. pagorn

    pagorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +2,848
    เราเป็นฆราวาสสวดได้ค่ะ แต่ถ้าสวดแล้วรู้ความหมายด้วยยิ่งดีใหญ่
    แค่คิดจิตก็เป็นกุศลแล้วถ้าปฏิบัติตาม บททำวัตรอาจจะแตกต่างกันบ้างเป็นบางคำเพราะศาสนาเรามีทั้ง นิกายและธรรมยุต แต่คำแปลไม่ได้แตกต่างกันเลย..
    อนุโมทนาค่ะ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • _1_~2.JPG
      _1_~2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      25.2 KB
      เปิดดู:
      950
  8. pagorn

    pagorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +2,848
    อนุโมทนาค่ะ
    ..............สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา
    ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ
    ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ

    ..............ทุติยัมปิ ภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ
    วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปทายะ
    ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ

    ..............ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ
    วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ
    ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ

    จริงๆ แล้วศีล ๕ อยู่ที่ใจเราต้องปฏิบัติตามด้วยบางครั้งไม่จำเป็นที่จะต้องสมาทานศีลเพราะถึงเราสมาทานแล้วเราปฏิบัติไม่ได้ก็ไม่เป็นผลค่ะ เรื่องอานิสงส์การถือศีลอยากให้ไปดูเวปหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง หลวงพ่อสอนไว้ดีมากๆ สนุกด้วยค่ะสำหรับคนที่เคร่งศีล ๘ สาธุ.



     

แชร์หน้านี้

Loading...