ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.

  1. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,920
    ค่าพลัง:
    +6,434
    pj ย่อมาจาก พิกกะจู้ (อิอิ) ชื่อตัวการ์ตูนตัวหนึ่ง เป็นชื่อที่น่ารักดีค่ะ เหมาะสมกับท่านพี่เหมือนกันนะ

    รับทราบการเปลื่ยนอีเมลล์แอดเดรทค่ะท่านพี่
     
  2. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,920
    ค่าพลัง:
    +6,434
    พอสนใจพระปรางค์วัดราชบูรณะก็ไปเจอกระทู้ในพันทิพย์พูดถึงหนังสือเก่าเล่มหนึ่ง มีรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องทองในกรุวัดราชบูรณะด้วยค่ะ



    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#69b5c5><TBODY><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=703 bgColor=#69b5c5><TBODY><TR><TD vAlign=top></TD><TD vAlign=top width=683><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#69b5c5><!---- Start Topic --><TBODY><TR bgColor=#ceab82><TD colSpan=2>
    หนังสือ กรุมหาสมบัติวัดราชบูรณะ พ.ศ. 2499
    (5/5/2554 12:26:29)


    </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD colSpan=2>วันนี้วันหยุดเลยหยิบหนังสือเล่มหนึ่งออกมาถ่าย
    รูป เพื่อเราๆท่านๆจะได้เห็น โบราณสมบัติวัดราช
    บูรณะ อยุทธยา ว่ามีมากมายเพียงใด หนังสือเล่ม
    นี้เดิมทีเป็น หนังสือแจกในงานศพ แต่เนื่องจาก
    ไม่อยากให้กระทบกับชื่อเสียงเรียงนามของผู้วาย
    ชมณ์ เลยขออนุญาติตกแต่ข้อความบนปกหนังสือ
    ให้เหลือแต่หัวข้อเท่านั้นครับ




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable vAlign=top colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>webmaster, อีเมลล์: (5/5/2554 12:26:29)</TD><TD vAlign=top align=right>[​IMG] แจ้งลบ




    </TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 1[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>วัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ตำบลท่า
    วาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระ
    นครศรีอยุธยา บริเวณเชิงสะพานป่าถ่าน ติดกับวัด
    มหาธาตุทางบริเวณทิศตะวันออก ห่างจาก
    พระราชวังโบราณ เพียงเล็กน้อย จัดเป็นหนึ่งใน
    วัดที่ใหญ่และมีความเก่าแก่มากที่สุดในพระ
    นครศรีอยุธยา สร้างโดยสมเด็จพระบรมราชาธิราช
    ที่ 2 หรือเจ้าสามพระยา ในปี พ.ศ. 1967




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:29:42)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 2[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>วัดราชบูรณะมีชื่อเสียงและความโด่งดังมากใน
    เรื่องการถูกกลุ่มคนร้ายจำนวนหนึ่ง ลักลอบขุดกรุ
    ภายในพระปรางค์ประธาน ในปี พ.ศ. 2499 และ
    ช่วงชิงทรัพย์สมบัติจำนวนมากมายมหาศาลหลบ
    หนีไป ต่อมากรมศิลปากรเข้าทำการบูรณะขุดแต่ง
    ต่อภายหลัง พบทรัพย์สมบัติที่หลงเหลือและเครื่อง
    ทองจำนวนมากมาย ปัจจุบันทรัพย์สมบัติภายในกรุ
    ถูกเก็บรักษาไว้ที่ห้องราชบูรณะ ภายใน
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:30:07)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 3[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>การค้นพบกรุเมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นข่าวโด่งดังไป
    ทั่วประเทศ ปีถัดมาทำให้มีขโมยกลุ่มใหญ่ลักลอบ
    มาขุดกรุวัดราชบูรณะ พบเครื่องทองและอัญมณี
    จำนวนมหาศาล แต่ทว่าฝนตกหนักและรับเร่ง
    กลุ่มขโมยจึงขนของไปไม่หมด เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้
    เวลาไม่กี่วันก็จับและยึดของกลางได้บางส่วน

    หลังจากนั้นกรมศิลปากรได้เข้ามาขุด ปรากฏว่าพบ
    สิ่งของกว่า 2000 รายการ พระพิมพ์กว่า แสนองค์
    ทองคำกว่ากว่า 100 กิโลกรัม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่
    ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา





    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:31:40)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 4[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ข้อมูลเบื้องต้น จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:32:26)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 5[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:40:23)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 6[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:40:36)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 7[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:40:51)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 8[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:41:06)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 9[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:41:25)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 10[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:41:39)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 11[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:41:52)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 12[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:42:04)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 13[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:42:18)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 14[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:42:31)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 15[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:42:44)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 16[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:42:56)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 17[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:43:08)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 18[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:43:19)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 19[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:43:50)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 20[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#69b5c5><TBODY><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี




    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    มีพระชฏาสอดสีตามสีฉลองพระองค์เพื่อเสด็จไปพระราชทานเพลิงศพที่วัดไชยวัฒนารามด้วย เช่นนั้นเครื่องทองในพระปรางค์อาจจะเป็นของพระองค์อื่นๆในสมัยที่สร้างวัดไชยวัฒนารามไปแล้วก็มีความเป็นไปได้ค่ะ

    .
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 พฤษภาคม 2011
  3. น้องจุ๊บ

    น้องจุ๊บ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    603
    ค่าพลัง:
    +1,303
    เข้ามาดูเรื่อยๆค่ะ ขอบคุณมากนะคะ คุณพี่ทางสายธาตุ
     
  4. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,920
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ขอบคุณที่ติดตามอ่านค่ะ น้องจุ๊บ

    เป็นเรื่องที่พี่ทางฯเองก็งงๆ เหมือนเป็นตัวเราเองคิดว่าอยากจะเขียนเรื่องนั้นเรื่องนี้ แต่พอไปเจออะไรๆโดยบังเอิญ เนื้อหาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจจะเขียน ก็จะมีข้อมูลแปลกๆให้เกิดสนใจ ผ่านการหาโดยกูเกิ้ล

    (เหมือนตอนหาวัดสักวัดหนึ่งเพื่อจะไปทำสังฆทาน ขอเป็นวัดริมน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก อยู่ๆเวปท่องเที่ยววัดชุมพลก็โผล่ที่หน้าจอ ก็เลยกำหนดจิตอธิษฐานว่าจะให้ไปทำที่วัดนี้ใช่ไหม แม่ผ่อง แม่ผ่องคือวิญญาณที่เห็นในจิตคราวไปถืออุโบสถศีลที่วัดวรเชษฐ์ วันมาฆบูชา ปี 2552 จึงไปทำสังฆทานครั้งแรกที่วัดชุมพล และได้เห็นอุโบสถเป็นครั้งแรก ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2552 ครั้งนั้นใช้กูเกิ้ลหา "วัดริมน้ำเจ้าพระยา" พอได้ผลการค้นหาเป็นวัดชุมพลเป็นบรรทัดแรก ก็แปลกอีก เหมือนมีการคลิ๊กค้างไว้หนึ่งคลิ๊ก ทำให้เปิดเข้าไปดูเวปรูปภาพวัดชุมพล พอเห็นว่าอุโบสถของวัดนี้มีการเขียนลวดลายประตูด้านในเป็นศิลปะภาพวาดจีนและเสาก็เป็นภาพจีน ตะลึงงันไปชั่วขณะ จนต้องไปเห็นด้วยตาตนเองในที่สุดค่ะ)

    บางทีก็เลยคิดว่าคงไม่ใช่ตัวเราแล้วหล่ะที่เจอข้อมูลด้วยตนเอง บางสิ่งบางอย่างที่ไม่อาจบอกได้ว่าคืออะไร ท่านคงจะคอยส่งข้อมูลให้อยู่เรื่อยๆค่ะ เพราะพี่ทางฯเป็นคนเชื่ออะไรๆยาก ถ้าไม่มีหลักฐาน หรือถ้าไม่เห็นกับตา หรือถ้าเหตุผลไม่เพียงพอที่จะสนับสนุนความเชื่อนั้นๆ ก็จะลืมเรื่องนั้นไปเลย ถือว่ายังเชื่อถือไม่ได้ เป็นคนเชื่อยากนี่ลำบากอยู่เหมือนกันค่ะ เรื่องเล่าบางเรื่องที่เคยอ่านมา อ่านแล้วก็นำมาคิดโดยเอาปี พ.ศ. ในประวัติศาสตร์ขึ้นมาคำนวณ เอาเหตุการณ์ที่เกี่ยวพันมาเทียบ อ่านแล้วเหตุการณ์ขัดแย้งกันเองในการเล่านั้นๆ ก็ข้ามไปไม่ตามเรื่องนั้นต่อเพราะขาดความน่าเชื่อถือก็มี

    ทั้งนั้นทั้งนี้พี่ทางฯก็ยังคงต้องใช้หลักกาลามสูตรในทุกเรื่องราวทั้งที่พบเจอเองหรือที่ฟังเขาเล่าว่ามาอยู่เรื่อยๆค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 พฤษภาคม 2011
  5. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,920
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" bgColor=#69b5c5><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>ความคิดเห็นที่ 22[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:44:30)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 23[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:44:43)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 24[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:44:57)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 25[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:45:13)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 26[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:45:25)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 27[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:45:37)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 28[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:46:00)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 29[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:46:12)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 30[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:46:35)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 31[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:46:52)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 32[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:47:21)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 33[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:47:35)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 34[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:48:09)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 35[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:48:21)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 36[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:48:38)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 37[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:48:57)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 38[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:49:09)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 39[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:49:23)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 40[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:49:35)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 41[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพและเนื้อหาข้อความจากหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี
    2503 หลังจากกรุแตก4ปี

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:49:50)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 42[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>สิ้นสุดภาพและเนื้อหาและข้อความภายในเล่ม ส่วน
    ภาพอื่นที่ยังมีจะนำมาเพิ่มเติมในภายหลังครับ
    ขอบคุณครับ

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (5/5/2554 12:51:01)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 43[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพเดรื่องทองในกรุ (นำภาพมาประกอบเพื่อการ
    ศึกษา)

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (10/5/2554 21:33:24)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 44[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพเดรื่องทองในกรุ (นำภาพมาประกอบเพื่อการ
    ศึกษา)

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (10/5/2554 21:33:41)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 45[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพเดรื่องทองในกรุ (นำภาพมาประกอบเพื่อการ
    ศึกษา)

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (10/5/2554 21:34:13)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 align=right>[​IMG] กลับด้านบน</TD></TR><!---- Start Answer --><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]ความคิดเห็นที่ 46[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>ภาพเดรื่องทองในกรุ (นำภาพมาประกอบเพื่อการ
    ศึกษา)

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จาก คุณwebmaster (10/5/2554 21:34:36)</TD></TR><TR><TD class=bar_Bot_LastTable colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ใกล้จะถึงวันวิสาขะบูชา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 17 พ.ค.54 ขอเสนอบทธรรมะ อิทธิบาท ๔ ที่เป็นองค์ธรรมแห่งความสำเร็จ.....

    ความในพระสูตร “ข้าพเจ้าได้สดับมาดังนี้ … ดูกรอานน ผู้หนึ่งผู้ใดเจริญอิทธิบาทสี่ ทำให้มาก ทำให้เป็นประหนึ่งยาน ทำให้เป็นประหนึ่งวัตถุที่ตั้งไว้เนือง ๆ อบรมไว้ ปรารภด้วยดีโดยชอบแล้ว ผู้นั้นเมื่อปรารถนาก็พึงดำรงชีวิตได้ตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป”


    อิทธิบาทสี่คืออะไร?
    อิทธิบาทสี่เป็นวิหารธรรมชนิดหนึ่ง คือเป็นที่ตั้ง ที่อาศัยของจิต เนื่องจากร่างกายต้องมีอาคารเป็นที่พักที่อาศัย หลบร้อนหลบหนาวให้ปลอดภัยจากอันตราย จิตก็มีอาคารเป็นที่พักอาศัย คือวิหารธรรม หากไม่มีวิหารธรรมจิตก็จะเปลี่ยวเปล่าล่อนจ้อนร้อนรุ่มและเป็นอันตรายได้โดยง่าย วิหารธรรมใดจิตเข้าไปตั้งไปอาศัยก็ได้ชื่อว่าจิตสถิตในวิหารธรรมนั้น เช่น พรหมวิหาร อานาปานสติวิหาร อิทธิบาทวิหาร อริยวิหาร ตถาคตวิหาร เป็นต้น อริยวิหารและตถาคตวิหารนั้นเป็นวิหารธรรมขั้นสูง ตั้งแต่การบรรลุถึงอรูปฌานจนถึงภูมิพระอรหันต์ ส่วนพรหมวิหาร อานาปานสติวิหาร อิทธิบาทวิหารเป็นวิหารธรรมที่คนธรรมดาทั่วไปเข้าถึงได้ และเมื่อเจริญธรรมเหล่านั้นแล้วก็สามารถตั้งจิตไว้ในวิหารธรรมเหล่านั้นได้ และสามารถยกระดับที่สูงขึ้นไปได้ ดังที่พระตถาคตเจ้าทรงตรัสว่าพระองค์มีปกติอยู่ในอานาปานสติวิหาร

    อิทธิบาทสี่เป็นองค์ธรรมแห่งความสำเร็จ ประกอบด้วยฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา ความสำเร็จทั้งปวงไม่ว่าในทางโลกหรือทางธรรมจักสำเร็จได้ด้วยอิทธิบาททั้งนั้น หากขาดอิทธิบาทแล้วก็ยากที่จะประสพความสำเร็จ การฝึกฝนอบรมจิตและการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาพระตถาคตเจ้าจึงทรงเน้น ทรงย้ำเป็นอันมากว่าต้องอาศัยอิทธิบาท

    อิทธิบาทเป็นรากฐานหรือบาทฐานของอิทธิปาฏิหาริย์ นั่นคือการกระทำความสำเร็จอย่างอัศจรรย์ต้องอาศัยอิทธิบาท เหตุนี้อิทธิบาทธรรมสี่ประการคือฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา จึงได้ชื่อว่าอิทธิบาท ซึ่งแปลตรงตัวได้ว่าเท้าหรือรากฐานของการกระทำความสำเร็จที่อัศจรรย์ ถ้าไม่มีเท้าก็เดินไม่ได้ฉันใด ไม่มีอิทธิบาทก็กระทำอิทธิปาฏิหาริย์ไม่ได้ฉันนั้น

    เพราะการกระทำอิทธิปาฏิหาริย์นั้นต้องอาศัยกำลังสี่อย่าง คือ กำลังสมาธิ กำลังฌาน กำลังอิทธิบาท และกำลังอธิษฐาน กำลังทั้งหมดนี้กำลังอิทธิบาทก็คือกำลังเท้าหรือรากฐานของการทำความสำเร็จที่อัศจรรย์นั่นเอง

    ในอดีตกาลโพ้น การมีอายุตลอดกัปเป็นเรื่องปกติ เป็นเรื่องธรรมดา ดังที่พระตถาคตเจ้าทรงตรัสไว้ในหลายที่ว่าในกัปก่อน ๆ อายุมนุษย์เกินกว่าหมื่นปีก็มี และค่อยๆลดลงโดยลำดับ เพราะมนุษย์ทำเหตุปัจจัยให้อายุลดลงเอง และทรงตรัสว่าในปัจจุบันกัปนี้มนุษย์มีอายุแค่ ๑๐๐ ปี มากน้อยไปกว่านี้ก็ไม่มาก แต่ความหมายของคำว่ากัปในปัจจุบันกัปคือ ๑๒๐ ปี ดังนั้นจึงทรงแสดงไว้ในมหาปรินิพพานสูตรว่าผู้ที่เจริญอิทธิบาทสี่สามารถปรารถนาให้มีอายุตลอดกัปหรือกว่ากัปได้ คือ มีอายุถึง ๑๒๐ ปีหรือเกินกว่า ๑๒๐ ปีได้

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้มีพระคุณอันประเสริฐ ทรงเลิศในธรรม ทรงแจ้งในคำตรัสสอนของพระบรมศาสดาในประการนี้อย่างดีเป็นแน่ ดังที่ทรงตรัสในกาลมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษาปีหนึ่งว่าพระองค์จะมีพระชนมายุ ๑๒๐ ปี....


    แหล่งที่มา:วิธีเจริญอายุ 120 ปี ด้วยอิทธิบาทสี่ - วิธีเจริญอายุด้วยอิทธิบาท
     
  7. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดังที่ได้เกริ่นนำไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่า วันที่ ๑๗ พ.ค.๕๔ นี้ตรงกับวันวิสาขบูชา

    วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่เราๆท่านรู้ดีกันว่า เป็นวันเพ็ญเดือนหก ที่ตรงกับวัน

    ประสูติ วันตรัสรู้ และวันปรินิพพาน ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    โอกาสนี้ คุณสิริอัญญา จะได้มาสาธยายเกี่ยวกับ วิสาขปูรณมีบูชา ขอเชิญติด

    ตาม....


    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้ชี้ทางนิรทุกข์แก่ชาวโลก ผองเราพึงเดินไปตามทางที่พระองค์ทรงชี้ไว้ ก็จะถึงฝั่งอันสวัสดี

    พระพุทธดำรัสให้พระสาวกออกประกาศศาสนา เป็นไปเพื่ออนุเคราะห์และเพื่อประโยชน์สุขของชนหมู่มากในโลก

    ทรงรับสั่งกับพระอรหันตสาวก ๖๐ รูปแรกในการออกไปประกาศพระศาสนาว่า เธอทั้งหลายจงจาริกไปแต่องค์เดียว ประกาศพรหมจรรย์ในธรรมวินัยนี้ให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์ ถึงพร้อมด้วยอรรถะและพยัญชนะ ให้งดงามในเบื้องต้น ในท่ามกลาง และในที่สุด เพื่ออนุเคราะห์ เพื่อประโยชน์และความสุขของชนหมู่มากในโลก

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ประกาศพระธรรมแล้วมีพระสงฆ์สาวกปฏิบัติตามพระธรรมนั้น เป็นธรรมเพื่อยังเหล่าสัตว์ให้ถึงความบริสุทธิ์ หลุดพ้นจากพันธนาการทั้งหลายทั้งปวง และทำพระนิพพานให้แจ้ง

    ตลอดระยะเวลา ๔๕ ปีแห่งโพธิกาลในพระผู้พระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงตรัสสอนเวไนยสัตว์ทั้งหลายเป็นอันมาก ทรงตรัสสอนในเรื่องเหล่านี้ ทรงสอนว่า

    เมตตาอันไม่มีประมาณ แผ่ไปแล้วมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ยังศานติให้บังเกิดได้ พระอริยะเจ้าสรรเสริญความไม่เบียดเบียนกันว่าเป็นต้นทางแห่งสันติ

    ผู้เห็นแก่ตัวเป็นคนสกปรก โอกาส บุญ ลาภ ย่อมหลีกลี้คนสกปรกนั้น

    ผู้ยอมเสียเปรียบย่อมเจริญด้วย มิตร โอกาส ทรัพย์ เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ปราศจากศัตรูในที่ทั้งปวง

    ผู้พยาบาท ผูกเวร ย่อมก่อบาป มีฑัณฑ์ ทรมาณ อาวุธ ยาพิษ มรณะและนรกเป็นดอกผล ทั้งแก่ตน แลบริวาร จึงพึงวางกะทะอันร้อนนั้นลงจากศีรษะเถิด

    น้ำจากแม่น้ำลำคลองหนองบึงบาง แม้น้ำฝนที่ไหลมาจากทั่วสารทิศนั้น เมื่อมาถึงพระสมุทรแล้ว ย่อมทิ้งสิ่งปฏิกูล รูป รส กลิ่น สี และกลายเป็นน้ำทะเลที่มีความเค็มเป็นอย่างเดียวกันฉันใด

    [​IMG]

    ชนทั้งหลายที่มีความแตกต่างทางชนชั้น ชาติ วุฒิ วัย ฐานะอาชีพและความคิด เมื่อเข้ามาประพฤติพรหมจรรย์ในธรรมวินัยของพระตถาคตแล้วย่อมละทิ้งสิ่งปฏิกูล และเครื่องพันธนาการอันติดตัวมาแต่ดั้งเดิม กลายเป็นสมณะศากยบุตรฉันนั้น

    ไม่ว่าจะเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูตร ไม่ว่าหนุ่มหรือแก่ ไม่ว่ายากจนหรือร่ำรวย เมื่อทำกรรมอันใดย่อมรับผลแห่งกรรมอันนั้น สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นวิบาก ทำกรรมอันใดไว้ย่อมได้รับผลแห่งกรรมนั้น ทำกรรมดีย่อมได้รับผลดี ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว

    สัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ไม่มีเลยที่จะล่วงพ้นความแก่ ความเจ็บ และความตายไปได้ ความตายเป็นของแน่นอนแก่ทุกชีวิต และความตายนั้นก็เป็นสิ่งแน่นอนสำหรับเราด้วย ย่อมมาถึงตัวเราสักวันหนึ่ง จึงตั้งอยู่ในความประมาทไม่ได้เลย แม้ชั่วเจ็ดปี เจ็ดเดือน เจ็ดวัน เจ็ดชั่วโมง หรือแค่ชั่วเวลาตักข้าวเข้าปาก ความตายก็อาจมาเยือนได้ทุกเมื่อ จึงยังการทั้งปวงให้บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาท

    ผู้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาทย่อมอยู่นอกครรลองสายตาของมัจจุราช ผู้ตั้งอยู่ในความประมาท ย่อมอยู่ในทางแห่งความตาย

    ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักเป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งที่ไม่รักเป็นทุกข์ ความซึมเศร้าเหี่ยวแห้งเหงาใจเป็นทุกข์

    เวไนยสัตว์เมื่อยู่ในทะเลแห่งความทุกข์ ย่อมแลเห็นความทุกข์อย่างนี้แล้ว พึงใคร่ครวญว่าทำไฉนเราจักข้ามห้วงมหรรณพแห่งความทุกข์ถึงฝั่งนิรทุกข์ได้เล่า

    พระตถาคตเจ้าอุบัติแล้วในโลก ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองเป็นพระอรหันต์ ทรงเป็นผู้แจ้งโลก เป็นครูฝึกของเทวดาและมนุษย์อย่างยอดของโลก ทรงเป็นรัตนะอันประเสริฐ ที่ยังความสว่างไสวและคุ้มครองป้องกันสรรพทุกข์ สรรพภัยทั้งหลายอันหาประมาณมิได้ในโลก แม้แค่เปล่งความสัตย์อย่างนี้ ก็มีอานุภาพมาก

    พระตถาคตแสดงธรรมเป็นเครื่องนำเวไนยสัตว์ออกจากทุกข์ ประหนึ่งนาวาที่จะพาพวกเราฝ่าห้วงมหรรณพไปถึงฝั่ง แต่เราทั้งหลายต้องใช้ความเพียร อาศัยเรือนั้นเป็นสรณะและเดินทางด้วยตัวเราเอง ก็จะถึงฝั่งอันนิรทุกข์ได้ ....
     
  8. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    พระตถาคตเจ้าทรงแสดงธรรมเป็นอันมากว่าทุกข์เป็นไฉน ทุกข์เกิดจากเหตุอย่างไร ความพ้นจากทุกข์เป็นอย่างไร และวิธีการพ้นจากทุกข์เป็นอย่างไร นี่คืออริยะสัจสี่ ซึ่งพระตถาคตเจ้าได้ตรัสรู้ที่ใต้ร่มโพธิ์ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา เมื่อ ๔๕ ปีก่อนของ พ.ศ.ที่ ๑

    [​IMG]


    ทรงแสดงธรรมเป็นอันมากว่าขันธ์ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือสรุปรวมเหลือแค่ ๒ อย่างคือรูปกับนาม นี่แหละเป็นที่ตั้งของตัวทุกข์

    เหตุแห่งทุกข์ ความดับสนิทแห่งทุกข์ และการทำความทุกข์ให้ถึงที่สุดดับไม่เหลือ จึงต้องทำกันที่ขันธ์ ๕ นี้ ดับขันธ์ ๕ นี้ได้ทุกข์ก็ดับได้ เพราะสิ่งทั้งหลายย่อมเกิดจากเหตุ เมื่อดับต้นเหตุแล้วผลของเหตุอันนั้นย่อมดับด้วย ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์จึงต้องดับที่เหตุแห่งทุกข์ นั่นคือกิเลส ตัณหา คือความอยากมี อยากได้ อยากเป็น ความไม่อยากมี ไม่อยากได้ ไม่อยากเป็น และความปล่อยใจไปตามอำเภอใจ ทั้งอยากและไม่อยากมี หรือเป็น หรือได้ อันประดุจดังสวะที่ลอยไปตามน้ำและไหลลงไปในทางต่ำ

    พระตถาคตนอกจากทรงสอนโมกษธรรม เพื่อความดับทุกข์ของเวไนยสัตว์ทั้งหลายแล้ว พระองค์ทรงสอนเรื่องการดำรงชีวิต การใช้ชีวิต และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติเป็นอันมากด้วย

    พระผู้มีพระภาคเจ้านับแต่ตรัสรู้แล้ว มิได้ทรงเก็บอริยทรัพย์นั้นไว้แต่พระองค์เดียว ทรงจาริกไปประกาศสิ่งที่ทรงตรัสรู้นั้น ทรงจำแนกแจกแจงให้ชนทั้งหลายได้รับเอาประโยชน์แห่งความตรัสรู้ของพระองค์อันเป็นไปเพื่ออนุเคราะห์ เพื่อประโยชน์และความสุข ของชนหมู่มากในโลก โดยไม่เคยคำนึงถึงความยากลำบากของพระองค์เองเลย เป็นเวลายาวนานถึง ๔๕ ปี ทรงเทศนาโปรดเวไนยสัตว์และเทวดากว่าวันละ ๒๐ ชั่วโมง

    จากมกุฎราชกุมารแห่งราชบัลลังก์ศากยวงศ์ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ที่บริบูรณ์ด้วยยศ ด้วยทรัพย์ และด้วยความสุขอันเลิศของมนุษย์ สู่ความเป็นผู้ภิกขาจารที่มีแต่ผ้า ๓ ผืนปกปิดร่างกายป้องกันความร้อน หนาว ครั้นเวลา ๘๐ ปีล่วงไป พระบรมศาสดาก็ทรงถึงความชราภาพ

    ทรงตรัสกับพระสาวกทั้งหลายว่าตถาคตในบัดนี้แก่ชราแล้ว เหมือนดังเกวียนเก่าคร่ำคร่าที่ถึงกาลผุพังแล้ว กิจทั้งหลายที่พึงทำ ตถาคตได้กระทำจบสิ้นแล้ว

    จึงทรงปลงอายุสังขารว่า สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง มีความเกิดขึ้นแล้ว ย่อมตั้งอยู่ และเสื่อมไปเป็นธรรมดา นับจากนี้ไปอีก ๓ เดือน ตถาคตจักปรินิพพาน

    เพื่อป้องกันการวิวาทและสงครามของเมืองต่างๆ ที่จะแย่งชิงพระบรมศพและพระบรมธาตุ จึงทรงเสด็จไปเมืองกุสินาราซึ่งเป็นเมืองเล็กที่สุด ไม่มีกำลังเพียงพอที่จะต่อกรกับแคว้นใด ๆ ได้ เพื่อเสด็จดับขันธปรินิพพานที่นั่น เพราะเมื่อไม่มีกำลังที่จะต่อสู้กับใครได้แล้ว ก็เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดสงครามได้

    จากเพ็ญเดือน ๓ ถึงวันเพ็ญเดือน ๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมพระสาวกก็เสด็จถึงเมืองกุสินารา แม้เวลาของพระองค์จะเหลือน้อยเต็มที น้อยกว่าเวลาที่พระจันทร์จะโคจรอยู่บนฟ้าในยามราตรี ปานนั้นพระองค์ก็ยังมีพระมหากรุณาแก่เหล่าสัตว์ ทรงโปรดกุลบุตรคนหนึ่งจนบรรลุเป็นพระอรหันต์ ทรงสั่งสอนพระสาวก และพุทธบริษัททุกเวลานาทีที่ยังเหลืออยู่ และทรงแนะวิธีการจัดการพระบรมศพแก่คณะเจ้าผู้ครองแคว้นวัชชี

    ในห้วงเวลาสุดท้ายที่มีอยู่นั้น พระองค์ได้ประทานปัจฉิมโอวาทไว้แก่พุทธบริษัท ๒ เรื่อง คือ

    ๑. เมื่อตถาคตล่วงลับไปแล้ว ธรรมวินัยอันทรงแสดงแล้ว และบัญญัติแล้วแก่เราทั้งหลาย จักเป็นศาสดาแทนพระองค์ จึงไม่มีพระอรหันต์ พระสาวกหรือสงฆ์หมู่ใดที่จะเป็นศาสดาแทนพระองค์ นอกจากพระธรรมวินัยเท่านั้น และ

    ๒. สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง มีความเกิดขึ้นแล้ว ตั้งอยู่และดับไปเป็นธรรมดา ให้เราทั้งหลายยังการทั้งปวงเพื่อประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน ให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด

    จากนั้นก็ทรงประทับนอนแบบสีหไสยาสน์ เข้าสมาธิ เข้าฌาน จากปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ปฏิโลมกลับมาสู่ปฐมฌาน แล้วอนุโลมเป็นลำดับไปสู่จตุตถฌานอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นก็ถอยพระจิตออกจากจตุตถฌาน สู่ตติยฌาน ทุติยฌาน เมื่อถึงปฐมฌานก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน


    [​IMG]


    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ก็ทรงพระคุณอันประเสริฐในพระธรรมวินัยของพระตถาคตเจ้า ทรงดำรงพระสติมั่น ทรงกำกับฝากฝังสั่งราชการจนวาระสุดท้าย แล้วจึงทรงแต่งคำลาสงฆ์เป็นภาษามคธ สั่งให้เจ้าพนักงานนำไปเผดียงสงฆ์ในยามเย็นช่วงทำวัตร แล้วทรงทอดพระองค์ลงในท่าสีหไสยาสน์ เข้าสมาธิ เข้าฌาน เป็นลำดับไป ทรงภาวนาพุทโธ พุทโธ และพระสุรเสียงเบาลงโดยลำดับ เหลือแต่คำว่าโธ และโธ โธ โธ จนมีเสียงดังขึ้นคร่อกหนึ่งก็ทรงเสด็จสวรรคต เห็นได้กระจ่างชัดว่าทรงดำเนินตามรอยพระบาทของพระบรมศาสดา มีความปรากฏตรงกันในจดหมายเหตุการสวรรคตของพระองค์ท่าน

    พระตถาคตเจ้าล่วงลับไปแล้ว ๒๕๕๓ ปีเต็มในวันนี้ แต่พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นยังคงอยู่เป็นอมตะ เพราะพระธรรมวินัยที่ทรงแสดงและทรงบัญญัติไว้ ยังคงอยู่เป็นศาสดาแทนพระองค์ ผู้ใดเห็นธรรมก็เห็นพระองค์ทุกเมื่อ ไม่ว่าในกาลไหน ๆ แม้ในปัจจุบันนี้ก็ตาม

    วันนี้เรากระทำวิสาขบูชาเป็นพุทธบูชากันทั่วทั้งประเทศ ทำบุญ ตักบาตร เวียนเทียน ถือศีลปานนั้นแล้ว ก็ไม่อาจเสมอด้วยการเข้าเฝ้าต่อหน้าพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

    การเข้าเฝ้าฟังพระธรรมเทศนาจากพระโอษฐ์แห่งพระตถาคตก็คือการศึกษา และปฏิบัติตามพระธรรมวินัยที่ทรงแสดงไว้ บัญญัติไว้ แล้วแก่เราทั้งหลายนั้นแล

    ขออานุภาพแห่งการประกาศพระธรรมและพระพุทธจริยาวัตรอันแสดงมานี้จงดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายถึงซึ่งความสวัสดี ปราศจากสรรพทุกข์ สรรพโรค สรรพภัย และเป็นปัจจัยให้ถึงซึ่งพระนิพพานในอนาคตกาลนั้นเทอญ.

    ขอขอบคุณ

    วิสาขปูรณมีบูชา
     
  9. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    สู่เส้นทางการตรัสรู้ (1)

    จากภาวะบุคคลธรรมดาสู่ความเป็นพระอรหันต์ หรือจากภาวะของเจ้าชายสิทธัตถะ สู่ความเป็นพระพุทธเจ้า มีเส้นทางที่ชัดเจนแน่นอนเป็นลำดับ เป็นขั้นเป็นตอน ที่ผู้ใดประพฤติปฏิบัติตามย่อมได้รับผลแห่งการปฏิบัตินั้น คือการไปสู่ที่หมายปลายทางที่พระบรมศาสดาทรงแนะนำสั่งสอน คือความเป็นพระอรหันต์ หรือภาวะที่ดับทุกข์สิ้นเชิง ถึงซึ่งความหลุดพ้นหรือนิพพาน

    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสด้วยพระองค์เองถึงลำดับขั้นตอนต่าง ๆ ดังปรากฏจากบทสนทนาที่ทรงตรัสกับพราหมณ์คนหนึ่งที่มีชื่อว่า เวรัญชพราหมณ์ ลำดับและขั้นตอนต่าง ๆ เหล่านี้เป็นเรื่องที่น่าสนใจ เป็นเรื่องที่ชาวพุทธหรือผู้สนใจในการศึกษาและการปฏิบัติพึงรับรู้และทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้นก่อน

    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ ณ ควงไม้สะเดา เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยพระสงฆ์หมู่ใหญ่ ซึ่งในเมืองนี้มีพราหมณ์ชื่อ เวรัญชพราหมณ์ เป็นผู้ทรงวิทยาคุณ ได้ทราบข่าวการเสด็จมาประทับของพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงเดินทางเข้าไปเฝ้า เพื่อซักถามข้อสงสัยของตน และข้อกล่าวหาต่าง ๆ ที่ตนได้ยินมา หลังจากได้กราบทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้าตามธรรมเนียมแล้วจึงได้นั่งลง แล้วซักถามปัญหาต่าง ๆ ที่ค้างคาใจตน อันเป็นเหตุให้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสความเป็นลำดับ เป็นขั้นตอน เกี่ยวกับเส้นทางการศึกษาปฏิบัติเพื่อถึงซึ่งความเป็นพระอรหันต์หรือความตรัสรู้ ดังนี้

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมมีความปกติไม่ไยดีในสิ่งใด ๆ เป็นความจริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่ง เหตุที่เขากล่าวหาเราว่ามีปกติไม่ไยดีนั้น เป็นการกล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะเหล่านั้น เราละได้แล้ว สิ้นความไยดีแล้ว ตัดรากขาดแล้ว ไม่เกิดอีกต่อไป

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมเป็นผู้ไม่มีสมบัติ เป็นความจริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่าไม่มีสมบัติเป็นการกล่าวถูก เพราะสมบัติคือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะเหล่านั้น เราละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ไม่มีอีกต่อไป

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมไม่ทำอะไรเลย จริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ ที่เขากล่าวหาเราว่าไม่ทำอะไรเลยนั้น เพราะเราไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมได้สอนเรื่องความขาดสูญ เป็นความจริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ ที่เขากล่าวหาเราว่าได้สอนถึงความขาดสูญเพราะเราสอนถึงความขาดสูญแห่งราคาะ โทสะ โมหะ เรากล่าวถึงความขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมเป็นผู้ที่มีความรังเกียจ จริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ ที่เขากล่าวหาเราว่าช่างรังเกียจนั้น เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมเป็นคนช่างกำจัด จริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่าช่างกำจัดนั้น เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัดราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดสภาพที่เป็นบาปอกุศลทั้งหลาย

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมเป็นผู้ช่างเผาผลาญ จริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่าช่างเผาผลาญเพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตว่าเป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญเหล่านี้ เราละได้ขาดแล้ว ไม่มีในภายหลัง ไม่เกิดในภายหลังอีกต่อไป

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมไม่ผุดเกิดอีก จริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : จริงส่วนหนึ่งพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาว่าเราไม่ผุดเกิดเพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำให้ไม่มีในภายหลัง ไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด ดูกรพราหมณ์ การนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ เราละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ไม่มีในภายหลัง ไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา

    พราหมณ์ : ได้ยินมาว่าพระสมณะโคดมเป็นผู้ที่ไม่ไหว้ ไม่ลุกขึ้นต้อนรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาลผ่านวัยมาโดยลำดับ ไม่เชื้อเชิญให้นั่ง เป็นความจริงหรือไม่

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เป็นความจริงพราหมณ์

    พราหมณ์ : ถ้าเช่นนั้นพระสมณะโคดมเป็นผู้ปฏิบัติโดยไม่สมควรเลย ทำไมจึงปฏิบัติโดยไม่สมควรเช่นนี้

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : ดูกรพราหมณ์ ในโลกทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควรลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญให้นั่ง

    พราหมณ์ : พระสมณะโคดมมีเหตุผลอย่างไรจึงเล็งเห็นเช่นนั้น

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไข่ไก่ 8 ฟอง 10 ฟอง หรือ 12 ฟอง อันแม่ไก่กกไว้ดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่านั้นหากมีตัวใดทำลายกะเปาะฟองด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก แล้วออกมาโดยสวัสดีก่อนลูกไก่ในฟองไข่ไก่ตัวอื่น ๆ ลูกไก่ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง

    พราหมณ์ : ควรเรียกว่าพี่ เพราะตัวที่ออกจากกะเปาะฟองไข่ก่อนใครย่อมแก่กว่าใคร

    .....................
     
  10. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    สู่เส้นทางการตรัสรู้ (2)

    .............

    พระผู้มีพระภาคเจ้า : เราก็เหมือนอย่างนั้น

    ดูกรพราหมณ์ เมื่อคนทั้งหลายยังตกอยู่ในอวิชชา เหมือนเกิดในฟองไข่ไก่อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ เราผู้เดียวเท่านั้นในโลกได้ทำลายกะเปาะฟองคืออวิชชาแล้ว ได้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่นมีอารมณ์เป็นหนึ่ง

    เรานั้นได้สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปีติ และสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่

    เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก และวิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่

    เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่าเป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ดังนี้อยู่
    เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัส โทมนัสก่อน ๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่

    เรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสติญาณ

    เรานั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้น มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอุเทส พร้อทั้งอาการด้วยประการฉะนี้

    พราหมณ์ : วิชชาที่หนึ่งนี้เราได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่หนึ่งของเรานี้ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น

    เรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อญาณเครื่องรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย

    เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่อย่างนี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่กายแตกตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้าเป็นสัมมาทิฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้นเบื้องหน้าแต่กายแตกตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมด้วยประการดังนี้

    พราหมณ์ : วิชชาที่สองนี้เราได้บรรลุแล้วในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สองของเรานี้ เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองของลูกไก่ฉะนั้น

    เรานั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่องไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่ทุกข์ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่คือความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี่ความดับอาสวะ นี่ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้ว แม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้ว แม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้ว แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มี

    ดูกรพราหมณ์ วิชชาที่สามนี้ เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชาเราได้กำจัดแล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สามของเรานี้ ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น

    พราหมณ์ : พระสมณะโคดมเป็นผู้เจริญที่สุด พระสมณะโคดมเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ไพเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่าคนมีจักษุจักเห็นรูป ข้าพเจ้าขอถึงพระสมณะโคดม พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต นับตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป.


    ขอขอบคุณแหล่งที่มา : สู่เส้นทางการตรัสรู้ โดยคุณไพศาล พืชมงคล


    อนุโมทนา สาธุ ครับ
     
  11. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (1)

    1. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสสอนว่า สิ่งทั้งปวงเกิดจากเหตุ เมื่อมีเหตุก็ต้องมีผล ทำกรรมอันใดไว้ย่อมได้รับผลแห่งกรรมนั้นเสมอ ทำกรรมดีย่อมได้รับผลดี ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว เมื่อปฏิบัติธรรมก็ย่อมได้รับดอกผลของการปฏิบัติธรรม ไม่ว่าในกาลไหน ๆ ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมได้รับผลของการปฏิบัติธรรมนั้นโดยไม่มีวันผันแปรเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น

    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสถึงดอกผลสามัญหรือผลธรรมดาธรรมชาติของการปฏิบัติธรรมไว้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน และอย่างเป็นระบบ ดังที่ปรากฏในสามัญญผลสูตร หรือพระสูตรว่าด้วยผลสามัญหรือผลธรรมดาธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติธรรม

    2. สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับ ณ สวนอัมพวัน ของหมออาชีวกโกมารภัจจ์ในนครราชคฤห์ แคว้นมคธ พร้อมด้วยพระสงฆ์หมู่ใหญ่ 1,250 รูป

    วันนั้นเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ ของฤดูดอกโกมุทบาน ซึ่งตรงกับเดือน 12 เป็นวันที่พระจันทร์เพ็ญทอแสงนวลกระจ่าง ในขณะนั้นพระเจ้าอชาตศัตรูผู้เป็นมหาราชแห่งแคว้นมคธเสด็จออกว่าราชการในท่ามกลางหมู่ขุนนางทั้งปวง เมื่อทรงเห็นพระจันทร์ทอแสงสว่างเจิดจ้าก็มีความเบิกบานพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ทรงตรัสกับบรรดาอำมาตย์ข้าราชบริพารในที่เฝ้าว่า

    “ราตรีนี้พระจันทร์แจ่มกระจ่างน่ารื่นรมย์ยิ่งนัก ราตรีมีเดือนกระจ่างฟ้า ช่างงดงามจริงหนอ น่าชื่นชมจริงหนอ น่าเบิกบานจริงหนอ ในวันนี้จึงสมควรที่เราจะได้เข้าไปสนทนาธรรมกับสมณะพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง โดยเฉพาะคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงเป็นเจ้าลัทธิ มีเกียรติยศ ผู้คนยกย่องนับถือ”

    เมื่อทรงตรัสเช่นนั้น อำมาตย์คนหนึ่งจึงกราบทูลว่า ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าขอกราบทูลเสนอให้พระองค์เสด็จไปสนทนาธรรมกับท่านปูรณกัสสปะ ซึ่งประกอบด้วยองค์คุณอันจะพึงยังความเลื่อมใสแก่พระองค์ได้

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังคำทูลอย่างนั้นแล้วก็ทรงนิ่งเฉย

    อำมาตย์คนอื่นก็ได้กราบทูลเสนอให้พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จไปสนทนาธรรมกับท่านมักขลิ โคศาล บ้าง ท่านอชิต เกสกัมพล บ้าง ท่านปกุธะ กัจจายนะ บ้าง ท่านสญชัย เวลัฏฐบุตร บ้าง ท่านนิครนถ์ นาฏบุตร บ้าง

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังคำทูลของอำมาตย์แต่ละคนดังนั้นแล้ว ก็ทรงนิ่งเฉยอีก

    3. พระเจ้าอชาตศัตรูทรงนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้ว ไม่เห็นมีอำมาตย์คนใดเสนอชื่อเจ้าลัทธิหรือเจ้าสำนักหรือผู้ทรงคุณใด ๆ อีก จึงทรงตรัสกับหมอชีวกโกมารภัจจ์ ซึ่งนั่งเฝ้าอยู่ในที่ไม่ไกลว่า

    “ชีวกผู้สหาย ไฉนเธอจึงนิ่งอยู่เล่า”

    หมออาชีวกจึงกราบทูลว่า “ขอเดชะ พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ สวนอัมพวัน ของข้าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระสงฆ์หมู่ใหญ่ 1,250 รูป มีพระเกียรติศักดิ์อันงามขจรไปว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารัตถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาเอกของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม จึงขอกราบทูลเชิญพระองค์เสด็จไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเถิด เพราะเมื่อเสด็จไปเฝ้าแล้วย่อมยังพระทัยของพระองค์ให้มีความเลื่อมใสได้”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังคำกราบทูลของหมออาชีวกแล้วทรงเห็นชอบ จึงตรัสสั่งให้จัดขบวนช้าง 500 เชือก แล้วทรงช้างพระที่นั่ง มีทหารถือคบเพลิงเป็นอันมากตามขบวนเสด็จออกจากพระนครราชคฤห์ตรงไปยังสวนอัมพวันของหมออาชีวก

    ขบวนเสด็จไปถึงสวนอัมพวันแล้ว ทรงเสด็จลงจากหลังช้างพระที่นั่ง และทอดพระเนตรไปทั่วบริเวณ ปรากฏว่าบรรยากาศเงียบสนิท ไม่มีเสียงอึกทึกครึกโครมสมกับที่มีพระสงฆ์ถึง 1,250 รูปชุมนุมอยู่ มีแต่ความเงียบสงัด สายลมกระทบยอดไม้ดังหวิว หวือ พระเจ้าอชาตศัตรูทอดพระเนตรเห็นสถานการณ์อย่างนั้นก็หวั่นในพระทัยว่าถูกล่อลวงมาเพื่อทำร้าย จึงรับสั่งกับหมออาชีวกว่า

    “ชีวกผู้สหาย ท่านไม่ได้ลวงเราหรือ ท่านไม่ได้หลอกเราหรือ ท่านไม่ได้ล่อเรามาให้ศัตรูหรือ เหตุไฉนเล่าภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ตั้ง 1,250 รูป จึงไม่มีเสียงจาม เสียงกระแอม เสียงพึมพำเลย”

    หมออาชีวกได้ฟังรับสั่งดังนั้นจึงกราบทูลว่า “ข้าพระพุทธเจ้าไม่ได้ลวง ไม่ได้หลอก ไม่ได้ล่อพระองค์มาให้ศัตรูดอกพระพุทธเจ้าข้า ขอเชิญพระองค์เสด็จเข้าไปเถิด แสงไฟที่ทอดพระเนตรเห็นอยู่แต่ไกลนั้นคือโรงกลมอันเป็นศาลาธรรมยังคงตามประทีปอยู่” กราบทูลแล้วหมออาชีวกก็เข้าไปถวายบังคมทูลเชิญเสด็จและนำเสด็จพระเจ้าอชาตศัตรูตรงไปที่ประตูโรงกลมนั้น
    ..............
     
  12. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (2)

    ..............
    พระเจ้าอชาตศัตรูทอดพระเนตรเข้าไปในโรงกลมนั้น เห็นพระภิกษุสงฆ์จำนวนมากตั้งวงนั่งกันอยู่เต็มศาลาโรงกลม แต่ไม่ทราบว่ารูปใดเป็นพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงรับสั่งถามหมออาชีวกว่า “ชีวกผู้สหาย พระภิกษุสงฆ์รูปไหนเล่าคือพระผู้มีพระภาคเจ้า”

    หมออาชีวกจึงกราบทูลว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท พระภิกษุรูปที่นั่งพิงเสากลาง ผินพระพักตร์ไปทางทิศบูรพา ในท่ามกลางวงล้อมของภิกษุสงฆ์นั้นคือพระผู้มีพระภาคเจ้า”

    คำกราบทูลของหมออาชีวกดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นว่าพระภิกษุสงฆ์ในโพธิกาลนั้นครองจีวรสีเหลืองเหมือนกันหมด โกนศีรษะเหมือนกันหมด โกนคิ้วเหมือนกันหมด จึงไม่อาจจำแนกแยกแยะได้ว่ารูปใดเป็นพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้แล้วย่อมเล็งเห็นต่อไปได้ว่าภาพวาดก็ดี ภาพปั้นก็ดี ซึ่งพระพุทธรูปทั้งหลายที่ปรากฎมวยผมหรือโมลีของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นเรื่องจินตนาการ หรือจัดแจงแต่งเสริมขึ้นในภายหลัง เพื่อความงดงามแห่งศิลปะ หรือเพื่อจำแนกแยกแยะให้เห็นได้ชัด ๆ ว่าพระสงฆ์รูปใดคือพระผู้มีพระภาคเจ้า เพราะถ้าหากพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเกล้าผมก็ดี มีพระโมลีก็ดี หรือมีพระเกศาเกล้าเป็นกระจุกก็ดี ย่อมผิดแผกแตกต่างจากพระภิกษุสงฆ์อื่น พระเจ้าอชาตศัตรูย่อมจำแนกแยกแยะได้ว่ารูปไหนเป็นพระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องรับสั่งถามหมออาชีวกอีก

    4. พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังคำกราบทูลของหมออาชีวกแล้ว จึงเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับยืนด้านข้างตรงหน้าพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ทรงเห็นพระภิกษุสงฆ์นิ่งสงบ “เหมือนดั่งห้วงน้ำใส” จึงทรงเปล่งพระอุทานว่า “ขอให้อุทยภัทท์กุมารของเราจงมีความสงบอย่างภิกษุสงฆ์นี้เถิด”
    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ยินอุทานดังนั้น จึงตรัสว่า “ดูกรมหาบพิตร พระองค์เสด็จมาพร้อมทั้งความรักที่มีต่อพระราชโอรสทีเดียวหนอ”

    พระเจ้าอชาตศัตรูจึงกราบทูลว่า “พระเจ้าข้า อุทยภัทท์กุมารเป็นที่รักของหม่อมฉัน จึงขอให้อุทยภัทท์กุมารของหม่อมฉันจงมีความสงบอย่างภิกษุสงฆ์นี้เถิด” ตรัสแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า และทรงประนมอัญชลีแก่พระภิกษุสงฆ์ จากนั้นจึงประทับนั่งอยู่ที่ด้านข้างของพระผู้มีพระภาคเจ้า

    หลังจากทรงปฏิสันถารตามควรแก่การแล้ว พระเจ้าอชาตศัตรูจึงมีกระแสพระราชดำรัสกับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันจะขอทูลถามปัญหาบางเรื่อง ขอพระองค์ทรงประทานวโรกาสตอบปัญหาแก่หม่อมฉันด้วยเถิด”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงมีพุทธดำรัสว่า “มหาบพิตรมีพระราชประสงค์จะตรัสถามปัญหาใด ก็เชิญตรัสถามเถิด”

    พระเจ้าอชาตศัตรูจึงตรัสถามว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เจริญ ผู้มีศิลปศาสตร์เป็นอันมาก ไม่ว่าพลช้าง พลม้า พลรถ พลธนู พนักงานเชิญธง พนักงานจัดส่งเสบียง พวกบุตรทาส พวกช่างทำขนม พวกช่างทำดอกไม้ พวกช่างย้อม ช่างจักสาน ช่างหม้อ นักบัญชี หรือศิลปศาสตร์แม้อื่น ๆ ย่อมได้รับดอกผลแห่งศิลปศาสตร์ของตน ในการเลี้ยงชีพในปัจจุบัน แล้วย่อมบำรุงตนเอง บิดามารดา บุตร ภรรยา มิตรสหาย และราชการให้เป็นสุขสำราญ สามารถบำเพ็ญทักษิณาทานเพื่อมีความสุข ความเจริญ และไปสู่คติในสวรรค์ จึงขอตรัสถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า การปฏิบัติธรรมในธรรมวินัยของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น มีดอกผลสามัญใด ๆ บ้าง”

    ที่ทรงตรัสถามดังนี้ก็เพราะว่าในสมัยนั้นมีเจ้าลัทธิเป็นอันมาก บ้างก็ดำรงชีพอยู่ด้วยการขอทาน บ้างดำรงชีพอยู่ด้วยการกระทำเดรัจฉานวิชาต่าง ๆ บ้างก็ดำรงชีพอยู่ด้วยการหลอกลวง ส่วนพระภิกษุสงฆ์สาวกนั้นก็เห็นแต่โกนศีรษะ ครองจีวรสีเหลือง มิได้ปลูก มิได้ไถ มิได้หว่าน จึงเป็นที่กล่าวขานว่าสมณะหัวโล้นเหล่านั้นไม่ทำมาหากิน เอาแต่ขอคนอื่นกิน คำตรัสถามของพระเจ้าอชาตศัตรูจึงเป็นไปเพื่อแก้ความสงสัยในพระทัยว่าภิกษุสงฆ์ที่ประพฤติปฏิบัติในธรรมวินัยแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น จะได้รับผลจากการปฏิบัติอะไรบ้าง

    5. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ฟังกระแสพระราชดำรัสดังนั้น ก็ทรงแจ้งในความคิดในพระทัยของพระเจ้าอชาตศัตรู แต่เพื่อให้ได้ความชัดและสิ้นสงสัยอย่างสิ้นเชิง จึงทรงรับสั่งถามว่า

    “ดูกรมหาบพิตร พระองค์จะทรงจำได้หรือไม่ว่าปัญหานี้มหาบพิตรเคยตรัสถามกับสมณะพราหมณ์พวกอื่นมาก่อนแล้วบ้างหรือไม่”

    พระเจ้าอชาตศัตรูถวายพระพรว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันจำได้อยู่เพราะปัญหาข้อนี้หม่อมฉันได้ถามสมณะพราหมณ์พวกอื่นมาก่อนแล้ว”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ดูกรมหาบพิตร สมณะพราหมณ์เหล่านั้นได้ตอบคำถามข้อนี้ว่าอย่างใด หากไม่หนักพระทัยแล้ว ขอเชิญมหาบพิตรได้แจ้งให้อาตมาภาพทราบเสียก่อน”

    พระเจ้าอชาตศัตรูจึงตรัสว่า “เบื้องหน้าแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า หม่อมฉันไม่หนักใจในเรื่องใด ๆ”
    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ถ้าอย่างนั้นขอเชิญมหาบพิตรตรัสเถิด”

    พระเจ้าอชาตศัตรูจึงตรัสว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันเคยถามปัญหานี้กับครูปูรณกัสสปะแล้ว ครูปูรณกัสสปะได้ตอบว่าการกระทำทั้งหลายไม่ว่าทำเองหรือใช้ผู้อื่นทำ ผู้ทำไม่มีบาป ผู้ใช้ให้ทำก็ไม่มีบาป การทำบุญด้วยตนเองหรือใช้ให้ผู้อื่นทำบุญก็ดี ไม่มีผลใด ๆ ตกมาถึงผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ ดังนี้หม่อมฉันเห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม เปรียบดั่งถามถึงมะม่วงแต่ตอบเรื่องขนุน หรือถามถึงเรื่องขนุนกลับตอบเรื่องมะม่วง หม่อมฉันจึงลาครูปูรณกัสสปะไป”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ตรัสต่อไปว่า “หม่อมฉันเคยถามปัญหาข้อนี้กับครูมักขลิโคศาล แต่ได้รับคำตอบว่าสิ่งทั้งปวงไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย และไม่เกิดผลใด ๆ ไม่ว่าความเศร้าหมองหรือความบริสุทธิ์ ไม่มีการกระทำใด ๆ ไม่ว่าเป็นของตนเองหรือของผู้อื่น ทุกอย่างเป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายเท่านั้น ดังนี้หม่อมฉันก็เห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม หม่อมฉันจึงลุกจากไปเสีย”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ตรัสอีกว่า “หม่อมฉันเคยถามปัญหาข้อนี้กับครูอชิตะ เกสกัมพล แต่ได้รับคำตอบว่าการกระทำทั้งหลายไม่ว่าดีหรือชั่ว ล้วนไม่มีผล ทุกสิ่งเป็นอันไม่มี คงมีแต่ธาตุทั้งสี่คือดิน น้ำ ลม ไฟ เท่านั้น และเมื่อตายแล้วก็ขาดสูญพินาศสิ้นและไม่เกิดใหม่อีก ดังนี้หม่อมฉันเห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม จึงได้ลุกไปเสีย”

    พระเจ้าอชาตศัตรูยังคงตรัสต่อไปว่า “หม่อมฉันเคยถามปัญหาข้อนี้กับครูปกุธะ กัจจายนะ ก็ได้รับคำตอบว่าสภาวะทั้งปวงเป็นไปโดยธรรมชาติ ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้น ไม่มีความสุข ไม่มีความทุกข์ มีแต่สภาวะธรรมชาติล้วน ๆ การฆ่าผู้อื่นหรือใช้ให้ผู้อื่นฆ่า แม้ว่าจะเอาศาสตราตัดศีรษะก็ไม่ชื่อว่าเป็นการฆ่า เพราะเป็นแค่การเอาศาสตราสอดไปตามช่องแห่งสภาวะธรรมชาติเท่านั้น ดังนี้หม่อมฉันก็เห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม หม่อมฉันจึงลุกไปเสีย”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้กราบทูลต่อไปว่า “ปัญหาข้อนี้ หม่อมฉันได้เคยถามกับครูนิครนถ์ นาฏบุตร แต่กลับได้รับคำตอบว่านิครนถ์เป็นผู้สังวรในสังวรสี่ คือเป็นผู้ห้ามน้ำ เป็นผู้ประกอบด้วยน้ำ เป็นผู้กำจัดน้ำ เป็นผู้ประพรมน้ำ ดังนี้หม่อมฉันก็เห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม หม่อมฉันจึงลุกไปเสีย”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทับนิ่งฟังคำกราบทูลของพระเจ้าอชาตศัตรูอยู่ต่อไป พระเจ้าอชาตศัตรูจึงตรัสต่อไปอีกว่า “ปัญหาข้อนี้ หม่อมฉันเคยถามครูสญชัย เวลัฏฐบุตร แต่ได้รับคำตอบว่าโลกหน้ามีอยู่หรือ ถ้าคิดว่ามีก็ตอบว่ามี ถ้าคิดว่าไม่มีก็ตอบว่าไม่มี สัตว์ผุดเกิดหรือไม่ หากคิดว่ามีก็ตอบว่ามี หากคิดว่าไม่มีก็ตอบว่าไม่มี หากคิดว่าใช่อย่างนั้นหรือไม่ ก็ตอบว่าใช่อย่างนั้น หากคิดว่าไม่ใช่อย่างนั้น ก็ตอบว่าไม่ใช่อย่างนั้น หากคิดว่าไม่ใช่อย่างนั้น อย่างอื่นก็ไม่ใช่ ก็ตอบว่าอย่างนั้นก็ไม่ใช่ อย่างอื่นก็ไม่ใช่ คิดว่าไม่ใช่ ไม่ใช่ ก็ไม่ใช่ ก็ตอบว่าไม่ใช่ ไม่ใช่ ก็ไม่ใช่ ดังนี้หม่อมฉันก็เห็นว่าเป็นการตอบไม่ตรงคำถาม และเห็นว่าบรรดาสมณะพราหมณ์ทั้งหลายนั้น ครูสญชัย เวลัฏฐบุตร นี้โง่กว่าใครทั้งหมด งมงายกว่าใครทั้งหมด หม่อมฉันจึงลุกไปเสีย

    เมื่อเป็นดังนี้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันจึงขอถามปัญหาข้อนี้ต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เจริญบ้าง พระองค์จะบัญญัติสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบันให้หม่อมฉันเข้าใจได้หรือไม่”

    .......................
     
  13. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ต้องกราบขออภัยกันนะครับที่ระยะนี้ค่อนข้างจะหนักไปในเรื่องของพระพุทธศาสนา ด้วยสาเหตุที่หลายท่านพอจะคาดเดากันได้ ก็ด้วยใกล้วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา ถือเสียว่าเรามาร่วมกันน้อมจิตรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและปฏิบัติบูชาถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกันนะครับ
    บทความทั้งหมดนี้คัดลอกมาจากคุณสิริอัญญา และคุณไพศาล พืชมงคล จากเว็บไซท์ www.paisalvision.com ด้วยพิจารณาเห็นว่าข้อเขียนของทั้งสองท่าน เขียนในมุมมองและนำเสนอด้วยเรื่องราวและภาษาที่ชวนติดตามและสามารถอ่านเข้าใจได้ง่าย

    "วันนี้เรากระทำวิสาขบูชาเป็นพุทธบูชากันทั่วทั้งประเทศ ทำบุญ ตักบาตร เวียนเทียน ถือศีลปานนั้นแล้ว ก็ไม่อาจเสมอด้วยการเข้าเฝ้าต่อหน้าพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

    การเข้าเฝ้าฟังพระธรรมเทศนาจากพระโอษฐ์แห่งพระตถาคตก็คือการศึกษา และปฏิบัติตามพระธรรมวินัยที่ทรงแสดงไว้ บัญญัติไว้ แล้วแก่เราทั้งหลายนั้นแล

    ขออานุภาพนี้จงดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายถึงซึ่งความสวัสดี ปราศจากสรรพทุกข์ สรรพโรค สรรพภัย และเป็นปัจจัยให้ถึงซึ่งพระนิพพานในอนาคตกาลนั้นเทอญ."
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤษภาคม 2011
  14. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (3)

    ..............

    6. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ฟังคำกราบทูลของพระเจ้าอชาตศัตรูจนสิ้นกระแสความแล้ว จึงตรัสว่า “ตถาคตย่อมบัญญัติสามัญญผลแก้ข้อสงสัยของมหาบพิตรได้อยู่ แต่ขอย้อนถามมหาบพิตรก่อน ขอให้ทรงตอบตามที่พอพระทัย

    ดูกรมหาบพิตร! มหาบพิตรจะทรงเข้าพระทัยความข้อนี้เป็นไฉน? คือสมมติว่ามหาบพิตรมีข้าทาสบริวารที่ต้องตื่นก่อน นอนทีหลัง คอยรับฟังพระบัญชาว่าจะให้ทำอะไรให้ถูกพระทัย แม้กราบทูลก็ต้องกราบทูลด้วยถ้อยคำไพเราะ ต่อมาข้าทาสบริวารเหล่านั้นคิดว่าเราควรจะได้ทำบุญเพื่อจะได้มีอำนาจวาสนาเหมือนพระองค์ท่าน อย่างนี้แล้ว ก็ได้ปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ออกบวชเป็นบรรพชิต เมื่อบวชแล้วสำรวมกาย วาจา ใจ สันโดษด้วยความมีเพียงอาหารและผ้าปิดกาย มีความยินดีในความสงัด มหาบพิตรเห็นข้าทาสบริวารนั้นแล้ว จะยังคงเรียกว่าเฮ้ย! เจ้าจงมาเป็นทาสบริวารของข้า จงตื่นก่อน นอนทีหลัง จงคอยฟังคำบัญชาว่าให้ทำอะไรให้ถูกใจเหมือนอย่างแต่ก่อนได้หรือไม่?”

    พระเจ้าอชาตศัตรูถวายพระพรตอบว่า “หม่อมฉันจะทำอย่างนั้นกับเขาอีกไม่ได้ หม่อมฉันเสียอีกที่จะต้องไหว้เขา ลุกขึ้นต้อนรับเขา เชื้อเชิญให้เขานั่ง บำรุงถวายด้วยจีวรบิณฑบาตร เสนาสนะ และยารักษาโรค ทั้งต้องปกป้องคุ้มครองเขาโดยธรรม”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ถ้าเป็นเช่นนั้น การที่มหาบพิตรต้องไหว้ ต้องลุกขึ้นต้อนรับ ต้องเชื้อเชิญให้นั่ง บำรุงถวายด้วยปัจจัยสี่ จะเป็นดอกผลหรือสามัญญผลที่เป็นประจักษ์ได้หรือไม่”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังดังนั้น ก็ยอมรับว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อเป็นเช่นนั้นก็คือสามัญญผลที่เห็นประจักษ์อย่างแน่แท้” พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ดูกรมหาบพิตร นี่แหละคือสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน ซึ่งอาตมาภาพบัญญัติถวายมหาบพิตรเป็นข้อแรก”

    7. พระเจ้าอชาตศัตรูจึงกราบทูลต่อไปว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ จะทรงแสดงถึงสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบันอย่างอื่นอีกหรือไม่?” พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า “ได้อยู่มหาบพิตร แต่ข้อนี้จะขอย้อนถามมหาบพิตรก่อน ขอทรงตรัสตอบตามที่พอพระทัยเถิด สมมติว่ามหาบพิตรมีพสกนิกรเป็นชาวนา เป็นคหบดี เสียภาษีอากรอยู่คนหนึ่ง ครั้นแล้วพสกนิกรผู้นี้มีความคิดว่าบุญย่อมมีผล มีวิบากเป็นที่อัศจรรย์ เราก็เป็นมนุษย์ แต่ไม่มีบุญเสมอเหมือนพระเจ้าอชาตศัตรูเลย เราพึงทำบุญจะได้เป็นเหมือนพระองค์ท่าน อย่างนั้นแล้วก็ได้ปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ออกบวชเป็นบรรพชิต เมื่อบวชแล้วก็เป็นผู้สำรวมกาย วาจา ใจ อยู่สันโดษ ยินดีในความสงัด ต่อมาพวกราชบุรุษได้มากราบทูลพฤติกรรมของพสกนิกรนี้ว่าไม่ทำนา ไม่เสียภาษี แต่ออกบวชเป็นผู้สำรวมกาย วาจา ใจ อย่างนี้ มหาบพิตรจะตรัสกับเขาว่าเฮ้ย! แกจงมาเป็นชาวนา จงทำนา จงมาเป็นคหบดี จงเสียภาษีอากรเหมือนเดิมจะได้หรือไม่”

    พระเจ้าอชาตศัตรูถวายพระพรตอบว่า “ไม่ได้พระเจ้าข้า หม่อมฉันจะต้องไหว้เขา ลุกขึ้นต้อนรับ เชื้อเชิญให้นั่ง บำรุงด้วยปัจจัยสี่ และปกป้องคุ้มครองเขาโดยธรรม”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสถามว่า “เมื่อเป็นอย่างนั้น ก็เป็นดอกผลหรือสามัญญผลของการอุปสมบทที่เห็นประจักษ์หรือไม่”

    พระเจ้าอชาตศัตรูถวายพระพรตอบว่า “เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็เป็นสามัญญผลที่เห็นประจักษ์โดยแท้”
    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน ซึ่งอาตมาภาพบัญญัติถวายมหาบพิตรเป็นข้อที่สอง”

    8. พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังดังนั้นจึงตรัสถามต่อไปว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สามัญญผลที่เห็นประจักษ์ปัจจุบันข้ออื่นที่ดีกว่า ประณีตกว่า ทั้งสองข้อนี้ยังมีอีกหรือไม่” .......
     
  15. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (4)

    .................

    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า “ยังมีอีกมหาบพิตร เมื่อเป็นอย่างนี้ มหาบพิตรจงตั้งพระทัยให้ดี จงคอยสดับ อาตมาภาพจักแสดงสามัญญผลข้ออื่นที่ดีกว่า ประณีตกว่า สามัญญผลที่เห็นได้ในปัจจุบันทั้งสองข้อที่แสดงมา”

    พระเจ้าอชาตศัตรูได้ฟังพุทธดำรัสดังนั้นแล้ว ก็สำรวมพระทัย ประทับนั่งอย่างสงบนิ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ดูกรมหาบพิตร ตถาคตอุบัติขึ้นในโลกนี้เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว รู้แจ้งโลก เป็นสารัตถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาเอกของมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม ตถาคตได้ทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งแล้ว ได้สอนหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม แสดงธรรมงดงามในเบื้องต้น ในท่ามกลางและในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์อันสมบูรณ์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง คฤหบดี บุตรคฤหบดี หรือบุตรผู้เกิดเฉพาะตระกูลใดตระกูลหนึ่งย่อมฟังธรรมนั้น

    ครั้นฟังแล้วได้ศรัทธาในตถาคต เมื่อศรัทธาแล้วก็เห็นตระหนักว่าเพศฆราวาสนี้คับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี การบรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง การที่ผู้ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ ทำไม่ได้โดยง่าย กระไรเลย เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ออกบวชเป็นบรรพชิต

    เมื่อบวชแล้วก็สำรวมระวังในพระปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นภัยในโทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษาสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้วยกายกรรม วจีกรรมที่เป็นกุศล มีอาชีพบริสุทธิ์ ถึงพร้อมด้วยศีล คุ้มครองทวารในอินทรีทั้งหลาย ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะเป็นผู้สันโดษ

    ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์ อินทรีสังวร สติสัมปชัญญะและสันโดษอันเป็นอริยะแล้ว ย่อมถือเอาเสนาสนะอันสงัดคือป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง เมื่อกลับจากบิณฑบาตรแล้ว หลังภัตตาหารแล้ว ได้นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า

    9. เธอละความเพ่งเล็งในโลก มีใจปราศจากความเพ่งเล็งอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากความเพ่งเล็งได้

    ละความประทุษร้ายคือพยาบาท ไม่คิดพยาบาท มีความกรุณา หวังประโยชน์แก่สัตว์ทั้งหลายอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์ ปราศจากความประทุษร้ายคือพยาบาทได้

    ละถีนมิทธะแล้ว เป็นผู้ปราศจากถีนมิทธะ มีความกำหนดหมายอยู่ที่แสงสว่าง มีสติสัมปชัญญะอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากถีนมิทธะได้

    ละอุทธัจจะกุกกุจจะแล้ว เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบ ณ ภายในอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากอุทธัจจะกุกกุจจะได้

    ละวิจิกิจฉาแล้ว เป็นผู้ข้ามวิจิกิจฉา ไม่มีความคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉาได้

    10. ดูกรมหาบพิตร เมื่อพิจารณาเห็นนิวรณ์ห้าเหล่านี้ คือกามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจะกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา ที่ละได้แล้วว่าไม่มีในตนแล้ว ย่อมเกิดปราโมทย์

    เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ
    เมื่อมีปีติในใจ กายย่อมสงบ
    เมื่อมีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข
    เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น

    ย่อมสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุถึงปฐมฌาน ที่มีวิตก วิจาร ปีติ และสุข อันเกิดแต่วิเวกอยู่

    ย่อมทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกนั้น ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายนี้ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง ซึ่งเปรียบประดุจดั่งพนักงานสรงสนาน หรือลูกมือพนักงานสรงสนานผู้ฉลาด พึงใส่จุรณ์สีตัวลงในภาชนะสัมฤทธิ์ แล้วพรมด้วยน้ำหมักไว้ ตกเวลาเย็นก้อนจุรณ์สีตัวซึ่งยางซึมไปจับติดกันทั่วทั้งหมด ย่อมไม่กระจายตัวฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทั่วทั้งตัวที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    ................
     
  16. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (5)

    ....................

    11. ดูกรมหาบพิตร ยังมีอีก ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น

    ภิกษุบรรลุทุติยฌาน เพราะวิตก วิจาร สงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร คงมีแต่ปีติและสุข ซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่

    เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนห้วงน้ำลึก มีน้ำปั่นป่วน ไม่มีทางน้ำที่จะไหลเข้ามาได้ ทั้งฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล แต่สายน้ำเย็นพุขึ้นจากห้วงน้ำนั้นแล้ว จะพึงทำห้วงน้ำนั้นแหละให้ชุ่มชื่น เอิบอาบ ซาบซึมด้วยน้ำเย็น ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งห้วงน้ำนั้นทั้งหมดที่น้ำเย็นจะไม่พึงถูกต้องฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ย่อมทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทั่วทั้งตัวที่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    12. ดูกรมหาบพิตร ยังมีอีก ภิกษุมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย
    เพราะปีติสิ้นไป จึงบรรลุตติยฌาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่าผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข

    เธอทำกายนี้ให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยสุขอันปราศจากปีติ ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัวที่สุขอันปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนกอบัวขาบ กอบัวหลวง หรือกอบัวขาว หรือดอกบัวหลวง ดอกบัวขาว หรือดอกบัวขาบ ซึ่งเกิดในน้ำ เจริญในน้ำ ยังไม่ทันพ้นน้ำ น้ำหล่อเลี้ยงไว้ ดอกบัวเหล่านั้นชุ่มชื้น เอิบอาบ ซาบซึมด้วยน้ำเย็นตลอดยอด ตลอดเหง้า ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาวทั้วทุกส่วนที่น้ำเย็นจะไม่พึงถูกต้องฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ย่อมทำกายนี้ให้เอิบอิ่ม ซาบซ่าน ด้วยสุขอันปราศจากปีติ ไม่มีเอกเทศไหน ๆ ของกายทั่วทั้งตัวที่สุขอันปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    13. ดูกรมหาบพิตร ยังมีอีก ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัส โทมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่

    เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละ ด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทั่วทั้งตัวที่กายอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะนั่งคลุมตัวตลอดศีรษะด้วยผ้าขาว ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทุก ๆ ส่วนที่ผ้าขาวจะไม่ถูกต้องฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้ด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีเอกเทศไหน ๆ แห่งกายทั้งตัวที่ใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    14. ดูกรมหาบพิตร ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมน้อมจิตไปเพื่อญาณทัศนะหรือวิปัสสนาญาณ

    เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้มีรูปประกอบด้วยมหาภูตสี่ คือดิน น้ำ ลม ไฟ เกิดแต่บิดามารดา เติบโตขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนแก้วไพฑูรย์อันงาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์ มีลักษณะแปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใสแวววาว สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียว เหลือง แดงขาว หรือนวลร้อยอยู่ในนั้น บุรุษมีจักษุจะพึงหยิบแก้วไพฑูรย์นั้นวางไว้ในมือ แล้วพิจารณาเห็นว่าแก้วไพฑูรย์นี้งาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์ แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว มีด้ายเขียว เหลือง แดงขาว หรือนวลร้อยอยู่ในแก้วไพฑูรย์นั้นฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัศนะ

    เธอย่อมรู้ชัดว่า กายของเรานี้มีรูปประกอบด้วยมหาภูตรูปสี่คือดิน น้ำ ลม ไฟ เกิดแต่บิดามารดา เติบโตขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    ...........................
     
  17. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (6)
    ...........................

    15. ดูกรมหาบพิตร เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อมโนมยิทธิญาณ

    คือนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักไส้ออกจากหญ้าปล้อง เขาย่อมรู้เห็นชัดเจนว่านี่คือหญ้าปล้องอย่างหนึ่ง นี่คือไส้หญ้าปล้องอีกอย่างหนึ่ง แต่ก็ชักไส้หญ้าปล้องออกจากหญ้าปล้องนั่นเอง
    หรืออีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษที่ชักดาบออกจากฝัก ย่อมรู้เห็นอย่างนี้ว่านี่คือดาบ นี่คือฝัก ดาบก็เป็นอย่างหนึ่ง ฝักก็เป็นอย่างหนึ่ง แต่ดาบก็ชักออกจากฝักนั่นเอง

    หรืออีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนคนเห็นงูที่ลอกคราบ ย่อมรู้เห็นชัดเจนว่านี่คืองู นี่คือคราบงู งูก็อย่างหนึ่ง คราบงูก็อีกอย่างหนึ่ง แต่งูก็ออกจากคราบงูนั่นเอง ฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เธอย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ มโนมยิทธิญาณ คือนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ นิรมิตกายอื่นออกจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    16. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี สามารถบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ

    คือ คนเดียวแปลงเป็นหลายคนก็ได้ ทำหลายคนให้กลายเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพง ภูเขา ได้ไม่ติดขัด เหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้น ดำลงแม้ในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนช่างหม้อ หรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใด ๆ พึงทำภาชนะชนิดนั้น ๆ ให้สำเร็จได้

    หรืออีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างงา หรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงาชนิดใด ๆ ก็สามารถทำเครื่องงาชนิดนั้น ๆ ให้สำเร็จได้

    หรืออีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างทอง หรือลูกมือช่างทองผู้ฉลาด เมื่อหลอมทองดีแล้ว ต้องการทองรูปพรรณชนิดใด ๆ ก็สามารถทำทองรูปพรรณชนิดนั้น ๆ ให้สำเร็จได้ฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี สามารถบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวแปลงเป็นหลายคนก็ได้ ทำหลายคนให้กลายเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพง ภูเขา ได้ไม่ติดขัด เหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้น ดำลงแม้ในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    17. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ

    เธอย่อมได้ยินเสียงสองชนิด คือเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ทั้งที่อยู่ไกลและอยู่ใกล้ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ ล่วงโสตของมนุษย์

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษเดินทางไกล แล้วได้ยินเสียงกลองบ้าง เสียงตะโพนบ้าง เสียงสังข์บ้าง เสียงบัณเฑาะว์บ้าง เสียงเปิงมางบ้าง เขาก็จะพึงเข้าใจว่าเสียงที่ได้ยินนั้นเป็นเสียงกลอง เป็นเสียงตะโพน หรือเป็นเสียงสังข์ หรือเป็นเสียงบัณเฑาะว์ หรือเป็นเสียงเปิงมางฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ยินเสียงสองชนิด คือเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ทั้งที่อยู่ไกลและอยู่ใกล้ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ ล่วงโสตของมนุษย์

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    ...............................
     
  18. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (7)
    ..................

    18. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ

    เธอย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตไม่มีราคะ ก็รู้ว่าจิตไม่มีราคะ จิตมีโทสะ หรือไม่มีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีหรือไม่มีโทสะ จิตมีโมหะหรือไม่มีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะหรือไม่มีโมหะ จิตหดหู่หรือฟุ้งซ่านก็รู้ว่าจิตหดหู่หรือฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรรคต หรือไม่เป็นมหรรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรรคตหรือไม่เป็นมหรรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีหรือไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิหรือไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิหรือไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้นแล้ว หรือยังไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้นแล้วหรือไม่หลุดพ้น

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนหญิงสาวชายหนุ่มที่ชอบการแต่งตัว เมื่อส่องดูเงาหน้าของตนในกระจกอันบริสุทธิ์ สะอาด หรือในภาชนะน้ำอันใส หน้ามีไฝ หรือไม่มีไฝก็รู้ว่ามีไฝหรือไม่มีไฝฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ

    เธอย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตไม่มีราคะ ก็รู้ว่าจิตไม่มีราคะ จิตมีโทสะ หรือไม่มีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีหรือไม่มีโทสะ จิตมีโมหะหรือไม่มีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะหรือไม่มีโมหะ จิตหดหู่หรือฟุ้งซ่านก็รู้ว่าจิตหดหู่หรือฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรรคต หรือไม่เป็นมหรรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรรคตหรือไม่เป็นมหรรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีหรือไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิหรือไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิหรือไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้นแล้ว หรือยังไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้นแล้วหรือไม่หลุดพ้น

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    19. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสติญาณ

    เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติ ห้าชาติบ้าง สิบชาติ ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบ สี่สิบ ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติ พันชาติ แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมาก ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมาก ตลอดสังวัฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตร มีผิวพรรณอย่างไร นิยมอาหารอย่างไร มีสุข มีทุกข์อย่างไร มีอายุเท่าใด ครั้นตายจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพอื่น แม้ในภพอื่นก็รู้ว่ามีชื่อ มีโคตร มีผิวพรรณอย่างไร นิยมอาหารอย่างไร มีทุกข์ สุขอย่างไร มีอายุเท่าใด ครั้นตายจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพอื่นอย่างไร เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศด้วยประการฉะนี้

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษที่เดินทางจากบ้านตนไปบ้านอื่น แล้วจากบ้านอื่นนั้นไปยังบ้านอื่นต่อไปอีก แม้เดินทางกลับมาสู่บ้านตนตามเดิม ก็ย่อมระลึกได้อย่างนี้ว่าเราได้เดินทางจากบ้านของเราไปบ้านโน้น ในบ้านนั้นเราได้ยืน ได้นั่ง ได้พูด ได้นิ่งอย่างไร เราได้จากบ้านนั้นไปยังบ้านอื่นอีก เราได้ยืน ได้นั่ง ได้นิ่ง ได้พูดอย่างไร แล้วกลับจากบ้านนั้นมาสู่บ้านตนตามเดิมฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติ ห้าชาติบ้าง สิบชาติ ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบ สี่สิบ ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติ พันชาติ แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมาก ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมาก ตลอดสังวัฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตร มีผิวพรรณอย่างไร นิยมอาหารอย่างไร มีสุข มีทุกข์อย่างไร มีอายุเท่าใด ครั้นตายจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพอื่น แม้ในภพอื่นก็รู้ว่ามีชื่อ มีโคตร มีผิวพรรณอย่างไร นิยมอาหารอย่างไร มีทุกข์ สุขอย่างไร มีอายุเท่าใด ครั้นตายจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพอื่นอย่างไร เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศด้วยประการฉะนี้

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    20. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตถญาณ คือเพื่อรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย

    เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี ผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่าสัตว์เหล่านี้ได้กระทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฐิ กระทำการด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิ หลังจากตายแล้วย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์ผู้ประกอบกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฐิ กระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฐิ หลังจากตายไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมูสัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมด้วยประการฉะนี้

    ดูกรมหาบพิตร เหมือนปราสาทตั้งอยู่ ณ ทางสามแพร่งกลางพระนคร บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนปราสาทนั้น ย่อมเห็นหมู่ชนกำลังเข้าไปสู่เรือนบ้าง กำลังออกจากเรือนบ้าง กำลังสัญจรไปมาอยู่ในถนนบ้าง นั่งอยู่ที่ทางสามแพร่งกลางพระนครบ้าง เขาก็ย่อมรู้ว่าคนเหล่านี้เข้าไปสู่เรือน ออกจากเรือน สัญจรอยู่บนถนน นั่งอยู่ที่ทางสามแพร่งกลางพระนครฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตถญาณ คือเพื่อรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี ผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่าสัตว์เหล่านี้ได้กระทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฐิ กระทำการด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิ หลังจากตายแล้วย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์ผู้ประกอบกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฐิ กระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฐิ หลังจากตายไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมูสัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมด้วยประการฉะนี้

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    .............................
     
  19. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    ดอกผลแท้ของการปฏิบัติธรรม (8)

    ...................................

    21. เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ

    ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่านี่ทุกข์ นี่เหตุแห่งทุกข์ นี่ความดับทุกข์ นี่คือทางแห่งความดับทุกข์ เหล่านี้คืออาสวะ เหล่านี้คือเหตุแห่งอาสวะ นี่คือความดับอาสวะ นี่คือทางแห่งความดับอาสวะ เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีแล้ว

    ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนสระน้ำบนยอดเขาใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น จะพึงเห็นหอยโข่งและหอยกาบต่าง ๆ บ้าง เห็นก้อนกรวดก้อนหินบ้าง เห็นฝูงปลากำลังว่าย กำลังหยุดอยู่ในสระน้ำนั้น เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่าสระน้ำนี้ใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว มีหอยโข่งและหอยกาบบ้าง เห็นก้อนกรวดและก้อนหินบ้าง เห็นฝูงปลากำลังว่าย กำลังหยุดอยู่บ้าง ฉันใด

    ภิกษุก็ฉันนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่านี่ทุกข์ นี่เหตุแห่งทุกข์ นี่ความดับทุกข์ นี่คือทางแห่งความดับทุกข์ เหล่านี้คืออาสวะ เหล่านี้คือเหตุแห่งอาสวะ นี่คือความดับอาสวะ นี่คือทางแห่งความดับอาสวะ เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีแล้ว

    ดูกรมหาบพิตร นี่แหละสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อก่อน ๆ

    ดูกรมหาบพิตร ก็สามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้ออื่น ที่ดียิ่งกว่า ที่ประณีตกว่าสามัญญผลที่เห็นประจักษ์ในข้อนี้ย่อมไม่มี

    22. เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสโดยลำดับถึงผลธรรมดาสามัญหรือสามัญญผลตั้งแต่ขั้นต้น ๆ เป็นลำดับไปจนถึงขั้นสูงสุดคืออาสวักขยญาณแล้ว พระเจ้าอชาตศัตรูได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก เปรียบเหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืด ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงประกาศพระธรรมโดยอเนกปริยายฉันนั้น

    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะของหม่อมฉัน หม่อมฉันเป็นคนบาป มีโทษครอบงำ เพราะหม่อมฉันเป็นคนเขลา เป็นคนหลง ไม่ฉลาด หม่อมฉันได้ปลงพระชนม์ชีพพระบิดาผู้ดำรงธรรม และเป็นพระราชาโดยธรรม เพราะมุ่งหมายความเป็นใหญ่ ขอให้พระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงรับทราบความผิดของหม่อมฉันเพื่อเป็นทางแห่งสำรวมต่อไป”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสตอบว่า “ดีแล้วมหาบพิตร ทรงสารภาพความตามความเป็นจริงดังนี้แล้ว ตถาคตขอรับทราบความผิดของมหาบพิตร การที่บุคคลเห็นความผิดโดยเป็นความผิดจริง แล้วสารภาพความจริงและรับว่าจะสังวรต่อไป นี่เป็นความชอบในวินัยของพระอริยเจ้า”

    เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนั้นแล้ว พระเจ้าอาชาตศัตรูได้กราบทูลลา กระทำประทักษิณ และเสด็จกลับพระนคร จากนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า

    “ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระเจ้าอาชาตศัตรูได้ถูกขุดเสียแล้ว ถูกขจัดเสียแล้ว จากมรรคผลนิพพาน หากพระองค์ไม่ปลงพระชนม์ชีพพระบิดาผู้ดำรงธรรม ผู้เป็นพระราชาโดยธรรมแล้วไซร้ จักบรรลุธรรมจักษุอันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ณ ที่ประทับในบัดนี้”

    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงดอกผลธรรมดาธรรมชาติหรือสามัญญผลของการประพฤติปฏิบัติธรรมตั้งแต่ลำดับต้น ๆ หรือดอกผลธรรมดาสามัญเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นลำดับ ๆ ไป จนสู่ขั้นสูงสุดความหลุดพ้นจากกิเลสสาสวะ บรรลุถึงอาสวักขยญาณ หรือบรรลุอรหันตผลเป็นพระอรหันต์ ความเป็นพระอรหันต์จึงเป็นสามัญผลขั้นสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระวินัยของพระอริยเจ้าดังนี้

    พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าพิมพิสาร มหาราชแห่งแคว้นมคธ ซึ่งเป็นอุบาสกในพระธรรมวินัยของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเป็นผู้ประพฤติธรรม ทรงเคารพธรรม และนับถือธรรมเป็นใหญ่ พระองค์ถูกพระราชโอรสคือพระเจ้าอชาตศัตรูแย่งเอาราชสมบัติ แล้วจับขังไว้ในคุกลับ และทรมานอย่างโหดร้าย จนกระทั่งเสด็จสวรรคต เป็นอนันตริยกรรมที่ขุดหรือขจัดหรือปิดกั้นมรรคผลนิพพานโดยสิ้นเชิง

    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงอนันตริยกรรมของพระเจ้าอชาตศัตรูไว้อย่างชัดเจนว่า ถ้าหากไม่ทรงกระทำปิตุฆาต เมื่อได้ฟังพระธรรมอันทรงแสดงครั้งนี้แล้ว ก็จะสามารถได้รับผลสามัญที่จะบรรลุถึงพระธรรมอันประเสริฐ คือได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นแน่นอน

    พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นมหาราชแห่งแคว้นมคธ ทรงเสวนาและใฝ่ศึกษาหาความรู้กับบัณฑิต ทรงไปสนทนาธรรมกับเจ้าลัทธิต่าง ๆ มากหลาย โดยเฉพาะปัญหาที่ทรงตั้งให้เจ้าลัทธิต่างๆ ตอบถวายนั้น เป็นปัญหาสามัญผลของการปฏิบัติของแต่ละลัทธิ ซึ่งไม่มีเจ้าลัทธิใดตอบปัญหานี้ให้ทรงพอพระทัยได้ ทั้งหมดตอบไปคนละทิศคนละทาง และส่วนใหญ่ก็ตอบไม่ตรงคำถามตามแบบอย่างทำนองนักวิชาการเต้าหู้ยี้ที่มีอยู่ในทุกยุคทุกสมัย

    ครั้นทรงตรัสถามปัญหานี้กับพระผู้มีพระภาคเจ้า แทนที่พระองค์จะถวายพระพรตอบปัญหาไปในทันที ก็ทรงย้อนถามว่าพระเจ้าอชาตศัตรูเคยถามปัญหานี้กับผู้อื่นมาแล้วหรือไม่ ก็เพื่อให้แบวางปัญหาและคำตอบทั้งหมดที่เคยปรากฏมาก่อนหน้าให้ประจักษ์เสียในคราวนี้ ซึ่งพระเจ้าอชาตศัตรูก็ได้กราบทูลตามความเป็นจริง จากนั้นจึงถามปัญหากับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่าพระภิกษุหัวโล้นห่มเหลืองในพระธรรมวินัยของพระตถาคตเจ้านั้น ประพฤติปฏิบัติอย่างนั้นแล้ว จะได้รับดอกผลสามัญหรือสามัญญผล อย่างไรบ้าง

    แทนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าจะตรัสตอบในทันใด ก็ทรงตั้งคำถามให้พระเจ้าอชาตศัตรูตอบเสียก่อน โดยทรงตั้งคำถามแรกว่าข้าทาสบริวารที่พระเจ้าอชาตศัตรูเคยใช้สอยนั้น หากออกไปบวชแล้ว พระเจ้าอชาตศัตรูจะทรงเรียกมาใช้สอยได้เหมือนเดิมหรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูก็ยอมรับว่าไม่ได้ จึงทรงชี้ว่านี่คือสามัญญผลข้อแรกที่ทรงชี้ให้เห็น

    พระเจ้าอชาตศัตรูยังไม่พอใจในคำตอบเพียงเท่านี้ จึงตรัสถามสามัญญผลที่ดีกว่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงถามย้อนอีกว่า บรรดาพวกพ่อค้าที่ทำมาหากินแล้วเสียภาษีให้กับทางราชการ ต่อมาได้ออกไปบวช ไม่ทำมาค้าขาย ไม่เสียภาษี พระเจ้าอชาตศัตรูจะไปบังคับให้ทำมาค้าขายและเสียภาษีได้หรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูก็ทรงยอมรับว่าไม่ได้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงชี้ให้เห็นว่านี่ก็เป็นสามัญญผลข้อที่สอง

    พระเจ้าอชาตศัตรูก็ยังไม่พอพระทัย จึงตรัสถามว่าสามัญญผลที่ดีกว่านี้ ที่ประณีตและที่วิเศษกว่านี้มีอีกหรือไม่ ซึ่งเมื่อมาถึงขั้นนี้ พระเจ้าอชาตศัตรูก็มีน้ำพระทัยยอมรับพร้อมที่จะฟังพระธรรมเทศนาแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงแสดงสามัญญผลและทรงเริ่มต้นประกาศความเป็นพระอรหันต์ที่ตรัสรู้เองโดยชอบก่อน จากนั้นก็ทรงแสดงสามัญญผลเป็นลำดับ ๆ ไปตั้งแต่ขั้นต้น ๆ คือสามัญญผลที่การปฏิบัติระดับชาวบ้าน ซึ่งยังดำรงตนอยู่ในสังคมพึงได้รับ ไปจนถึงขั้นสูงสุดคือบรรลุถึงพระนิพพาน คือความหลุดพ้นจากทุกข์สิ้นเชิง นั่นคือการบรรลุถึงอาสวักขยญาณ

    การปฏิบัติธรรมเป็นเหตุและสามัญญผลหรือผลธรรมดาสามัญที่บังเกิดขึ้นดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสเป็นลำดับ ๆ นั้นคือผลที่เกิดจากเหตุ ดังที่ทรงตรัสสอนไว้ว่าผลทั้งหลายเกิดจากเหตุนั่นเอง.


    ขอขอบคุณ www.paisalvision.com และคุณไพศาล พืชมงตล ท่านเจ้าของบทความ เป็นอย่างสูงครับ


    ขออานิสงส์แห่งการทำหน้าที่ถวายไว้ในพระพุทธศาสนาครั้งนี้ จงดลบันดาลให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระเจริญ มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน สถิตเป็นหลักชัยของแผ่นดินและอาณาประชาราษฎร์ไปตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป และท่านผู้อ่านทุกท่าน ได้พบกับพระพุทธศาสนาในทุกภพทุกชาติ ได้สามารถเข้าถึงซึ่งพระธรรมจนกระทั่งสามารถทำที่สุดแห่งทุกข์ให้ปรากฏด้วยเทอญ นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ. <!-- START of joscomment -->
     
  20. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,920
    ค่าพลัง:
    +6,434
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]“พระนางสิริมหามายาทรงพระครรภ์พระองค์จักมีพระราชโอรส
    พระโอรสนั้นถ้าอยู่ครองราชก็จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
    แต่ถ้าเสด็จออกบวช จักได้เป็นพระพุทธเจ้า”
    [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เมื่อพระโพธิสัตว์ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์นั้น พระครรภ์บริสุทธิ์ไม่แปดเปื้อนด้วยครรภ์มลทินและประทับนั่งสมาธิอยู่ในพระ ครรภ์ ไม่คุดคู้เหมือนเด็กทารกอื่น พระราชมารดาทรงทอดพระเนตรเห็นพระโพธิสัตว์ซึ่งอยู่ในพระครรภ์ ท้าวจตุมหาราชทั้ง ๔ ได้ถวายการอารักขาเพื่อป้องกันมิให้เกิดอุปัทวันตรายแก่พระโพธิสัตว์และพระ ราชมารดา[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][​IMG][/FONT]
     

แชร์หน้านี้

Loading...