พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    555 ป่วนเลยครับ เป็นผงปูนกระเทาะจริงๆครับ ผิวองค์หลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง อยุธยาครับ เจ้าอาวาสมอบผ่านมาทางวัดไตรมิตร เพื่อให้ร่วมทำบุญ สร้างกำแพงวัดธรรมบันดาล อ.ปากช่อง โคราชครับ
    ท่านเพชรเข้าใจถูกแล้วครับ วางไว้ให้คนมาทำบุญแค่ 1ลังใหญ่ตั้งใจ ให้คนมาทำบุญ 3วันในช่วงตรุษจีน แต่เพียงวันที่2 เพื่อนสนิทผมก็ กลับไปเก็บมาทั้งหมดครับ แปลกดีครับ คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยสนใจไปสนใจแต่พระพิมพ์ครับ หนูไม่ได้สร้างกระแสนะครับ ไม่ทราบเหมือนกันว่าที่วัดพนัญเชิงยังพอมีรึเปล่าครับ^-^
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หึหึ มีโอกาสสร้างพระพิมพ์ของตัวเองครั้งต่อไป จะได้ระบุได้ว่า มีมวลสารผงปูนหลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง อายุ ๖๘๔ ปีเป็นส่วนผสม....คน"รู้"จึงได้เปรียบคน"ไม่รู้"ด้วยประการฉะนี้แล
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ประโยชน์หวานๆจาก "ช็อคโกแลต"
    http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000017760
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>12 กุมภาพันธ์ 2551 15:54 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ของขวัญอย่างหนึ่งที่หนุ่มสาวทั่วโลกนิยมมอบให้แก่กันในวันวาเลนไทน์ก็คือ "ช็อคโกแลต" ขนมที่มีรสชาติหอมหวานและเป็นของกินยอดนิยมของคนทั้งโลก แต่รู้ไหมว่าช็อคโกแลตนั้นมีที่มาจากที่ใด?

    ช็อคโกแลตนั้น ทำมาจากพืชชนิดหนึ่ง นั่นก็คือต้นโกโก้ (Cacao) ซึ่งมีถิ่นกำเนิดอยู่ในดินแดนอเมริกาใต้และอเมริกากลาง ในฝักของต้นโกโก้จะมีเมล็ดโกโก้อยู่ภายใน ซึ่งเมล็ดโกโก้นี้เองที่ถูกนำมาแปรรูปเป็นช็อคโกแลต แต่ก่อนนี้ช็อคโกแลตเคยเป็นของหายากและเป็นของอร่อยเลอเลิศสำหรับคนไฮโซบางกลุ่มเท่านั้น แต่ปัจจุบันช็อคโกแลตเป็นของหวานที่หากินได้ง่ายสำหรับทุกคน โดยประเทศที่ถือว่าผลิตช็อคโกแลตที่ดีที่สุดในโลกก็คือประเทศเบลเยี่ยมนั่นเอง

    ประโยชน์ในการกินช็อคโกแลตนั้นมีมากมาย แต่มีข้อแม้ว่าจะต้องเป็นช็อคโกเเลตแท้เท่านั้น โดยเฉพาะช็อคโกแลตดำ (Dark Chocolate) เพราะจะมีสารฟลาโวนอยด์ ซึ่งเป็นสารแอนติออกซิแดนท์ป้องกันมิให้เกิดคราบไขมันสะสมที่ผนังหลอดเลือดหัวใจ อันเป็นสาเหตุของโรคหัวใจเลือดตีบ การวิจัยยังพบว่าฟลาโวนอยด์ในช็อกโกแลตช่วยป้องกันไม่ให้เกล็ดเลือดแข็งตัว อันเป็นสาเหตุหนึ่งของการอุดตันในหลอดเลือด ป้องกันความดันโลหิตสูงได้ด้วย และที่ว่ากันว่า กินช็อคโกแลตแล้วจะช่วยจิตใจสดชื่นเบิกบานขึ้นนั้น ก็เพราะมีสารคาเฟอีน (Caffeine) ซึ่งเป็นสารช่วยกระตุ้นความกระปรี้กระเปร่าของร่างกาย และกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งสารเอนดอร์ฟินออกมานั่นเอง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เงินมากโอนมาให้พี่ได้ครับ555(deejai)
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ
    อภิมหึมามหาโมทนาสาธุครับ

    .
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ชมพระกรุลำพูนกันต่อดีกว่านะ

    พระสิบสอง ไม่ค่อยพบองค์ที่สมบูรณ์แบบนี้ครับ และบางท่านก็นิยมพระรอดตรงยอดบนสุดของพระสิบสองนี้

    พระปางเปิดโลก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010523.JPG
      P1010523.JPG
      ขนาดไฟล์:
      257.4 KB
      เปิดดู:
      58
    • P1010524.JPG
      P1010524.JPG
      ขนาดไฟล์:
      263.5 KB
      เปิดดู:
      48
    • P1010527.JPG
      P1010527.JPG
      ขนาดไฟล์:
      257 KB
      เปิดดู:
      56
    • P1010525.JPG
      P1010525.JPG
      ขนาดไฟล์:
      193.3 KB
      เปิดดู:
      84
    • P1010526.JPG
      P1010526.JPG
      ขนาดไฟล์:
      184.8 KB
      เปิดดู:
      49
  7. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" colSpan=2>พระพุทธประวัติ

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]เป็นสมุดภาพเล่าพุทธประวัติโดย พระอาจารย์ พยอมกัลยาโณ วาดภาพโดย อาจารย์คำนวณ ชานันโท สำนักพิมพ์ธรรมสภา และสถาบันบันลือ พ.ศ. 2547 เป็นสมุดภาพที่น่ามีไว้ศึกษา อธิบายเข้าใจได้โดยง่าย ภาพสวยงามเรียบง่าย
    [​IMG]ผู้จัดทำขออนุญาตินำมาเป็นตัวอย่างโดยจัดทำเป็น ไฟล์ .jpg จำนวน 154 ภาพ โดยสามารถดาวน์โหลดได้ดังนี้ เพิ่มเติมครับภาพที่ 81-100 (3.81 Mb)ใช้ link นี้นะครับ http://www.easyinsurance4u.com/buddha4u/p-81to100.zip
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอขอบคุณ ที่มา http://www.easyinsurance4u.com/buddh...%20history.htm
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระลีลาถ้ำหีบ สุโขทัย
    http://www.muangboranjournal.com/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=61

    กฤษฎา พิณศรี
    มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์

    สมัยสุโขทัยนิยมสร้างพระพุทธรูปสี่อิริยาบถ คือ นั่ง นอน ยืน และเดิน โดยเฉพาะพระพุทธรูปลอยตัวในอิริยาบถกำลังก้าวเดิน หรือที่นิยมเรียกกันว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • praleela.jpg
      praleela.jpg
      ขนาดไฟล์:
      46 KB
      เปิดดู:
      53
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/วัตถุมงคลในพุทธศาสนา

    วัตถุมงคลในพุทธศาสนา

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    วัตถุมงคลในพุทธศาสนา หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า พระเครื่องราง หรือ พระเครื่อง คือรูปสมมติของพระพุทธเจ้ามีขนาดเล็ก สร้างไว้สำหรับบรรจุไว้ในพุทธเจดีย์ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า และเพื่อสืบทอดพระศาสนา
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] ประวัติการสร้าง

    สันนิษฐานว่าสร้างภายหลังการสร้างพระพุทธรูป (ราว พ.ศ. 500)ปรากฏเห็นเป็นหลักฐานชัดเจนในในสมัยทวารวดี (ราว พ.ศ. 400-พ.ศ. 1200)และ สมัยศรีวิชัย (พ.ศ. 1300) โดยสร้างพระเครื่องขึ้นเพื่อเป็นของที่ระลึกสำหรับผู้ที่มาเคารพสังเวชนียสถาน เพื่อให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ส่วนความหมายของคำว่าพระเครื่องในประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ท่านสั่งเครื่องจักรจากยุโรปมาเพื่อผลิตเหรียญกษาปณ์ ทำให้มีการผลิตเหรียญของเกจิอาจารย์ขึ้น ทำให้เรียกว่าพระที่ทำจากเครื่องจักรว่าพระเครื่องหรือ เรียกพระองค์เล็กๆที่เป็นพระพิมพ์เรียกเหมือนกันว่าพระเครื่อง

    [แก้] ความเชื่อและคตินิยม

    1. พระเครื่องรางส่วนใหญ่ การสร้างสร้างให้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะสามารถสร้างได้จำนวนมาก สำหรับบรรจุในพระพุทธเจดีย์ เพื่อว่าในอนาคตเมื่อพระพุทธศาสนาเสื่อมลง วัตถุต่างๆพังทลายยังสามารถพบรูปสมมุติของพระพุทธเจ้าเพื่อแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรื่องของพระพุทธศาสนา
    2. ใช้เป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกันในการออกศึกสงครามของคนโบราณ เป็นความเชื่อทางไสยศาสตร์อย่างหนึ่ง
    3. ปัจจุบันนิยมนำมาห้อยคอเป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกัน
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    [แก้] พระเครื่องรางที่เป็นที่นิยม
    1. พระกรุต่างๆ (ที่ขุดได้จากพุทธเจดีย์ โบราณสถาน) เช่นพระสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย กำแพงเพชร อู่ทอง อยุธยา รัตนโกสินทร์
    2. พระสมเด็จ เช่น พระสมเด็จวัดระฆัง พระสมเด็จบางขุนพรม พระสมเด็จเกศไชโย พระสมเด็จปิลันทร์ พระสมเด็จวัดหลวงปู่ภู พระผง ๙ สมเด็จเป็นต้น
    3. พระสมเด็จจิตรลดา
    4. พระสมเด็จนางพญา สก.วัดบวรนิเวศวิหารพระสมเด็จนางพญา วัดบวรนิเวศวิหาร มวลสารจิตรลดา
    5. หลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด
    6. เหรียญที่ระลึกรูปพระพุทธรูป เช่น หลวงพ่อโต (อยุธยา) พระพุทธชินราช หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อวัดบ้านแหลม หลวงพ่อวัดเขาตะเครา
    7. เหรียญที่ระลึกรูปพระเกจิอาจารย์ (รูปพระภิกษุสงฆ์) เช่น หลวงปู่ศุข หลวงปู่เอี่ยม หลวงพ่อฉุย เป็นต้น
    8. เหรียญหล่อ เช่น หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง หลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก หลวงพ่อเงิน บางคลาน เป็นต้น
    9. พระปิดตา (พระภควัมบดี)เช่น หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่ทับ หลวงปู่นาค เป็นต้น
    10. พระกริ่ง/พระชัย เช่น พระกริ่งวัดสทัศน์ เป็นต้น
    11. พระของขวัญวัดปากน้ำ หลวงพ่อสด พระมงคลเทพมุนี
    12. พระอื่นๆ เช่น หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก เป็นต้น
    [แก้] พระเครื่องรูปแบบต่างๆ

    <TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    พระสมัยทวารวดี
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระรอด
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระเครื่องสมัยสุโขทัย
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระว่านหน้าทอง
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    พระปางลีลา กำแพงเพชร
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระนางพญา พิษณุโลก
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระปางลีลา สุโขทัย
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระปางเปิดโลก
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    พระปางไสยาสน์
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระซุ้มกอ
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระผงสุพรรณ
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD><TD>
    [​IMG]
    พระสมเด็จวัดระฆัง
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    พระสมเด็จจิตรลดา
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/500
    -->



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] อ้างอิง
    [แก้] ดูเพิ่ม
    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:57194-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080206103459 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2".
    หมวดหมู่: พระพุทธรูป | วัตถุมงคลในพุทธศาสนา | วัตถุมงคล
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.7 KB
      เปิดดู:
      871
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.7 KB
      เปิดดู:
      837
    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.3 KB
      เปิดดู:
      856
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.3 KB
      เปิดดู:
      840
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.3 KB
      เปิดดู:
      854
    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.4 KB
      เปิดดู:
      864
    • 7.jpg
      7.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.5 KB
      เปิดดู:
      850
    • 8.jpg
      8.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.6 KB
      เปิดดู:
      857
    • 9.jpg
      9.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.9 KB
      เปิดดู:
      833
    • 10.jpg
      10.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.7 KB
      เปิดดู:
      841
    • 11.jpg
      11.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.3 KB
      เปิดดู:
      841
    • 12.jpg
      12.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.9 KB
      เปิดดู:
      831
    • 13.jpg
      13.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.2 KB
      เปิดดู:
      840
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?p=952534&posted=1#post952534

    <TABLE class=tborder id=post952534 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">1-2-2551, 09:54 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14368 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]





    ขอเชิญร่วมมหากุศลเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคี
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang02.php

    <TABLE cellPadding=5 width=510 align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>[​IMG]

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๖.ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา



    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระพุทธรูปปางบำเพ็ญทุกรกิริยา วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระพุทธรูปในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) ขัดสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองซ้อนกันบนพระเพลา ( ตัก ) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย เป็นกิริยานั่งสมาธิ มองเห็นพระวรกายซูบผอมจนพระอัฐิ ( กระดูก ) และพระนหารุ ( เส้นเอ็น ) ปรากฏ


    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางบำเพ็ญทุกรกิริยาิ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระบรมโพธิสัตว์ทรงศึกษาจนสำเร็จสมาบัติ ๗ จากสำนักอาฬารดาบสและสมาบัติ ๘ จากสำนักอุทกดาบส อุทกดาบสได้ตั้งพระบรมโพธิสัตว์ไว้ในตำแหน่งอาจารย์เสมอด้วยตนเอง แต่พระบรมโพธิสัตว์เห็นว่าวิชาที่ศึกษามายังมิใช่หนทางแห่งโพธิญาณ จึงอำลาออกจากสำนัก ทรงแสวงหาหนทาง ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ณ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม มีปัญจวัคคีย์ ทั้ง ๕ ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ เป็นอุปัฏฐาก พระบรมโพธิสัตว์ทรงกระทำทุกรกิริยา เช่น ลดอาหารลงทีละน้อยจนถึงงดเสวย ร่างกายซูบผอม พระโลมา ( ขน ) มีรากเน่าหลุดออกมา แลเห็นพระอัฐิได้ชัดเจน ไปทั่วพระวรกาย จะลุกขึ้นก็เซล้มลงไปแทบสิ้นพระชนม์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 6.gif
      6.gif
      ขนาดไฟล์:
      28.9 KB
      เปิดดู:
      2,702
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2008
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang02.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๙.ปางเสวยมธุปายาส

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางเสวยมธุปายาส วัดปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) ขัดสมาธิ ประคองถาดมธุปายาส

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางเสวยมธุปายาส

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    เมื่อนางสุชาดาทูลลากลับไปแล้ว พระบรมโพธิสัตว์เสด็จออกจากร่มไทร ทรงถือถาดข้ามธุปายาส เสด็จไปยังริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา สรงพระวรกาย ( อาบน้ำ ) แล้วประทับริมฝั่งแม่น้ำ หันพระพักตร์สู่ทิศตะวันออก ทรงแบ่งข้าวมธุปายาส ออกเป็น ๔๙ ส่วน แล้วปั้นเป็นก้อน ๔๙ ก้อน แล้วเสวยจนหมด ถือเป็นอาหารทิพย์ที่จะคุ้มได้ถึง ๔๙ วัน ในการเสวยวิมุตติสุขภายหลังการตรัสรู้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 9.gif
      9.gif
      ขนาดไฟล์:
      24.6 KB
      เปิดดู:
      430
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2008
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang04.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๑๙.ปางนาคปรก

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางนาคปรก วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) ขัดสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองวางหงายซ้อนกันบนพระเพลา ( ตัก ) พระหัตถ์ขวาซ้อนทับพระหัตถ์ซ้าย เหมือนปางสมาธิ แต่มีพญานาค ขดร่างเป็นวงกลมเป็นพุทธบัลลังก์ และแผ่พังพานปกคลุมอยู่เหนือพระเศียร

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางนาคปรก

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จออกจากใต้ร่มไทร เสด็จประทับที่ใต้ต้นมุจลินท์ ( ต้นจิก ) ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของต้นพระศรีมหาโพธิ์ ฝนเจือลมหนาวตกพรำอยู่ตลอดเวลา ๗ วันไม่ขาดสาย พญานาคราชชื่อมุจลินท์ ราชาแห่งนาคพิภพได้ขึ้นมาจากบาดาล ขนดกายเป็นพุทธบัลลังก์ แล้วแผ่พังพานเหมือนกั้นเศวตฉัตรถวายพระพุทธองค์ ปกป้องมิให้ลมฝน ยุง เหลือบ ริ้น ไร และสัตว์เลื้อยคลานมาต้องพระวรกาย เมื่อฝนหยุด พญานาคราชจึงจำแลงกายเป็นชายหนุ่มมาถวายนมัสการต่อพระพุทธองค์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 19.gif
      19.gif
      ขนาดไฟล์:
      29.5 KB
      เปิดดู:
      421
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2008
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang06.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๒๙.ปางห้ามญาติ

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางห้ามญาติ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน แบพระหัตถ์ทั้งสองขึ้นเสมอพระอุระ ( อก ) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม เป็นปางเดียวกันกับปางห้ามสมุทร นิยมทำแบบพระทรงเครื่อง


    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางห้ามญาติ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ครั้งหนึ่งเหล่ากษัตริย์ศากยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธบิดา และเหล่ากษัตริย์โกลิยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเพราะเรื่องแย่งน้ำในแม่น้ำโรหิณีเนื่องจากฝนแล้ง น้ำไม่เพียงพอ การทะเลาะวิวาทลุกลามไป จนเกือบกลายเป็นศึกใหญ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบเหตุด้วยพระญาณ จึงเสด็จไปห้ามสงคราม โดยตรัสให้เห็นถึงความไม่สมควรที่กษัตริย์ต้องมาฆ่าฟันกันด้วยสาเหตุเพียงแค่การแย่งน้ำเข้านา และตรัสเตือนสติว่า ระหว่างน้ำกับความเป็นพี่น้อง อะไรสำคัญยิ่งกว่ากัน ทั้งสองฝ่ายจึงได้สติ คืนดีกัน และขอพระราชทานอภัยโทษต่อเบื้องพระพักตร์พระพุทธองค์


    [​IMG]



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๒๘.ปางห้ามสมุทร

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน ยกพระหัตถ์ทั้งสองแบตั้งขึ้นยื่นออกไปข้างหน้า เสมอพระอุระ ( อก ) เป็นกิริยาห้าม บางแบบเป็นพระทรงเครื่อง

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางห้ามสมุทร

    </TD></TR></TBODY></TABLE>ครั้งหนึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปประกาศพระศาสนายังตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ทรงขอประทับอยู่ในสำนักของอุรุเวลกัสสปะ ผู้เป็นหัวหน้าชฎิลซึ่งเป็นที่เลื่อมใสของมหาชนในแคว้นมคธ ทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์นานับประการเพื่อให้อุรุเวลกัสสปะคลายความพยศลง พระองค์ทรงทำปาฏิหาริย์ห้ามน้ำที่ไหลบ่ามาจากทุกสารทิศมิให้เข้ามาในที่ประทับ และเสด็จจงกลมภายในวงล้อมที่มีน้ำเป็นกำแพง เหล่าชฎิลพายเรือมาดู เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงยอมรับในพุทธานุภาพ และขออุปสมบทเป็นพระภิกษุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 29.gif
      29.gif
      ขนาดไฟล์:
      13.5 KB
      เปิดดู:
      418
    • 28.gif
      28.gif
      ขนาดไฟล์:
      12.1 KB
      เปิดดู:
      397
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang09.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD class=style1 width=150 bgColor=#cccccc height=22>๔๓.ปางลีลา

    </TD><TD class=style1></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางลีลา วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน ยกส้นพระบาทขวาสูงขึ้นจากพื้น ปลายพระบาทยังจรดอยู่กับพื้น ( อยู่ในพระอิริยาบถเสด็จพุทธดำเนิน ) พระหัตถ์ขวาห้อยอยู่ในท่าไกว พระหัตถ์ซ้าย ( บางตำนานว่าพระหัตถ์ขวา ) ยกเสมอพระอุระ ( อก ) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ป้องไปเบื้องหน้า บางแบบจีบนิ้วพระหัตถ์

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD class=style1 bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางลีลา

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    เมื่อครั้งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ พร้อมด้วยเหล่าเทวดาและพรหมที่ตามมาส่งเสด็จนั้น ขบวนตามเสด็จมาหยุด ณ ประตูสังกัสสนคร เมืองที่พระสารีบุตรจำพรรษาอยู่ พระพุทธองค์ทรงมีพุทธลีลาและพระสิริงดงามยิ่ง ครอบงำรัศมีของเหล่าเทวดาและพรหมทั้งหลาย เป็นภาพที่งดงามเหนือคำบรรยาย เป็นที่ชื่นชมโสมนัสแก่พุทธบริษัทที่เฝ้ารับเสด็จ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 43.gif
      43.gif
      ขนาดไฟล์:
      25.4 KB
      เปิดดู:
      376
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang09.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=250 bgColor=#cccccc height=22>๔๕.ปางพระอิริยาบถยืน

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางพระอิริยาบถยืน วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน ห้อยพระหัตถ์ทั้งสองข้างลงชิดพระวรกาย ลืมเนตรทอดตรงไปข้างหน้า เป็นกิริยาตรวจความพร้อมเพรียงและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพระสงฆ์สาวก

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางพระอิริยาบถยืน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ในยามเช้าของทุก ๆ วัน ก่อนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จออกโปรดสัตว์จะทรงหยุดยืน ณ หน้ามุขพระคันธกุฏิเสมอ เพื่อทอดพระเนตรความพร้อมเพรียงของหมู่สงฆ์ ครั้นทรงเห็นว่าพระสงฆ์สาวกมีความพร้อมเพรียงและเป็นระเบียบดีแล้ว จึงเสด็จเป็นประธานนำหมู่สงฆ์ออกบิณฑบาต หรือไปในที่ที่ได้รับนิมนต์ไว้ นับเป็นพุทธจริยวัตรที่แสดงถึงพระเมตตาและพระกรุณายิ่งแก่พระสงฆ์ สาวก และทรงเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำหมู่คณะ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 45.gif
      45.gif
      ขนาดไฟล์:
      23.2 KB
      เปิดดู:
      470
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang12.php

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=300 bgColor=#cccccc height=22>๖๐.ปางโปรดพญาชมพูบดีหรือปางทรงเครื่อง

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางโปรดพญาชมพูบดีหรือปางทรงเครื่อง วัดหน้าพระเมรุราชิการาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) ขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา ( ตัก ) พระหัตถ์ขวาวางคว่ำบนพระชานุ ( เข่า ) ทรงเครื่องต้นอย่างพระมหากษัตริย์

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางโปรดพญาชมพูบดีหรือปางทรงเครื่อง

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พญาชมพูบดีผู้มีฤทธิ์เดชมาก มีความริษยาพระเจ้าพิมพิสาร เพราะทรงมีปราสาทงดงามกว่าปราสาทของพระองค์ จึงมารุกรานข่มเหง จนพระเจ้าพิมพิสารต้องหนีไปพึ่งพระบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงเนรมิตพระองค์เองเป็นพระเจ้าราชาธิราชที่งดงามดุจท้าวมหาพรหม และรับสั่งให้ท้าวสักกเทวราชแปลงเป็นราชทูตไปทูลเชิญพญาชมพูบดีมา พญาชมพูบดีตกตะลึงในความงดงามและความยิ่งใหญ่แห่งพระนครของพระราชาธิราช พระพุทธองค์ทรงให้โอกาสพญาชมพูบดีแสดงอิทธิฤทธิ์ แต่ก็พ่ายต่อพระพุทธองค์ จึงทรงบันดาลให้ทุกสิ่งกลับคืนสู่สภาพเดิมและทรงแสดงธรรมโปรด จนพญาชมพูบดีเบื่อหน่ายในราชสมบัติอันไม่ยั่งยืน ทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์ทรงประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาแก่พญาชมพูบดี
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 60.gif
      60.gif
      ขนาดไฟล์:
      27.7 KB
      เปิดดู:
      465
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/pang/pang13.php

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD width=150 bgColor=#cccccc height=22>๖๑.ปางปาลิไลยก์

    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระพุทธรูปปางปาลิไลยก์ วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) บนก้อนศิลา พระบาททั้งสองวางอยู่บนดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายขวาวางคว่ำบนพระชานุ ( เข่า ) พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุนิยมสร้างช้างหมอบใช้งวงจับกระบอกน้ำ อีกด้านหนึ่งมีลิงถือรวงผึ้งถวาย

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" align=center background=../pics/blackbg.gif border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=22>ความเป็นมาของปางปาลิไลยก์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ครั้งหนึ่งพระภิกษุในวัดโฆสิตาราม กรุงโกสัมพี ทะเลาะวิวาทกัน ประพฤติตนเป็นผู้ว่านอนสอนยาก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงระอาพระทัยจึงเสด็จไปจำพรรษาอยู่ในป่าแถบหมู่บ้านปาลิเลยยกะ โดยมีพญาช้าปาลิเลยยกะและลิงตัวหนึ่งเป็นอุปัฏฐาก ครั้นออกพรรษา พระอานนท์พร้อมด้วยคณะพระภิกษุได้มากราบทูลอาราธนาพระพุทธองค์ให้เสด็จกลับพระเชตวันมหาวิหาร หลังจากพระพุทธองค์เสด็จกลับ พญาช้างเสียใจล้มลงขาดใจตาย บรรดาพระภิกษุผู้ว่ายากเมื่อทราบว่าพระพุทธองค์เสด็จกลับมายังพระเชตวันมหาวิหาร ก็รีบเดินทางมาเข้าเฝ้าเพื่อแสดงความสำนึกผิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 61.gif
      61.gif
      ขนาดไฟล์:
      28.8 KB
      เปิดดู:
      435

แชร์หน้านี้

Loading...