พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-4.htm

    [​IMG] คำนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=4>..........อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอยอกรบวรวันทนา ประนมนิ้วหัตถาขึ้นเหนือเศียร ต่างรัตนประทีปธูปเทียนแก้วเจ็ดประการ แลโกสุมสุมามาลย์ประทุมชาติอันโชติช่วงช่อชั้นวิจิตร แจ่มจำรัสสุนทโรภาส ด้วยเมื่อองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถศาสดาจารย์ญาณสัพพัญญูบรมครูเจ้า เสด็จเข้าสู่พระปรินิพพาน พระองค์ทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้ สิริพระบรมธาตุทั้งหลายน้อยใหญ่ตวงได้สิบหกทะนานทอง พระรากขวัญทั้งสองพระเขี้ยวแก้วสี่ กับพระศรีอุณหิศหนึ่ง นับรวมกันได้ครบเป็นเจ็ดองค์ นี้แลคงตามสภาวะเดิม อันจะแหลกลาญด้วยเพลิงสังหารนั้นหามิได้ แต่พระอัฐิน้อยใหญ่ทั้งหลายนั้นไซร้พลันเพลิงไหม้สังหารละเอียดลง ยังคงแต่พระบรมสารีริกธาตุสามสถาน ใหญ่น้อยปานกลางมีประมาณต่างกันพระบรมธาตุขนาดใหญ่นั้น มีประมาณเท่าเมล็ดถั่วหักตักตวงได้ห้าทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานประมาณแม้นเหมือนหนึ่งพรรณทองอุไร พระบรมธาตุขนาดกลางนั้นไซร้ มีประมาณเท่าเมล็ดข้าวสารหัก ตักตวงได้ห้าทะนานทรงพระบวรสัณฐานประมาณเหมือนพรรณแววแก้วผลึกอันเลื่อนลอย พระบรมธาตุขนาดน้อยประมาณแม้นเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาดตวงได้หกทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานดังพรรณ สีดอกบุปผชาติพิกุลอดุลย์ใสสี พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ หมู่มนุษย์และเทวะนิกรอมรอินทร์พรหมภิรมย์ พากันเชิญเสด็จไปประดิษฐานรักษาไว้ พระบรมธาตุองค์ใหญ่ คือ พระรากขวัญซ้าย สถิตอยู่ชั้นพรหมา พระรากขวัญเบื้องขวากับพระนลาตะอุณหิศ เสด็จสถิตอยู่เมืองอนุราชสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องบน อยู่ดาวดึงษาสวรรค์ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องล่างนั้น สถิตอยู่เกาะแก้วลังกาสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องบนอยู่เมืองคันธาระวิไสย พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องล่างนั้นไซร้ สถิตอยู่เมืองนาคสถาน แต่พระบรมสารีริกธาตุทั้งสิบหกทะนานนั้น ประดิษฐานไว้ในแผ่นพื้นภูมิภาคแห่งพระนครทั้งแปด คือ เมืองราชคฤหบุรี เมืองเวสาลีสวัสดิ์ เมืองกบิลพัสดุ์มหานคร เมืองอัลปะกะบุรีรมย์ แลบ้านพราหมณ์นิคมเขต เมืองเทวะทะหะประเทศ เมืองปาวายะบุรินทร์ และเมืองโกสินรายน์ พระเกศา โลมา นะขา ทันตา ทั้งหลาย เรี่ยรายประดิษฐานอยู่ทุกทิศทั่วทั้งจักรวาล ฝ่ายพระพุทธบริขารคือ บาตรแลจีวรท่อนผ้าสันถัตรัดประคดใน สมุกเหล็กไฟกล่องเข็มผ้ากรองน้ำธะมะการก วัสสิกะสาฏก ผ้าชุบสรง หนังนิสิทน์มีดโกนตลกบาตรเครื่องลาด แท่นพระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาทธาตุบริขารทั้งหลายนี้ องค์ขัติยาธิบดีพราหมณ์มหาศาลผู้เลื่อมใสกมลมาล ประกอบไปด้วยศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ได้อัญเชิญพระบรมธาตุบริขารสิบหกสิ่งนี้ไปประดิษฐานไว้ทั้งสิบเมือง ต่างกระทำสักการบูชารุ่งเรืองเห็นปรากฏ
    ..........
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-5.htm

    [​IMG] บทนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>อิติปิโส ภะคะวา</TD><TD bgColor=#fffff9>มือข้าพเจ้าสิบนิ้ว </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ยกเหนือหว่างคิ้ว</TD><TD bgColor=#f0f7ff>ต่างธูปเทียนทอง </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>วงภักตร์โสภา</TD><TD bgColor=#fffff9>ต่างมาลากรอง</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ดวงเนตรทั้งสอง</TD><TD bgColor=#f0f7ff>ต่างประทีบถวาย</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>ผมเผ้าเกล้าเกศ </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ต่างประทุมเมศ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>บัวทองพรรณราย </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>วาจาเพราะผ่อง</TD><TD bgColor=#fffff9>ต่างละอองจันทร์ฉาย</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ดวงจิตขอถวาย</TD><TD bgColor=#f0f7ff>ต่างรสสุคนธา</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระบรมธาตุ </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>พระโลกนาถ</TD><TD bgColor=#f0f7ff>อรหันตสัมมา</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>ทั้งสามขนาด</TD><TD bgColor=#fffff9>โอภาสโสภา</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ทั้งหมดคณนา</TD><TD bgColor=#f0f7ff>สิบหกทะนาน</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระธาตุขนาดใหญ่</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>สีทองอุไร </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ทรงพรรณสัณฐาน</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>เท่าเมล็ดถั่วหัก</TD><TD bgColor=#fffff9>ตวงตักประมาณ</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ได้ห้าทะนาน</TD><TD bgColor=#f0f7ff>ทองคำพอดี</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระธาตุขนาดกลาง</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ทรงสีสรรพางค์</TD><TD bgColor=#f0f7ff>แก้วผลึกมณี </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>เท่าเมล็ดข้าวสารหัก </TD><TD bgColor=#fffff9>ประจักษ์รัศมี</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ประมาณมวลมี</TD><TD bgColor=#f0f7ff>อยู่ห้าทะนาน</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>ขนาดน้อยพระธาตุ</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เท่าเมล็ดผักกาด</TD><TD bgColor=#f0f7ff>โอภาสสัณฐาน </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>สีดอกพิกุล</TD><TD bgColor=#fffff9>มนุญญะการ</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>มีอยู่ประมาณ</TD><TD bgColor=#f0f7ff>หกทะนานพอดี</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระธาตุน้อยใหญ่</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>สถิตอยู่ใน</TD><TD bgColor=#f0f7ff>องค์พระเจดีย์ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>ทั่วโลกธาตุ </TD><TD bgColor=#fffff9>โอภาสรัศมี </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ข้าฯขออัญชลี </TD><TD bgColor=#f0f7ff>เคารพบูชา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระธาตุพิเศษ </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เจ็ดองค์ทรงเดช </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ทรงคุณเหลือตรา</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>อินทร์พรหมยมยักษ์ </TD><TD bgColor=#fffff9>เทพพิทักษ์รักษา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ข้าฯขอบูชา </TD><TD bgColor=#f0f7ff>วันทาอาจิณ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>หนึ่งพระรากขวัญ</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เบื้องขวาสำคัญ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>อยู่ชั้นพรหมินทร์ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>มวลพรหมโสฬส </TD><TD bgColor=#fffff9>ประณตนิจสิน </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>บูชาอาจิณ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>พร้อมด้วยกายใจ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>สองพระรากขวัญ </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เบื้องซ้ายสำคัญ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>นั้นอยู่เมืองไกล </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>สามพระอุณหิส </TD><TD bgColor=#fffff9>สถิตร่วมใน </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เจดีย์อุไร </TD><TD bgColor=#f0f7ff>อนุราธะบุรี </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>สี่พระเขี้ยวแก้ว </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ขวาบนพราวแพรว </TD><TD bgColor=#f0f7ff>โอภาสรัศมี </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>อยู่ดาวดึงส์สวรรค์ </TD><TD bgColor=#fffff9>มหันตะเจดีย์ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>พระจุฬามณี </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ทวยเทพสักการ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>ห้าพระเขี้ยวแก้ว </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ขวาล่างพราวแพรว</TD><TD bgColor=#f0f7ff>โอภาสไพศาล </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>สถิตเกาะแก้ว </TD><TD bgColor=#fffff9>ลังกาโอฬาร</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เป็นที่สักการ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ของประชากร </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>หกพระเขี้ยวแก้ว</TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ซ้ายบนพราวแพรว </TD><TD bgColor=#f0f7ff>เพริดพริ้งบวร </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>สถิตคันธาระ</TD><TD bgColor=#fffff9>วินัยนคร</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ชุมชนนิกร </TD><TD bgColor=#f0f7ff>นมัสการ</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>เจ็ดพระเขี้ยวแก้ว </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ซ้ายล่างพราวแพรว </TD><TD bgColor=#f0f7ff>รัศมีโอฬาร </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>สถิต ณ พิภพ </TD><TD bgColor=#fffff9>เมืองนาคสถาน</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ทุกเวลากาล </TD><TD bgColor=#f0f7ff>นาคน้อมบูชา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>พระธาตุสรรเพชร </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>เจ็ดองค์พิเศษ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>นิเทศพรรณนา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>ทรงคุณสูงสุด </TD><TD bgColor=#fffff9>มนุษย์เทวา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>พากันบูชา </TD><TD bgColor=#f0f7ff>เคารพนิรันดร์ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>ด้วยเดชบูชา </TD><TD bgColor=#fffff9>ธาตุพระสัมมา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>สัมพุทธภควันต์ </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ขอให้สิ้นทุกข์ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>อยู่เป็นสุขสันต์ </TD><TD bgColor=#fffff9>นิราศภัยอันตราย บีฑา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>แม้นเกิดชาติใด </TD><TD bgColor=#f0f7ff>ขอให้อยู่ใน พระศาสนา</TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>รักธรรมดำเนิน </TD><TD bgColor=#fffff9>จำเริญเมตตา </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>ศีลทานภาวนา </TD><TD bgColor=#f0f7ff>กำจัด โลโภ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#fffff9 colSpan=2>พ้นจากอาสวะ</TD><TD bgColor=#fffff9>โทโส โมหะ </TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD colSpan=2></TD><TD></TD></TR><TR><TD width="2%"></TD><TD bgColor=#f0f0f0 colSpan=2>ตามพระพุทโธ </TD><TD bgColor=#f0f0f0></TD></TR><TR><TD></TD><TD bgColor=#f0f7ff colSpan=2>อะหัง วันทามิ ธาตุโย </TD><TD bgColor=#f0f7ff>อะหัง วันทามิ สัพพะโส</TD></TR></TBODY></TABLE>

    โดย คุณพรพิชญ์ กอวัฒนสกุล พิมพ์ส่งมา
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-xp.htm

    [​IMG] สรงน้ำพระธาตุ [​IMG]
    การสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุ เป็นประเพณีความเชื่อดั้งเดิมมาแต่โบราณ ที่นิยมกระทำเป็นประจำทุกปี เปรียบเสมือนการได้สรงน้ำพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ทั้งหลาย โดยทั่วไปจะกระทำในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา หรือ วันงานเทศกาลประจำปี เช่น สงกรานต์ เป็นต้น และวิธีปฏิบัติในการสรงน้ำ ก็จะแตกต่างกันไป แล้วแต่ความเชื่อและความศรัทธาของแต่ละท้องที่นั้นๆ หรือ แล้วแต่บุคคล
    เมื่อได้ประมวลวิธีการต่างๆตามที่ได้พบเห็นมา มีด้วยกัน 2 ลักษณะ ดังนี้

    <TABLE cellPadding=5 width="100%" bgColor=#ffffea border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>1.สรงน้ำองค์พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุโดยตรงวิธีนี้แบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการ คือ
    1.1 อัญเชิญองค์พระธาตุลงบนผ้าขาวบาง ซึ่งขึงอยู่บนปากภาชนะรองรับน้ำ ทำการสรงน้ำโดยค่อยๆรดสรงลงบนองค์พระธาตุ วิธีการนี้น้ำจะไหลผ่านองค์พระธาตุ ซึมลงสู่ผ้าขาวและไหลรวมสู่ภาชนะที่รองรับด้านล่าง
    1.2 ใส่น้ำที่จะใช้สำหรับสรงองค์พระธาตุ ลงในภาชนะ ค่อยๆช้อนองค์พระธาตุลงในภาชนะ เมื่อสรงเสร็จแล้วจึงอัญเชิญขึ้นจากน้ำ (* สำหรับวิธีนี้ ไม่ให้สนใจว่าองค์พระธาตุจะลอยหรือจม เพราะไม่ใช่การลอยน้ำทดสอบพระธาตุ ซึ่งอาจเข้าข่ายปรามาสองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือพระสาวกองค์นั้นๆได้)

    <TABLE borderColor=#666666 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top align=middle><TD width="50%">
    [​IMG]วิธีการที่ 1.1
    </TD><TD width="50%">
    [​IMG]วิธีการที่ 1.2
    </TD></TR></TBODY></TABLE>ทั้งนี้ เมื่อทำการสรงน้ำเป็นที่เรียบร้อยแล้ว พึงอัญเชิญองค์พระธาตุขึ้น แล้วซับให้แห้ง ก่อนจะอัญเชิญบรรจุลงในภาชนะตามเดิม
    2.สรงน้ำภาชนะหรือสถานที่บรรจุองค์พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุ
    วิธีการนี้นิยมใช้สำหรับสรงน้ำพระบรมธาตุเจดีย์โดยทั่วไป, เจดีย์บรรจุพระธาตุที่ปิดสนิท หรือ ต้องการความสะดวกรวดเร็ว ในกรณีที่มีผู้ร่วมสรงน้ำเป็นจำนวนมาก โดยการตักน้ำที่ใช้สำหรับสรง ราดไปบนพระเจดีย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG] น้ำที่ใช้ในการสรง [​IMG]
    น้ำที่นำมาใช้ในการสรงพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุนั้น มีวิธีการเตรียมคล้ายกับการเตรียมน้ำ เพื่อใช้สำหรับสรงน้ำพระพุทธรูป ซึ่งการจะเลือกใช้แบบใดนั้น ก็ขึ้นอยู่กับความเชื่อและเหตุผลของแต่ละบุคคล รวมถึงความสะดวกในการจัดหาด้วย เมื่อทำการสรงเสร็จแล้ว น้ำที่ผ่านการสรงองค์พระธาตุ นิยมนำมาประพรมเพื่อเป็นสิริมงคล เสมือนหนึ่งน้ำพระพุทธมนต์ซึ่งน้ำที่ใช้ในการสรงพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุนั้น แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
    1. น้ำสะอาดบริสุทธิ์
    ............มีผู้อธิบายว่า สาเหตุที่ต้องใช้น้ำบริสุทธิ์ในการสรงน้ำองค์พระธาตุนั้น เนื่องจากว่า องค์พระธาตุนั้น เกิดมาแต่ผู้บริสุทธิ์ ธาตุเหล่านั้นจึงเป็นของบริสุทธิ์ ไม่สมควรจะเอาสิ่งใดๆก็ตาม เจือปนลงไปแปดเปื้อนองค์พระธาตุ แต่อีกเหตุผลกล่าวว่า ในน้ำหอมหรือดอกไม้ อาจมีสารใดๆก็ตามเจือปน จนอาจทำให้องค์พระธาตุหมองลงได้
    2. น้ำสะอาดเจือด้วยสิ่งบูชา
    ............น้ำลักษณะนี้นิยมใช้สรงน้ำพระธาตุโดยทั่วไป นัยว่าได้ถวายเป็นอามิสบูชาต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระอรหันตสาวกทั้งปวง ซึ่งสิ่งบูชาที่เจือลงในน้ำก็แล้วแต่ความชอบ และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น ยกตัวอย่างเช่น น้ำหอม น้ำอบ ดอกไม้ กลีบดอกไม้ หรือ ฝักส้มป่อย เป็นต้น
    <TABLE cellSpacing=5 width="100%" bgColor=#e2d9ff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG] คำอาราธนาพระธาตุออกสรงน้ำ
    โย สนฺนิสินโน วรโพธิมูเล มารํ สเสนํ สุชิตํ วิเชยฺย
    สมฺโพติมาคจฺฉิ อนนฺตญาโณ โลกุตฺตโม ตํ ปณมามิ พุทธํ
    สาธุ โอกาสะ ข้าแต่องค์พระมหาชินธาตุเจ้า วันนี้ก็เป็นวันดีดิถีอันวิเศษ เหตุว่าสมณะศรัทธาและมูละศรัทธาผู้ข้าทั้งหลาย ทั้งภายในและภายนอก ภายในอันมี.................. ภายนอกมี..................... (ถ้าจะออกชื่อประธานในที่นั้นก็ให้เติมเข้า ภายในหมายถึงบรรพชิต ภายนอกคือคฤหัสถ์) ก็ได้ขวนขวายตกแต่งน้อมนำมา ยังทีปบุปผาลาชาดวงดอก ข้าวตอกดอกไม้และลำเทียน เพื่อจักว่าขอนิมันตนายังองค์พระมหาชินธาตุเจ้า เสด็จออกไปอาบองค์สรงสระ วันสันนี้แท้ดีหลี (ถ้านิมนต์ไปด้วยเหตุใดที่ไหน ก็ให้เปลี่ยนไปตามเรื่องที่นิมนต์ไป) ขอองค์พระมหาชินธาตุเจ้า จงมีธรรมเมตตาเอ็นดูกรุณา ปฏิคคหะรับเอายังทีปบุปผาลาชาดวงดอก ข้าวตอกดอกไม้และลำเทียนแห่งสมณะศรัทธา และมูลศรัทธา ผู้ข้าทั้งหลายว่าวันสันนี้แท้ดีหลี
    อิทํ โน ทีปปุปผาลาชทานํ นิมตฺตนํ นิพฺพานปจฺจโย นิจฺจํฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=5 width="100%" bgColor=#d5ffd5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG] คำขอโอกาสสรงน้ำพระธาตุ
    (ก่อนจะสรงน้ำพระธาตุให้ยกขันน้ำหอมขึ้นใส่หัว แล้วผู้เป็นหัวหน้าว่าคำขอโอกาสดังนี้)
    โย สนฺนิสินโน วรโพธิมูเล มารํ สเสนํ สุชิตํ วิเชยฺย
    สมฺโพติมาคจฺฉิ อนนฺตญาโณ โลกุตฺตโม ตํ ปณมามิ พุทธํ
    สาธุ โอกาสะ ข้าแต่องค์พระมหาชินธาตุเจ้า วันนี้ก็เป็นวันดีดิถีอันวิเศษ เหตุว่าสมณะศรัทธาและมูลศรัทธาผู้ข้าทั้งหลาย ก็ได้ขวนขวายตกแต่งน้อมนำมา ยังทีปบุปผาลาชาดวงดอก ข้าวตอกดอกไม้ ลำเทียนและน้ำสุนโธทกะ เพื่อว่าจะมาขออาบองค์สระสรงยังองค์พระมหาชินธาตุเจ้าว่า สันนี้แท้ดีหลี โดยดั่งผู้ข้าจักเวนตามปาฐะ
    สาธุ โอกาส มยํ ภนฺเต ทีปปุผาลาชทานํ อเภขฺขอสาธารณ
    สพฺพโลกิยโลกุตฺตร มคฺคผล นิพฺพานปจฺจโยโหตุ โน นิจฺจํ ฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=952534&posted=1#post952534

    <TABLE class=tborder id=post952534 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">1-2-2551, 09:54 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14368 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]




    ขอเชิญร่วมมหากุศลเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคี
    “มาฆะบูชา”<O:p</O:p
    จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ กอง กองละ ๑๐๐ บาท<O:p</O:p
    ร่วมสร้าง<O:p</O:p
    พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และ ฉัตรประธานเจดีย์<O:p</O:p
    เพื่อประดิษฐาน ณ พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    พุทธบูชา มหาเตโช
    ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
    สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    กำหนดการ<O:p</O:p
    วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑<O:p</O:p
    ตรงกับวันมาฆะบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓<O:p</O:p
    เวลา ๑๐.๐๐ น.ถวายผ้าป่า
    ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายสงฆ์<O:p</O:p
    พระธวัชชัย ชาครธัมโม<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายฆารวาส<O:p</O:p
    ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร<O:p</O:p
    และคณะศิษยานุศิษย์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ตามที่สำนักสงฆ์ผาผึ้ง ร่วมกับคณะพุทธบริษัทได้ดำเนินโครงการจัดสร้าง พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง มานับตั้งแต่ปลายปีพ.ศ.2549 เป็นต้นมานั้น ขณะนี้การก่อสร้างองค์พระเจดีย์ได้ดำเนินการใกล้แล้วเสร็จสมบูรณ์ การดำเนินการในลำดับต่อไปคือการสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” เพื่อประดิษฐานรายรอบพระเจดีย์ รวมทั้งการจัดสร้าง “ฉัตรประธานเจดีย์” และองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อบรรจุไว้ภายในพระเจดีย์ เช่นพระพุทธรูปทองคำ ,พระพุทธรูปเงิน ,เจดีย์หินอ่อน ,เจดีย์ทองคำองค์เล็กเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เป็นต้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    การสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” ถือเป็นพุทธบูชาแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ในภัทรกัปป์นี้ คือ<O:p</O:p
    ๑.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกกุสันโธพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๒.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระโกนาคมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๓.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกัสสปพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๔.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระสมณโคดมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๕.พระศรีอาริยเมตไตรย์พุทธเจ้า<O:p</O:p
    โดยจะจัดสร้างพระพุทธรูปขนาดหน้าตักกว้าง ๓๕ นิ้ว รูปแบบพระเชียงแสน ปางต่างๆ คือ ปางสมาธิ ,ปางประทานพร ,ปางมารวิชัย ,ปางปฐมเทศนา และปางจักรพรรดิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับ”ฉัตรประธานเจดีย์” ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ผู้ชำนาญเฉพาะของกรมศิลปากร จัดสร้างเป็นฉัตร ๙ ชั้น ลงรักปิดทอง ฉลุลายโปร่ง มีลวดลายดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ประดับด้วยแก้วมณีหลากสี ปลายยอดสุดของฉัตรพระเจดีย์ ประดับบัวยอดฉัตรทองคำ ทำด้วยทองคำบริสุทธิ์ ๙๙.๙๙ % อันแสดงถึงตำแหน่งของอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันเป็นการบรรลุธรรมชั้นสูงสุดของพระพุทธศาสนา
    <O:p</O:p
    ขออำนาจอันศักดิ์สิทธิ์แห่งคุณพระศรีรัตนตรัยอันมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกพระองค์ พระอรหันต์เจ้าและครูบาอาจารย์ผู้ทรงพระคุณทั้งหลาย รวมทั้งอนิสงส์ผลบุญที่ท่านได้ร่วมในบุญอันประเสริฐครั้งนี้ ขอเป็นพลปัจจัยส่งผลให้ท่านถึงพร้อมด้วยความเจริญรุ่งเรือง สมบูรณ์พูนผลในมนุษย์สมบัติทุกๆด้าน ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสมประสงค์ในสิ่งที่ปรารถนาไว้ทุกประการจนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพานเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ

    <O:p
    สำหรับงานผ้าป่ามหากุศล ที่สนส.ผาผึ้ง ผมมาแจ้งรายละเอียดพระพิมพ์ที่ผมจะมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 12,000 บาท ได้รับล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนา มีทั้งหมด 10 ชุด คงเหลือ 7 ชุด (ทางพี่แอ๊ว 1 ชุด ,คุณnongnooo 1 ชุด,คุณkaipc 1 ชุด)

    แต่สำหรับท่านที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 40,000 บาท ผมจึงจะมอบล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนาให้ 1 ชุดครับ


    [​IMG]

    ส่วนท่านที่ร่วมทำบุญ 2,000 บาท ผมมอบพระสมเด็จอกครุฑ ให้ 1 องค์ มีทั้งหมด 5 องค์ (ไม่มีรูป) คงเหลือ 3 องค์ (คุณเทพารักษ์ 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 1 องค์)

    แต่ถ้าท่านใดไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 5,000 บาท ผมจึงมอบพระสมเด็จอกครุฑให้ 1 องค์ครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 1,000 บาท ผมมอบพระปิดตาวังหน้าสองหน้า (มีทั้งเนื้อสีขาวและสีดำ) 1 องค์ มีทั้งหมด 20 องค์ (สีละ 10 องค์) คงเหลือ 17 องค์ (คุณตั้งจิต 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 2 องค์)
    [​IMG]

    พระพิมพ์ที่ผมมอบให้ท่านที่ร่วมทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ นั้น มีความแตกต่างกันกับพระพิมพ์รุ่นเดียวกัน(องค์เดิมและองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม)อย่างสิ้นเชิง โดยผมได้นำพระพิมพ์ของวังหน้า นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกด้วยกัน 3 ครั้ง


    1.ครั้งแรกในเดือน มกราคม 2550
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    2.ครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
    ผมนำพระพิมพ์เข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สองว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2

    พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า
    ลงประวัติและคำบูชา(บทสวด)ด้วยครับ

    กระทู้ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    เริ่มตั้งแต่กระทู้หมายเลข # 3116
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=312
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=313

    และ # 3161
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22445&page=317



    พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2 องค์ผู้อธิษฐานจิต พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า,พระอุปคุตเถระเจ้าและหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตให้ ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม ผมไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ

    3.ครั้งที่สามในเดือน เมษายน (วันเสาร์ที่ 7 เมษายน 2550)
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สาม นี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 3 รุ่นฟ้าลิขิต
    ได้รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุธสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้ (ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตพระพิมพ์เดิม ผมขอสงวนสิทธิ์ไม่แจ้งให้ทราบครับ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ) พลังอิทธิคุณครอบจักรวาล<O:p</O:p
    <O:p</O:pท่านใดที่บูชาไปแล้ว ขอให้แยกเก็บจากพระพิมพ์ทั่วๆไป และเก็บไว้ในที่สูง อีกเรื่องคือให้ระวังการปรามาสให้จงหนัก กรรมเร็วและแรงมากครับ<O:p</O:p
    </O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=tcat colSpan=2>ใครตอบบ้าง? ข้อความทั้งหมด: 14,765
    </TD></TR><TR><TD class=thead width="100%">User Name</TD><TD class=thead>ข้อความ</TD></TR><TR><TD class=alt1>sithiphong </TD><TD class=alt1>8,650</TD></TR><TR><TD class=alt2>:::เพชร::: </TD><TD class=alt2>989</TD></TR><TR><TD class=alt1>ตั้งจิต </TD><TD class=alt1>625</TD></TR><TR><TD class=alt2>chaipat </TD><TD class=alt2>604</TD></TR><TR><TD class=alt1>nongnooo </TD><TD class=alt1>573</TD></TR><TR><TD class=alt2>aries2947 </TD><TD class=alt2>498</TD></TR><TR><TD class=alt1>guawn </TD><TD class=alt1>311</TD></TR><TR><TD class=alt2>พันวฤทธิ์ </TD><TD class=alt2>187</TD></TR><TR><TD class=alt1>MOUNTAIN </TD><TD class=alt1>166</TD></TR><TR><TD class=alt2>narongwate </TD><TD class=alt2>162</TD></TR><TR><TD class=alt1>ขุนท้าว... </TD><TD class=alt1>129</TD></TR><TR><TD class=alt2>นักเดินทาง </TD><TD class=alt2>108</TD></TR><TR><TD class=alt1>khomeraya </TD><TD class=alt1>65</TD></TR><TR><TD class=alt2>โสระ </TD><TD class=alt2>61</TD></TR><TR><TD class=alt1>กุ้งมังกอน </TD><TD class=alt1>59</TD></TR><TR><TD class=alt2>drmetta </TD><TD class=alt2>58</TD></TR><TR><TD class=alt1>Casanova </TD><TD class=alt1>51</TD></TR><TR><TD class=alt2>thanyaka </TD><TD class=alt2>48</TD></TR><TR><TD class=alt1>kaicp </TD><TD class=alt1>43</TD></TR><TR><TD class=alt2>ton344 </TD><TD class=alt2>43</TD></TR><TR><TD class=alt1>wichitt </TD><TD class=alt1>43</TD></TR><TR><TD class=alt2>เชน </TD><TD class=alt2>41</TD></TR><TR><TD class=alt1>นายสติ </TD><TD class=alt1>40</TD></TR><TR><TD class=alt2>rinnn </TD><TD class=alt2>38</TD></TR><TR><TD class=alt1>littlelucky </TD><TD class=alt1>37</TD></TR><TR><TD class=alt2>sira </TD><TD class=alt2>36</TD></TR><TR><TD class=alt1>พุทธันดร </TD><TD class=alt1>32</TD></TR><TR><TD class=alt2>พรหมประกาศิต </TD><TD class=alt2>32</TD></TR><TR><TD class=alt1>teerachaik </TD><TD class=alt1>29</TD></TR><TR><TD class=alt2>Chayaporn </TD><TD class=alt2>28</TD></TR><TR><TD class=alt1>เทพารักษ์ </TD><TD class=alt1>27</TD></TR><TR><TD class=alt2>อู๊ดลาดพร้าว </TD><TD class=alt2>26</TD></TR><TR><TD class=alt1>hongsanart </TD><TD class=alt1>26</TD></TR><TR><TD class=alt2>khongbeng </TD><TD class=alt2>26</TD></TR><TR><TD class=alt1>ใจสติปัญญา </TD><TD class=alt1>24</TD></TR><TR><TD class=alt2>kwok </TD><TD class=alt2>24</TD></TR><TR><TD class=alt1>grasib </TD><TD class=alt1>22</TD></TR><TR><TD class=alt2>kittipongc </TD><TD class=alt2>22</TD></TR><TR><TD class=alt1>มหาหิน </TD><TD class=alt1>21</TD></TR><TR><TD class=alt2>พิมพาภรณ์ </TD><TD class=alt2>20</TD></TR><TR><TD class=alt1>ลัก...ยิ้ม </TD><TD class=alt1>18</TD></TR><TR><TD class=alt2>nathaphat </TD><TD class=alt2>18</TD></TR><TR><TD class=alt1>ยอด </TD><TD class=alt1>17</TD></TR><TR><TD class=alt2>tawatd </TD><TD class=alt2>16</TD></TR><TR><TD class=alt1>woottipon </TD><TD class=alt1>16</TD></TR><TR><TD class=alt2>พสภัธ </TD><TD class=alt2>14</TD></TR><TR><TD class=alt1>s3057780 </TD><TD class=alt1>14</TD></TR><TR><TD class=alt2>ศ.รุ่งเรือง </TD><TD class=alt2>13</TD></TR><TR><TD class=alt1>โชคชัยชนะ </TD><TD class=alt1>13</TD></TR><TR><TD class=alt2>MEA </TD><TD class=alt2>13</TD></TR><TR><TD class=alt1>AnGeliQue </TD><TD class=alt1>13</TD></TR><TR><TD class=alt2>Phocharoen </TD><TD class=alt2>13</TD></TR><TR><TD class=alt1>mkk </TD><TD class=alt1>12</TD></TR><TR><TD class=alt2>Pichet-m </TD><TD class=alt2>12</TD></TR><TR><TD class=alt1>ลูกวัดท่าซุง </TD><TD class=alt1>11</TD></TR><TR><TD class=alt2>sacrifar </TD><TD class=alt2>11</TD></TR><TR><TD class=alt1>ชาตรี ช้างน้อย </TD><TD class=alt1>11</TD></TR><TR><TD class=alt2>Sunny </TD><TD class=alt2>10</TD></TR><TR><TD class=alt1>sanya </TD><TD class=alt1>10</TD></TR><TR><TD class=alt2>chirakit </TD><TD class=alt2>10</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=tcat colSpan=2>ใครตอบบ้าง? ข้อความทั้งหมด: 14,765
    </TD></TR><TR><TD class=thead width="100%">User Name</TD><TD class=thead>ข้อความ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt1>Settsan </TD><TD class=alt1>9</TD></TR><TR><TD class=alt2>ksuchet </TD><TD class=alt2>8</TD></TR><TR><TD class=alt1>mail2wissnu </TD><TD class=alt1>8</TD></TR><TR><TD class=alt2>dangcarry </TD><TD class=alt2>8</TD></TR><TR><TD class=alt1>Dej Amarin </TD><TD class=alt1>8</TD></TR><TR><TD class=alt2>boy9798 </TD><TD class=alt2>7</TD></TR><TR><TD class=alt1>เสขะ </TD><TD class=alt1>7</TD></TR><TR><TD class=alt2>tg22070 </TD><TD class=alt2>7</TD></TR><TR><TD class=alt1>Windwaker </TD><TD class=alt1>7</TD></TR><TR><TD class=alt2>Vilaiwanna </TD><TD class=alt2>7</TD></TR><TR><TD class=alt1>boko0121 </TD><TD class=alt1>7</TD></TR><TR><TD class=alt2>active </TD><TD class=alt2>7</TD></TR><TR><TD class=alt1>พรรณศิริ </TD><TD class=alt1>6</TD></TR><TR><TD class=alt2>Akkra1978 </TD><TD class=alt2>6</TD></TR><TR><TD class=alt1>Specialized </TD><TD class=alt1>6</TD></TR><TR><TD class=alt2>Ratanatai </TD><TD class=alt2>6</TD></TR><TR><TD class=alt1>roy04 </TD><TD class=alt1>6</TD></TR><TR><TD class=alt2>ตี๋เต๋วเป็ด </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>sodalith </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>so_ta57 </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>Chatchaic </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>ธัญญ์นิธิ </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>minie20 </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>พระยาเดโชชัยมือศึก </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>newcomer </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>kasin84000 </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>prapa </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>paranyu </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>khochpaak </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>art0405 </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>tokey </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>รัช </TD><TD class=alt2>5</TD></TR><TR><TD class=alt1>จักรพันธ์2514 </TD><TD class=alt1>5</TD></TR><TR><TD class=alt2>หัวหอม </TD><TD class=alt2>5</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=tcat colSpan=2>ใครตอบบ้าง? ข้อความทั้งหมด: 14,765
    </TD></TR><TR><TD class=thead width="100%">User Name</TD><TD class=thead>ข้อความ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt1>yellow </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>พรหมฤทธิ์ </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>Robert </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>Wibool </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>ลิดา </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>โลกิยะ </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>ตามดูจิต </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>oyoyo554 </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>ลูกหลานหลวงปู่ </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>pallop </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>ronny </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>punnarphut </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>พงศ์ </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>seelerdk </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>nehan </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>navapon999 </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>korakots14 </TD><TD class=alt1>4</TD></TR><TR><TD class=alt2>paeyim </TD><TD class=alt2>4</TD></TR><TR><TD class=alt1>pondkantana </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>pu002 </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>peesut </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>prarahu </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>Oddy99 </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>onimaru_u </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>อักขรสัญจร </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>มนุษย์โลกคับ </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>พ้น </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>chai wong </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>mgladbach </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>kussalajitto </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>MOODEE </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>visarutsak </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>amp99 </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>pilok </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>bomphu </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>Alexsan </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>เอกราชรัตนวิจิต </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>Toni </TD><TD class=alt2>3</TD></TR><TR><TD class=alt1>APIRAT </TD><TD class=alt1>3</TD></TR><TR><TD class=alt2>dpongpun </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>YOTSON </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>ยายผีป่า </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>a10 </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>BiMode </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>pong-sit </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>thongchat </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>nice45 </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>bht </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>BBPALUNG </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>ชายเสรี </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>ศิษย์ปลายแถว </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>3a3y3lue </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>โคมฉาย </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>plyngam </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>สักกะ </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>wircon </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>ชา ใคร่รู้ </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>noi </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>odie </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>อาหยั่น </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>atha </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>tong471007 </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>Shinray01 </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>poramase </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>แรก </TD><TD class=alt1>2</TD></TR><TR><TD class=alt2>ติณชาติ </TD><TD class=alt2>2</TD></TR><TR><TD class=alt1>แมงกะพรุน </TD><TD class=alt1>2</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=tcat colSpan=2>ใครตอบบ้าง? ข้อความทั้งหมด: 14,765
    </TD></TR><TR><TD class=thead width="100%">User Name</TD><TD class=thead>ข้อความ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2>veerajate </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ixy </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>แอ๊บแบ้ว </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>poem </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>Chukiatpa </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>อิทธิคุณ </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>numq </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>phathidee </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>chud </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>-๑ไร้IดีeJสา๑- </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>dragonn </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>sakkamol </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>moddang </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>Jirang </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>jakchan </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>kansai </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>der </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>คนวังหน้า </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>.w_pranorm </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ธรรมวิวัฒน์ </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>pornphrom </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>suwi </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>nilkong </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>zoba </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>nnn </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>GAN9 </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>cylindermu </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>suwimol28 </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>นักรบโบราณ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>found_evidence </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>brunette </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>pasit_ok </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>เทวดาขงเบ้ง </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>wuttichai0329 </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>นิโรธสมาบัติ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>มังกร_28 </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>issara210 </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>somsakby </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>บุญเจริญ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>udonteva </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>dragonlord </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>หญิงจัน </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>ยอดดอยอินทนนท์ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>captain </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>ligore </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ครูเซียน </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>moowasin </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ครึ่งชีวิต </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>laouforest </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>สิงห์แดง </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>unokk </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ติงต๊องแมน </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>คนขายธูป </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>NARONGTANYAKOOL </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>มหาลาภ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>tamsak </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>komkrij </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>BlueAngel </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>อิสวาร์ยาไรท์ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>Narong </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>werapong </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>ปุ </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>ภาณุ ปัญจะโรทัย </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>chotiwit </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>sahaphan </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>บาส วิดยา มอ. </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>พฤหัส </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>jenny </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>บ.ใบไม้ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>C-Path </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>ringside </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>Hamac </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>บอนไซ </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>คอสมิก </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>khunjiw </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>องค์เทพ </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>golfpy </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>Turnstone </TD><TD class=alt1>1</TD></TR><TR><TD class=alt2>panitta </TD><TD class=alt2>1</TD></TR><TR><TD class=alt1>Narong9860 </TD><TD class=alt1>1</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  10. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485

    คิคิ ผมไปหาคำตอบให้ตัวเองได้แล้วครับ หมายถึง จำนวนการโพสต์ในกระทู้นี้นั่นเอง ใช่มะ (good) </TD>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กุมภาพันธ์ 2008
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet07.htm

    ๗. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (พระองค์เจ้าวาสุกรี) วัดพระเชตุพน
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=200 height=172 rowSpan=6>[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>เป็นพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ วันเสาร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๕ ค่ำ ปีจอ จ.ศ. ๑๑๕๒
    พ.ศ. ๒๓๓๓
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>วันศุกร์ เดือน ๙ ขึ้น ๔ ค่ำ ปีกุน พ.ศ. ๒๓๙๔ ในรัชกาลที่ ๔</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๙๖ วันศุกร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๙ ค่ำ ปีฉลู ในรัชกาลที่ ๔</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=299 height=34>๖๓ พรรษากับ ๔ วัน</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=459 colSpan=3 height=2>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑ ปี ๔ เดือน </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    พระองค์ที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเป็นเจ้านายพระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช องค์พระประมุขแห่งคณะสงฆ์ไทย นับเป็นการเริ่มต้นศักราชใหม่ในการปกครองของคณะสงฆ์ไทย เพราะแต่ก่อนมานับแต่ยุคต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ย้อนไปจนถึงยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ไม่ปรากฏว่ามีเจ้านายพระองค์ใด แม้ทรงผนวชอยู่จนตลอดพระชนมชีพ ได้รับสถาปนาในตำแหน่งที่ สมเด็จพระสังฆราช เพราะฉะนั้น พระประวัติและพระเกียรติคุณของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสจึงเป็นเรื่องที่น่าศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
    พระประวัติเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๒๘ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจุ้ย เมื่อวันเสาร์ ขึ้น ๕ ค่ำ เดือนอ้าย ปีจอ ตรงกับวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ มีพระนามว่าพระองค์เจ้าวาสุกรี ทรงผนวชเป็นสามเณรแต่เมื่อพระชนมายุ ๑๒ พรรษา โดยทรงผนวชเป็นหางนาค ในคราวที่ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (กรมพระวังหลัง) ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๕ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) วัดมหาธาตุ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อทรงผนวชแล้ว เสด็จไปประทับ ณ วัดพระเชตุพน ทรงศึกษาอยู่ในสำนักของสมเด็จพระพนรัต ผู้เป็นอธิบดีสงฆ์ วัดพระเชตุพนในขณะนั้น
    สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทย และภาษาบาลีตลอดทั้งวิธีลงยันต์เลขไสยในสำนักสมเด็จพระพนรัต ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางอักษรสมัยและเวทย์มนต์ยิ่งนัก โดยเฉพาะภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระพนรัตน รอบรู้แตกฉานมาก ได้รจนาหนังสือเป็นภาษาบาลีหรือภาษามคธไว้ ๓ เรื่อง คือ สังคีติยวงศ์ พงศาวดารการสังคายนา ๑ จุลยุทธการวงศ์ พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ๑ มหายุทธการวงศ์ พงศาวดารมอญเรื่องราชาธิราช ๑ กล่าวกันว่า ตำรับตำราพิชัยสงครามและพระคัมภีร์ต่างๆ สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งอยู่กับสมเด็จพระพนรัตน วัดป่าแก้ว ก็ตกมาอยู่ที่วัดพระเชตุพนนี้ด้วย ฉะนั้น สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส คงจักได้ทรงศึกษาเล่าเรียนตำรับตำราต่างๆ ดังกล่าวเหล่านี้ จึงได้ทรงมีพระปรีชาสามารถทั้งทางด้านคดีโลกและคดีธรรม ดังเป็นที่ประจักษ์จากผลงานอันเป็นบทพระนิพนธ์เรื่องต่างๆมากมาย
    ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ
    สมเด็จฯกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงผนวชเป็นสามเณรอยู่จนตลอดรัชกาลที่ ๑ ถึง พ.ศ. ๒๓๕๔ ในรัชกาลที่ ๒ จึงทรงผนวชเป็นพระภิกษุเข้าใจกันว่า สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) วัดมหาธาตุทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระพนรัต พระอาจารย์ของพระองค์ ทรงเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ทรงได้พระนามฉายาว่า
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก
    ครั้นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๓๙๔ สมเด็จพระอนุชา ธิราช เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติเทววงศ์ซึ่งทรงผนวชอยู่และทรงครองวัดบวรนิเวศวิหาร ก็ได้รับการอันเชิญเสด็จเถลิงถวัลย์ราชย์มไหสวริยสืบมหันตมหิศรราชวงศ์ ดำรงสิริราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ในปลายรัชกาลที่ ๓ นั้น สมเด็จพระสังฆราช (นาค) สิ้นพระชนม์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริ ที่จะทรงตั้ง พระพิมลธรรม (อู่) วัดสุทัศน์ เป็นสมเด็จพระสังฆราช จนโปรดให้อาลักษณ์ร่างนามที่จะทรงตั้ง และลงวัน เดือน ปี ที่จะทรงตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว ก็พอทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคตหลังวันที่กำหนดจะทรงตั้งไว้นั้นเพียงวันเดียว ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงโปรดฯ ให้เลื่อน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนุชิตชิโนรส ขึ้นเป็นกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระมหาสังฆปริณายกทั่วพระราชอาณาเขต นับเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดฯให้จัดตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษกที่วัดพระเชตุพน มีทั้งพิธีสงฆ์และพิธีพราหมณ์ คล้ายกับพระราชพิธีบวรราชาภิเษก เมื่อวันศุกร์ เดือน ๙ ขึ้น ๔ ค่ำ ปีกุน พ.ศ. ๒๓๙๔ นั้นเป็นพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษกที่เกิดมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติการณ์ของคณะสงฆ์ไทย และสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ก็ทรงเป็นเจ้านายพระองค์แรกที่ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษกเป็นที่ สมเด็จพระสังฆราช
    เหตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงตั้ง พระพิมลธรรม (อู่) เป็นสมเด็จพระสังฆราชตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ก็คงเนื่องมาจากราชประเพณีนิยมที่มีมาแต่โบราณ ดังที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงอธิบายไว้ ความว่า พระเถระที่จะทรงตั้งเป็นสมเด็จพระสังฆราชและสมเด็จพระราชาคณะนั้น ก็เฉพาะผู้ทรงคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นพระอุปัชฌายะ เป็นพระอาจารย์ เป็นที่ทรงนับถือเหมือนอย่างพระอุปัชฌายะ หรือพระอาจารย์ หรือเป็นผู้ใหญ่ผู้เฒ่ามีอายุแก่กว่าพระชนมพรรษาจึงถึงต่างปูนกัน
    สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงมีความเกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหลายประการ กล่าวคือ ในทางพระราชวงศ์ก็ทรงเป็นพระเจ้าอา ในทางวัยวุฒิก็ทรงเจริญพระชนมายุกว่า ๑๔ พรรษา ในทางความสัมพันธ์ส่วนพระองค์ ก็ทรงเป็นพระอาจารย์ กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงศึกษาอักขรวิธีและพระพุทธวจนะ ตลอดถึงวิชาการคดีโลกอื่นๆ ในสำนักสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ฉะนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จึงทรงเคารพนับถือมากมาแต่ครั้งยังทรงผนวชอยู่ เป็นที่ทรงปรึกษาในเหตุการณ์สำคัญๆ เสมอ เช่นเมื่อครั้งทรงผนวชใหม่ๆ ในปลายรัชกาลที่ ๒ หลังจากผนวชได้เพียง ๑๕ วัน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบรมชนกนาถก็เสด็จสวรรคต ตามราชนีติประเพณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ควรจะได้เสวยราชสมบัติสืบต่อจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เพราะทรงอยู่ในฐานะองค์รัชทายาทแต่ขณะนั้นยังทรงพระเยาว์ และทรงผนวชเป็นพระภิกษุอยู่ เสนาบดีและพระบรมวงศานุวงศ์ส่วนมาก จึงเห็นว่าควรถวายราชสมบัติแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระโอรสผู้ใหญ่และทรงเจริญพระชนมายุกว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึง ๑๗ พรรษา ฉะนั้น หลังจากสมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคตเมื่อถูกกราบทูลถามว่า จะทรงปรารถนาราชสมบัติหรือจะทรงผนวชอยู่ต่อไป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงไปทูลปรึกษาสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งขณะนั้นทรงเป็น กรมหมื่นนุชิตชิโนรส (พระชนมายุ ๓๔ พรรษา) กับทั้งสมเด็จพระกรมพระยาเดชาดิศร ขณะนั้นทรงเป็นกรมหมื่นเดชอดิศร ซึ่งเป็นที่ทรงคารพนับถือมากทั้งสองพระองค์ และทั้งสองพระองค์ได้ตรัสแนะนำว่า ไม่ใช่เวลาควรปรารถนาราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงผนวชอยู่ต่อมาจนตลอดรัชกาลที่ ๓ พระราชดำรัสแนะนำของสมเด็จฯกรมพระปรมานุชิตชิโนรสครั้งนี้นับว่าก่อให้เกิดผลดีแก่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และชาติบ้านเมืองเป็นอเนกอนันต์
    นอกจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จะทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีเรื่องที่แสดงให้เห็นว่าทั้งสองพระองค์ทรงเป็นที่สนิทสนมกันมากด้วย ดังที่เล่ากันมาว่า ในปลายรัชกาลที่ ๓ ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระดำริร่วมกันว่า น่าจักได้สร้างวัดส่วนพระองค์ไว้นอกพระนคร สำหรับเป็นที่เสด็จไปประทับในบางโอกาสหรือในคราวจำเป็น พระองค์ละวัด สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จึงได้ทรงสร้างวัดไว้ในคลองมอญวัดหนึ่งซึ่งเรียกกันในครั้งนั้นว่า วัดใหม่วาสุกรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงสร้างวัดขึ้นวัดหนึ่ง เรียกกันในขณะนั้นว่าวัดนอก มาภายหลังจึงได้พระราชทานนามว่า วัดบรมนิวาส ครั้นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ เสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น รัชกาลที่ ๔ สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จึงได้ถวายวัดใหม่วาสุกรี เป็นพระอารามหลวงและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามใหม่ว่า วัดชิโนรสาราม
    พระอัจฉริยภาพในทางพระศาสนาและวรรณกรรม
    สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงมีพระอัจฉริยภาพในหลายด้าน สาเหตุหนึ่งคงเนื่องมาจาก ทรงได้รับการศึกษาเล่าเรียนมาเป็นอย่างดีจากพระอาจารย์ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์แห่งยุค ทั้งทางคดีโลก และคดีธรรม คือ สมเด็จพระพนรัต วัดพระเชตุพน ประกอบกับพระปรีชาสามารถส่วนพระองค์ จึงทำให้พระองค์ทรงเป็นที่ปรากฏโดดเด่น ทั้งในด้านการพระศาสนาและด้านวิทยาการของบ้านเมืองมาจนตราบเท่าทุกวันนี้
    กล่าวเฉพาะในด้านการพระศาสนา แม้ว่าในทางการปกครองจะไม่มีเหตุการณ์พิเศษให้กล่าวขวัญถึงพระองค์มากนัก เพราะทรงรับภาระ ธุระทางการปกครองว่ากล่าวเฉพาะวัดต่างๆ ในกรุงเทพฯ มาจนเกือบตลอดพระชนม์ชีพ ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระมหาสังฆปริณายก ที่สมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษในช่วงสุดท้ายแห่งพระชน มายุเท่านั้น
    แต่การที่ทรงมีพระภาระกิจทางการปกครองไม่มากนั้น กลับเป็นผลดี เพราะเป็นโอกาสให้พระองค์ได้ทรงศึกษาพิเคราะห์พระธรรมวินัยและใช้พระปรีชาสามารถสร้างสรรค์ผลงานอัน ทรงคุณค่าแก่การพระศาสนาและชาติบ้านเมืองเป็นจำนวนมาก กล่าวคือ ในทางพระสัทธรรม ปรากฏว่าทรงพระปรีชาเชี่ยวชาญ ทรงเป็นที่ปรึกษาและถวายวิสัชนาพระราชปุจฉาต่างๆ ในรัชกาลที่ ๓ มาโดยตลอด
    ในทางรจนา นับว่าทรงพระปรีชาเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ได้ทรงพระนิพนธ์เรื่องพระปฐมสมโพธิกถา ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก หรือร่ายยาวมหาชาติ เป็นต้น ที่ถือกันว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกทางพระพุทธศาสนาในยุคกรุง รัตนโกสินทร์
    ในทางพุทธศิลป์ ได้ทรงคิดแบบพระพุทธรูปปางต่างๆ ถวายพระบาทสมเด็จนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระราชประสงค์จะทรงบำเพ็ญพระราชกุศลให้เหมือนอย่างโบราณกษัตริย์ครั้งกรุงศรีอยุธยาได้เคยทรงบำเพ็ญ โดยทรงคิดเลือกพุทธอิริยาบถต่างๆ จากเรื่องพุทธประวัติ เป็นจำนวน ๓๗ ปาง ได้เป็นต้นแบบพระปางสมัยรัตนโกสินทร์สืบมา
    ในทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้ทรงพระนิพนธ์เรื่องต่างๆ ไว้มาก ที่สำคัญเช่นลิลิตตะเลงพ่าย พระราชพงศาวดารฉบับความสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส เทศนาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ลิลิตกระบวนพยุหยาตรา พระกฐินทางสถลมารคและชลมารค เป็นต้น
    ในทางอักษรศาสตร์ ก็เช่นบทพระนิพนธ์เรื่องฉันท์มาตราพฤติและวรรณพฤติ ตำราโคลงกลบทคำกฤษฎี เป็นต้น
    นอกจากนี้ ยังมีบทพระนิพนธ์ประเภทบทกวีเบ็ดเตล็ดอีกมาก ซึ่งล้วนเป็นผลงานที่ถือกันว่าเป็นเพชรน้ำเอกทางวรรณกรรมของไทยทั้งนั้น
    พระอวสานกาล
    เมื่อสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษกเป็นที่ สมเด็จพระสังฆราชนั้น ทรงมีพระชนมายุ ๖๑ พรรษา ทรงประชวรพระโรคชรา พระสุขภาพจึงไม่สู้แข็งแรงนัก ทรงประชวรหนักคราวหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดฯ ให้มีพิธีเสดาะพระเคราะห์ตามพิธีไสยศาสตร์ถวาย ทรงเจริญพระชนมายุอยู่ในรัชกาลที่ ๔ เพียง ๒ ปี ก็สิ้นพระชนม์ เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๙ ค่ำ ปีฉลู เบญจศก จ.ศ. ๑๒๑๕ เวลาบ่าย ๓ โมง ตรงกับวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๙๖ สิริรวมพระชนมายุได้ ๖๓ พรรษากับ ๔ วัน ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเป็นเวลา ๑ ปี ๔ เดือน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระโกษทองใหญ่ ทรงพระศพเป็นพระเกียรติยศยิ่ง
    ครั้นปีขาล เบญจศก จ.ศ. ๑๒๑๖ (พ.ศ. ๒๓๙๗) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้ทำเมรุผ้าขาวที่ท้องสนามหลวงแล้วเชิญพระโกศพระศพสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตั้งกระบวนแห่แต่วัดพระเชตุพนไปเข้าพระเมรุท้องสนามหลวง มีการมหรสพ ๓ วัน ๓ คืน ครั้นเดือน ๕ ขึ้น ๑๑ ค่ำ ตรงกับวันเสาร์ที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๗ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชทานเพลิงพระศพ
    หลังจากสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้โปรดสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล ในรัชกาลที่ ๔ จึงมีสมเด็จพระสังฆราชเพียงพระองค์เดียว คือสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์แล้ว ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชก็ว่างอยู่ตลอดจนรัชกาลที่ ๔ เป็นเวลา ๑๕ ปี เหตุที่ไม่ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดในตำแหน่งที่สมเด็จพระสังฆราชนั้น คงเป็นเพราะไม่มีพระเถระรูปใดอยู่ในฐานะที่จะทรงสถาปนาตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น
    อาจมีผู้สงสัยว่าการที่ว่างสมเด็จพระสังฆราชหรือไม่มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นเวลานานนั้นการปกครองคณะสงฆ์จะ ดำเนินการกันอย่างไรจึงขออธิบายไว้ตรงนี้สั้น ๆ ว่า แต่โบราณมา องค์พระมหากษัตริย์ทรงถือเป็นพระราชภาระในการปกครองดูแลคณะสงฆ์ โดยทรงโปรดฯให้เจ้านายผู้ใหญ่ หรือขุนนางผู้ใหญ่ในตำแหน่งเจ้ากรมสังฆการี (บางยุคเรียกว่ากรมสังฆการีธรรมการ ซึ่งภายหลังเป็นกระทรวงธรรมการ) เป็นผู้กำกับดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ เมื่อมีกิจอันใดเกิดขึ้นในคณะสงฆ์ เจ้ากรมสังฆการีก็จะเป็นผู้รับสั่งการไปทางเจ้าคณะต่างๆ เพื่อดำเนินการต่อไป สมเด็จพระสังฆราชมิได้ทรงบัญชาการคณะสงฆ์โดยตรง ด้วยพระองค์เองทรงดำรงอยู่ในฐานะปูชนียบุคคล ของปวงพุทธบริษัทเท่านั้น การปกครองคณะสงฆ์ได้ดำเนินมาในลักษณะนี้ จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลง
    สำหรับคณะกลาง ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเป็นเจ้าคณะอยู่เดิมนั้นแม้สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์แล้ว ก็ยังโปรดฯ ให้ขึ้นอยู่ในพระอัฐิสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส มีถานานุกรมพระอัฐิบังคับบัญชาว่ากล่าวตลอดมาจนถึงรัชกาลที่ ๕
    สถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า
    มาในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริว่าตำแหน่ง พระมหาสังฆปริณายก ประธานาธิบดีแห่ง สังฆมณฑล ซึ่งมีสมณศักดิ์ว่า สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณนั้นมีนามอย่างสังเขปว่า
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet08.htm

    ๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=200 height=204 rowSpan=6>[​IMG]

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ รัชกาลที่ ๒</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ วันจันทร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะเส็ง
    จ.ศ. ๑๑๗๑
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๘๓ พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=450 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๑ เดือนเศษ </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    พระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    นับแต่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๖ ในรัชกาลที่ ๔ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา ๑๕ ปี ฉะนั้น ในรัชกาลที่ ๔ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชจนเกือบตลอดรัชกาล เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษตอนต้นรัชกาลเท่านั้น
    เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น สมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    มาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้โปรดสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช ตลอดช่วงต้นแห่งรัชกาล เป็นเวลาถึง ๒๓ ปี ฉะนั้น ในช่วงต้น รัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่ถึง ๒๓ ปี จึงได้ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ เป็นสมเด็จพระสังฆราช นับเป็นพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    พระประวัติในเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ และเจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ อันเป็นวันเริ่มสวดมนต์ ตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ จึงได้พระราชทานนามว่า พระองค์เจ้าฤกษ์
    ทรงผนวช
    พ.ศ. ๒๓๖๕ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุ สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอยู่ในสำนักพระญาณสมโพธิ (รอด) ครั้งทรงผนวชเป็นสามเณรได้ ๔ พรรษา ประชวรไข้ทรพิษต้องลาผนวชออกมารักษาพระองค์ เมื่อหายประชวรแล้ว สมเด็จกรมพระราชบวรมหาศักดิพลเสพ ในรัชกาลที่ ๓ ทรงจัดการให้ทรงผนวชเป็นสามเณรอีกครั้งหนึ่ง
    พ.ศ. ๒๓๗๒ พระชนมายุครบทรงผนวชเป็นพระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ทรงลาผนวชออกสมโภช แล้วแห่พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ เจ้าฟ้าอาภรณ์ ที่จะทรงผนวชเป็นเป็นสามเณรในเวลานั้น ในการทรงผนวชเป็นพระภิกษุนั้น สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นนุชิตชิโนรส กับพระวินัยรักขิต วัดมหาธาตุ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    เมื่อทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงผนวชเป็นพระภิกษุอยู่ ณ วัดมหาธาตุนั้น เช่นกัน ในเวลานั้น (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงพระเจริญพระชนมายุกว่า ๕ พรรษา) เป็นเหตุให้ทรงเลื่อมใสในลัทธิธรรมวินัยตามอย่างพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ภายหลังจึงได้ทรงอุปสมบทซ้ำอีกครั้งหนึ่งในนทีสีมา โดยพระสุเมธาจารย์ (พุทธวังสะ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมจนทรงแตกฉานในภาษาบาลี แต่ไม่ทรงเข้าสอบเพื่อเป็นเปรียญ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพัดยศสำหรับเปรียญเอก ที่เคยพระราชทานแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เมื่อครั้งยังมิได้ทรงเป็นพระราชาคณะให้ทรงถือเป็นเกียรติยศ สืบมา พระนิพนธ์อันเป็นเครื่องแสดงถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีของพระองค์ก็คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธานซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลีว่าด้วยเรื่องการวิเคราะห์คืบพระสุคตอันเป็นมาตราวัดที่มีกล่าวถึงในทาง พระวินัย นอกจากนี้ ก็ได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เป็น ภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง นับว่าทรงเป็นปราญ์ทาง ภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุครัตนโกสินทร์
    ในรัชกาล ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะสมณศักดิ์ เสมอพระราชาคณะสามัญ พระราชทานตาลปัตรแฉกถมปัดเป็นพัดยศ
    พ.ศ. ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะยังทรงผนวชอยู่ ทรงเป็นพระเถราจารย์ประธานแห่งพระสงฆ์ธรรมยุตินิกายทรงลาผนวชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นรัชกาลที่ ๔ จึงได้ทรงสถาปนาพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าฤกษ์ เป็นกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ทรงอิศริยยศเป็นประธานาธิบดีแห่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ซึ่งขณะนั้นเรียกว่า
     
  14. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ท่านเพชรครับ ผมมาทวงถามคำอธิบายการ เสกพระพิมพ์และฤกษ์ที่อยู่ในเพชรฆาตฤกษ์ครับ ทราบคร่าวๆว่าเป็นฤกษ์เด็ดขาด เช่นไว้ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง และเลิกกับ แฟนครับ 555ต้องตัวเล็กหน่อยเดี๋ยวมีบางท่านใช้ผิดวัตถุประสงค์(tm-love)
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet10.htm

    ๑๐. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ) วัดบวรนิเวศวิหาร
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=200 height=204 rowSpan=6>
    [​IMG]
    </TD><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=300 height=34>เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ
    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=300 height=34>๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๓ วันพฤหัสบดี แรม ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีวอก จ.ศ. ๑๒๒๑ ในรัชกาลที่ ๔</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=300 height=34>๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ วันจันทร์ ขึ้น ๔ ค่ำ เดือนอ้าย ปีจอ ในรัชกาลที่ ๖</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=300 height=34>๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ ในรัชกาลที่ ๖</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=300 height=34>๖๐ พรรษา ๓ เดือนเศษ</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=460 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๐ ปี ๗ เดือนเศษ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
    พระองค์ที่ ๑๐ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    หลังจากสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) วัดราชประดิษฐ์ สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๒ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ไม่ทรงสถาปนาพระเถระรูปใด ในตำแหน่งที่ สมเด็จพระสังฆราช อีกจนตลอดรัชกาล ในช่วงปลายรัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่เป็นเวลา ๑๑ ปี ถึงรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงถวายมหาสมณุตมาภิเษกแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวอย่างสามัญทั่วไปก็คือ ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชนั่นเอง
    พระประวัติเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ และเจ้าจอมมารดาแพ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๕ แรม ๗ ค่ำ ปีวอก จ.ศ. ๑๒๒๑ ตรงกับวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๓ เมื่อวันประสูติ นั้นฝนตกใหญ่ พระบรมชนกนาถจึงทรงถือเป็นมงคลนิมิตพระราชทานนามว่า พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ หลังจากประสูติได้เพียงปีเดียว เจ้าจอมมารดาของพระองค์ก็ถึงแก่กรรมพระองค์จึง ทรงอยู่ในความเลี้ยงดูของกรมหลวงวรเสฐสุดา (พระองค์เจ้าบุตรี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งเป็นพระญาติ ทรงเรียกว่าเสด็จป้า มาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ต่อมา ทรงย้ายมาอยู่กับท้าวทรงกันดาร (ศรี) ผู้เป็นยาย
    เมื่อพระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงเริ่มศึกษาภาษาบาลี ทรงศึกษาอยู่จนสามารถแปลธรรมบทได้ก่อนที่จะทรงผนวชเป็นสามเณร และทรงเริ่มศึกษาภาษาอังกฤษกับครูฝรั่งเมื่อพระชนมายุ ๑๒ พรรษา นอกจากนี้ ยังทรงศึกษาโหราศาสตร์กับครูที่เชี่ยวชาญทางโหราศาสตร์มาแต่พระชนม์ยังน้อย
    ทรงผนวช
    เมื่อพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ทรงผนวชเป็นสามเณรตามราชประเพณี ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พร้อมกับเจ้านายอื่นอีก ๒ พระองค์ สมเด็จพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์หม่อมเจ้าพระธรรมุณหิศธาดา (พระนามเดิม ศิขเรศ) เป็นประทานสรณะและศีล เมื่อทรงผนวชแล้ว มาประทับ ณ วัด บวรนิเวศวิหาร ทรงผนวชเป็นสามเณรอยู่ ๒ เดือนเศษ จึงทรงลาผนวช
    ครั้น พระชนมายุ ๒๐ พรรษา ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๔๒๒ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์พระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม จันทรังสี) วัดมกุฏกษัตริยาราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ทรงผนวชแล้วเสด็จมาอยู่จำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ถึงหน้าเข้าพรรษาของปีนั้นเอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ มาทรงถวายพุ่มพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตามราชประเพณี และในคราวนั้น ได้เสด็จฯ ไปถวายพุ่มพรรษาแด่พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ ซึ่งเพิ่งทรงผนวชใหม่ถึงกุฏิที่ประทับ พร้อมทั้งทรงกราบด้วยพระอาการเคารพ อันเป็นพระอาการที่ไม่เคยทรงปฏิบัติต่อพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์อื่นที่ทรงผนวช เป็นเหตุให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นทรงตัดสินพระทัยไม่ทรงลาผนวชแต่วันนั้น
    ทรงทำทัฬหีกรรม อุปสมบทซ้ำ
    หลังจากทรงจำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ๑ พรรษาแล้ว ได้เสด็จไปจำพรรษาที่ ๒ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ในสำนักของพระจันทโคจรคุณ (ยิ้ม) ผู้เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ในระหว่างที่ประทับ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามนั้นเอง ได้ทรงทำทัฬหีกรรม อุปสมบทซ้ำอีกครั้งหนึ่งตามธรรมเนียมนิยมของพระสงฆ์ธรรมยุตในครั้งนั้น โดยพระจันทรโคจรคุณ (ยิ้ม) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส แต่ครั้งยังเป็นพระเปรียญอยู่วัดโสมนัสวิหาร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ณ โบสถ์แพ หน้าวัดราชาธิวาส เมื่อ วันที่ ๓ มกราคม ๒๔๒๒
    ทรงกรมและเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง
    เมื่อทรงผนวชได้ ๓ พรรษา ทรงเข้าแปลพระปริยัติ ธรรมหน้า พระที่นั่ง ณ พระที่นั่งบรมราชสถิตมโหราฬ ห้องเขียวท่ามกลางประชุมพระราชาคณะผู้ใหญ่ ๑๐ รูป มีสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นประธาน ทรงแปลได้เป็นเปรียญ ๕ ประโยค และทรงหยุดอยู่เพียงนั้น
    หลังจากทรงแปลพระปริยัติธรรมได้เป็น เปรียญ ๕ ประโยคแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาพระอิศริยยศเป็น กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ทรงดำรงสมณศักดิ์เป็นเจ้าคณะรองในธรรมยุตินิกาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๔ พระองค์ทรงเป็นเจ้าคณะรองในคณะธรรมยุตเป็นพระองค์แรกและทรงเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ทรงมีพรรษา
    ยุกาลน้อยที่สุด คือ ๓ พรรษาเท่านั้น

    ทรงครองวัดบวรนิเวศวิหาร
    พ.ศ.๒๔๓๔ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สิ้นพระชนม์พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดให้สมเด็จกรมพระยาวชิรญาณวโรรสขณะเมื่อทรงดำรงพระอิศริยยศ เป็นกรมหมื่น ทรงครองวัดบวรนิเวศวิหารสืบต่อจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ นับเป็นเจ้าอาวาสพระองค์ที่ ๓
    ครั้น ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ทรงพระกรุณาโปรดเลื่อนพระสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต นับเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตพระองค์ที่ ๒ ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเมื่อทรงมีพรรษายุกาล ๑๕ พรรษา
    เมื่อทรงเป็นเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหารแล้ว ก็ได้ทรงเริ่มพัฒนากิจการพระศาสนา โดยทรงเริ่มทำขึ้นภายในวัดบวรนิเวศวิหารก่อนเป็นการทดลองเพื่อดูผลได้ผลเสียและทรงปรับปรุงแก้ไขจนทรงเห็นว่า มีผลดีเป็นคุณประโยชน์แก่พระศาสนาเป็นส่วนรวม จึงทรงขยายออกในวงกว้าง กล่าวเฉพาะที่สำคัญ คือ
    การศึกษาพระปริยัติธรรมในภาษาไทย
    ทรงริเริ่มให้ภิกษุสามเณรที่บวชใหม่เล่าเรียนพระธรรมวินัยในภาษาไทยเพื่อให้รู้จักพระพุทธศาสนาทั้งส่วนที่เป็นธรรม
    และวินัยในขั้นพื้นฐานในชั่วระยะเวลาอันสั้น โดยพระองค์ได้ทรงสอนด้วยพระองค์เอง มีการสอบความรู้ของภิกษุสามเณรที่เรียนด้วยวิธีสอบแบบใหม่คือวิธีเขียน ต่อมาได้มีภิกษุสามเณรไม่เฉพาะแต่พระใหม่เท่านั้นที่นิยมเล่าเรียนพระธรรมวินัยแบบใหม่ที่พระองค์ทรงจัดขึ้นนี้ และนิยมแพร่หลายออกไปถึงวัดอื่นๆ ด้วย เมื่อทรงเห็นว่าเป็นการเล่าเรียนที่มีประโยชน์ต่อภิกษุสามเณรทั่วไป จึงได้ทรงกำหนดให้เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับคณะสงฆ์ในเวลาต่อมา ที่เรียกว่า
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มหาสมณุตมาภิเษก
    พ.ศ. ๒๔๔๙ ทรงพระกรุณาโปรดเลื่อนพระอิศริยยศเป็น กรมหลวง ถึง พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ สืบพระบรมราชสันตติวงศ์เป็นรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พอเสด็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระบรมราชินี พระพันปีหลวงแล้ว โปรดให้ตั้งพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก ที่วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงสถาปนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จกรมพระยา ทรงสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระมหาสมณะ (คือ สมเด็จพระสังฆราช) เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๔ ค่ำ ปีจอ ตรงกับ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๓
    ทรงปรับสถานภาพของคณะสงฆ์

    ในปีรุ่งขึ้น หลังจากทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก คือ พ.ศ. ๒๔๕๔ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ก็ทรงปรับปรุงการปกครองคณะสงฆ์ครั้งสำคัญ คือ ทรงชี้แจงแก่เสนาบดี กระทรวงธรรมการถึงผลเสียที่เกิดจากการที่คฤหัสถ์ปกครองคณะสงฆ์ดังที่เป็นมาในอดีตและเป็นอยู่ในขณะนั้น
    และทรงแนะนำว่าควรจะถวายอำนาจในการปกครองคณะสงฆ์แก่พระองค์ให้เป็นเด็ดขาดฐานะที่ทรงเป็นสมเด็จ
    พระสังฆราช เพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เรียบร้อย เพราะพระด้วยกันย่อมเข้าใจเรื่องของพระด้วยกันดีว่าคฤหัสถ์ซึ่งมิใช่พระ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖
     
  17. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    2.สรงน้ำภาชนะหรือสถานที่บรรจุองค์พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุ

    วิธีการนี้นิยมใช้สำหรับสรงน้ำพระบรมธาตุเจดีย์โดยทั่วไป, เจดีย์บรรจุพระธาตุที่ปิดสนิท หรือ
    ต้องการความสะดวกรวดเร็ว ในกรณีที่มีผู้ร่วมสรงน้ำเป็นจำนวนมาก โดยการตักน้ำที่ใช้สำหรับสรง
    ราดไปบนพระเจดีย์


    เคยสรงน้ำพระธาตุ ไม่แน่ใจว่าเชียงใหม่หรือลำพูน(ตอนนั้นยังละอ่ออนอยู่เลย) ไปไหว้พระธาตุหลายแห่งเลยจำไม่ได้ เขาจะทำเป็นเชือกดึงขึ้นไปพอถึงยอดพระธาตุ ถังบรรจุน้ำก็เทเลยครับ
     
  18. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ทั้งสามท่านที่ตอบปัญหาอ.จเร ถูก ผมจะจัดส่งพระให้ครับ หรือจะให้ฝากพี่หนุ่มดี รบกวนแจ้งด้วยครับ
     
  19. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ของผม(พร้อมกับที่ทำบุญวันนี้อีก 1องค์)แล้วแต่สะดวกครับหากไม่เป็นการรบกวนคุณหนุ่มมากไป จะฝากไว้ที่คุณหนุ่มก็ได้ครับอันที่จริงของผมฝากไว้ที่คุณหนุ่มเกือบจะหนึ่งกำปั่นแล้วเผื่อคุณหนุ่มอาจจะใส่กำปั่นส่งขึ้นเรือสำเภามาทางอ่าวไทยก็ได้ครับ(ping)
    ขอบคุณมากครับ
     
  20. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อ่า..ครือว่าผมสงสัยมานานแล้ว อาชามนี่เป็นตำแหน่งรองใช่มั้ยครับต่อไปก็จะได้ขยับเป็น อาจาน
    อย่างผมนี่ก็เป็น คุณตั้งจิตธรรมดา แต่พอคุณน้องหนู(ตอนนี้เริ่มมีระดับแล้ว) ก็จะเป็น คุณอาน้องหนูขา
    (one-eye)
     

แชร์หน้านี้

Loading...