กสิณ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย มาจากดิน, 19 มิถุนายน 2015.

  1. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ศรัทธา ในศาสนาพุทธ คืออะไร

    ศรัทธา ในศาสนาพุทธ คือความเลื่อมใสใน พุทธะ

    พุทธ ของคนจานลาย จะเข้าใจว่า เป็นตัวบุคคล เลยไป กล่าวธรรมว่า ศรัทธา
    คือการ เชื่อในตัวบุคคล แล้วก็ลูบๆ คลำๆ ตาม ข้อศีล ข้อวัตร ที่ท่านให้

    พุทธ ของคนปฏิบัติ มุ่งละออกจากภพ ตัดกิเลส ความเลื่อมใส มันเกิดขึ้นกับ
    " จิตที่ตื่นเบิกบาน เป็นสภาวะของธรรม " เห็น ความพ้น เห็นวิมุตติ จิตจึง
    เกิดการเลื่อมใสก่อน แล้ว จึงเอะใจ(ด้วยปัญญาอันยิ่ง) นมสิการ ยังสิ่งนั้น
    สิ่งที่ พ้นโลก พ้นอาสวะ แล้วแลอยู่ ( กิจของการภาวนา คือ การแจ้ง การเห็น
    การกระทบรู้ ไม่ใช่การทำเหตุ จงใจโน้มไปในอะไร -- มันจะกลายเป็นการเคลื่อนสู่ ภพ )


    ความเลื่อมใส แล้ว โน้มน้อม นมสิการ ต่อ " ธรรม " ไม่ใช่ วิ่งแจ้นเขาหา ตัวบุคคล
    แบบ ศาสนาเดียรถีย์ทั้งหลาย
     
  2. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    จิตที่ไม่ไปจับฉวยว่าตัว ว่าตน ทุกข์ย่อมไม่เกิด ตามธรรมดานั้น ใจเราเป็นผู้เสวยเวทนา ทั้งทุกขเวทนา สุขเวทนา และอุเบกขา พิจรณาลงที่ใจ ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้น ทุกข์เท่านั้นที่ดับไป นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิด ไม่มีอะไรดับ
     
  3. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ศรัทธาจริต ศรัทธาวิมุตติ คืออะไร

    มันต้องเกิด จากการตั้งจิตไว้ ตั้งจิตที่จะดำริออกจากภพ ลูกเดียว

    หลังจากนั้น ก็เข้าหา ผู้ที่เป็นพยานต่อ การหลุดพ้นนั้น ว่ามีอยู่แน่

    แล้ว ท่านก็ไม่ต้องทำอะไรไปมากกว่านั้น ศรัทธามั่นลงไปในความหลุดพ้น
    และพยานแห่งธรรม หรือ พุทธะ นั้น แล้วก็ แหวกออกไปเลย

    ไม่ต้องไป นั่งโง่ อ่าน งุดงะงรรมจานลาย เลยก็ได้ !!!


    แต่ถ้า ศรัทธาแล้วอ้างตัวบุคคล อ้างความเป็นภพ เป็นชาติ นั่น มัน ธรรมเชลียร
    ภาวนาแทบตาย ดันโง่ ปราวนาตนเป็นเพียง ทาส เป็น หมาเฝ้ากุฏิ มดแดง
    เฝ้าลูกแก้วใสในใส โน้นไปโน้น ไปโปรยดอกดาวรวย บาทโซบบบบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มิถุนายน 2015
  4. cfour1234

    cfour1234 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    121
    ค่าพลัง:
    +93
    เป็นกระทู้ที่ดีครับ ตอนแรกคิดว่าเป็น เรื่องกสิณ เข้ามาอ่านหวังจะได้ความรู้ แต่เมื่อเข้ามากับได้ความรู้หลายๆ อย่าง มากกว่าเรื่องกสิณ อ่านแล้วได้แง่มุม หลายๆด้าน ดี
     
  5. gratrypa

    gratrypa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2011
    โพสต์:
    1,283
    ค่าพลัง:
    +1,505
    .
    เขียน ๑๔.๑๕

    เก่งจริงนะตัวเอง กล้าด่ากระทั่ง ท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
    เราซึ่งมีเพื่อนเป็นพระพรหม เลยต้องออกตัว จัดหนักให้ซักดอก ๕๕๕


    เฮ้อ...เบื่อไอ้พวกปากเสียจังเลยอ่ะ
    ปากเสียมาตั้งหลายภพหลายชาติแล้ว ไม่ยอมซ่อมซะที โง่บรรลัย
    แล้วยังมีหน้ามาแสดงธรรมอีก ไม่เจียมกะลาปากซะบ้างเลย หึหึหึ

    ธรรมมะเกิดในใจ แล้วแสดงออกมาที่กาย จากภายในสู่ภายนอก

    แล้วที่ท่านเอกวีร์พล่ามภาษาหมาๆ ออกมานั่นน่ะ มันอะไรวะเฮ้ย
    ทำยังกะแม่ค้าปากตลาด พูดคำด่าคำ มันเป็นบ้าอะไรของมันวะ ตูไม่เข้าใจ

    เสียดายธรรมมะที่พอมีอยู่ในตัวบ้าง สะสมไว้ก็แยะ น่าเสียดาย
    โดนพ่นออกมา โดยปากเน่าๆ ของดีๆ ก็เลยพลอยเน่าเสียไปด้วย เฮ้อ...

    แล้วทำไมเราต้องไปด่ามันด้วยวะ ไม่เข้าใจจัง
    มันจะก่อกรรมทำเวรกะใคร ก็เรื่องที่มันจะต้องลงนรกไปรับกรรมเอาเองอ่ะ

    ยามที่ของเน่าเสีย ที่มันพ่นออกมาจากคีย์บอร์ด
    กระทบจิตแล้วไปกระแทกใจผู้อ่านนั่นน่ะนะ
    ด้วยโมเมนตัมของความหยาบคาย บวกกับความไวของแรงปะทะ
    และความต่อเนื่องของกระแสจิต อันน่ารังเกียจเหล่านั้นน่ะ
    มันสร้างความเสียหายต่อเนื่องได้มากกว่าที่เจ้าตัวจะคาดคิดได้นะ

    นี่มันคิดว่าเท่ห์รึไงวะเนี่ย หรือคิดว่าทำงี้แล้วจะดูฉลาดปราดเปรื่อง
    ก็ไม่รู้ว่าครูบาอาจารย์มันรู้ไม๊หว่า ว่าศิษย์ที่อบรมสั่งสอนมา กลายเป็นแบบนี้
    เอ..หรือว่าอาจจะไม่มีใครสั่งสอนล่ะมั้ง นะ สันดานถึงเป็นเช่นนี้ได้

    จะด่าคำหยาบคาย ก็ไม่กล้าพิมพ์เต็มๆ สันดานตุ๊ดป่าววะเฮ้ย
    แหม..จะใช้คำว่าหน้าตัวเมีย ก็ดูจะแรงไปหน่อย
    เล่นลอบกัดข้างหลัง ใช่ลูกผู้ชายป่าววะ

    ถึงเอ็งจะพิมพ์ให้ผิด แต่คนอ่านเค้าอ่านถูก
    ความซวยก็ตกอยู่กะคนอ่าน เสือกอ่านแล้วหยาบคายเอง
    เปรียบเทียบแบบรมณ์เสียก็อาจได้ว่า พวกหมาลอบกัดเลยนะเฮ้ย เข้าใจป่ะวะ
    ปัดความรับผิดชอบแบบหน้าด้านๆ สันดานเสียจริง หึหึหึ


    เฮ้อ..แล้วทำไมตูต้องเอาไม้สั้นไปรันขี้ด้วยวะ ไม่เข้าใจเลย
    เจี่ยป้าบ่สื่อ กินอิ่มแล้วไม่มีอะไรทำรึป่าววะเนี่ย
    ดูดิ มือไม้เลอะเทอะเประเปรี้อนของเสียไปด้วยเลย เฮ้อ..
    คนแถวนี้ก็มีตั้งแยะ ทำไมไม่มีใครออกตัว มาอบรมสั่งสอนมันบ้างวะ
    เอามือซุกหีบกันหมด หรือคนดีๆ ตายห่าไปหมดแล้ว ไม่เข้าใจ

    เอ..หรือว่าเป็นแบบทดสอบแรงปะทะของอารมณ์กันล่ะหว่า ฮิฮิฮิ

    แต่แหม..ด่าไปหลายรอบแล้ว ทำไมไม่ด่ากลับซะทีวะ
    จะขอแรงอธิบดีกรม เจ้ากรรมนายเวร ลงไม้ลงมือซะหน่อย
    คงต้องโดนจัดหนักๆ หลายๆ ดอก สันดานอาจจะดีขึ้นมาได้บ้าง นิ ฮิฮิฮิ


    กระต่ายป่า แห่งแก๊งนาฬิเกร์ / นายกองกัซ แห่งกองพันเหยี่ยว

    .
     
  6. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    กสิณสีเหลืองละราคะ
    กสิณสีแดงละโทสะ
    กสิณสีขาวละโมหะ
    กสิณไฟเช่นไฟเทียนช่วยด้านอภิญญา
    เพ่งครั้งละ 1-5 นาทีก็พอ กระพริบตาตามปรกติ แสบตาให้หยุดอย่าฝืน ทำสัก 4-10 ครั้ง
     
  7. kengkenny2

    kengkenny2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    592
    ค่าพลัง:
    +289
    คุณนพ จะไปสนใจเขาทำไม อันว่าสัตว์โลกทั้งหลายล้วนเป็นไปตามกรรม อย่าถือคนบ้าอย่าว่าคนเมา แค่เราระวังตัวระวังใจไว้ไม่ประมาททั้งคนบ้าและคนเมาก็พอ สู้เอาเวลาไปช่วยคนที่ช่วยได้ดีกว่า อย่าไปเสียเวลาเลย กรรมเขา เขาต้องรับผิดชอบเอง ส่วนธรรมที่จะเป็นไปนั้น ธรรมอย่างไรก็เป็นธรรม ไม่มีทางเปลี่ยนแปลงได้เลย พูดให้มันสนุกปากไปเรื่อยๆ ก็ได้ แต่ไม่เกิดประโยชน์อันใด ซ้ำร้ายก็จะปิดทางที่ดีหรือทางที่ควรจะรู้ของตนเองเสียอีก อย่าไปสนใจเลยครับ ไม่มีสาระใดเลย ฝึกมากก็เงี่ยแหละ...เห็นมาเยอะแล้ว
     
  8. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--> [FONT=&quot]สมาชิกที่ใช้ชื่อ ณ ฉัตร บอกว่า มีหนังสือนี้ (พุทธธรรม) อยู่ในมือ เปิดไปหน้าท้ายๆ “บันทึกของผู้เขียน”หน้า ๑๑๔๔ จะเห็นบทความนี้ (แต่ที่นี้ตัดเอาวรรคตอนสำคัญๆมา เพื่อให้เห็นว่าท่านใส่ชื่อคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาไว้ทุกตอน)[/FONT]



    [FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]"หนังสือนี้ เต็มไปด้วยหลักฐานที่มา หรืออิงคัมภีร์มากมาย จนหลายท่านอ่านเห็นว่าเกินจำเป็น การที่ทำเช่นนี้ มิใช่เป็นการยึดมั่นติคัมภีร์ หรือเกาะตำราแน่น โดยถือว่า เมื่อเป็นคัมภีร์แล้ว ต้องถูกต้องตายตัว

    เป็นการแน่นอนว่า ในคัมภีร์ที่ล่วงเวลามาแสนนาน โดยเฉพาะคัมภีร์รุ่นหลังๆ ย่อมจะมีส่วนที่คลาดเคลื่อนบันทึกผิด เติมพลาด ปนอยู่ด้วยบางส่วน แต่กระนั้น คัมภีร์ทั้งหลายก็เป็นหลักฐานสำคัญมาก และความสำคัญนั้นก็ลดหลั่นกันระดับๆ ตามฐานะ และยุคสมัยของคัมภีร์เหล่านั้น[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]การอ้างหลักฐานไว้มาก เป็นการยอมรับความสำคัญ ของสิ่งที่สำคัญ ตามฐานะแห่งความสำคัญของสิ่งนั้นๆ ถ้าเป็นคัมภีร์รุ่นหลังๆ ก็เป็นการที่เรายอมรับฟังความคิดเห็นของท่านผู้อื่นด้วย เรื่องราวส่วนใดต้องการหลักฐาน ก็เป็นอันได้ให้หลักฐานไว้แล้ว ไม่ต้องเถียงกันในแง่นั้นอีก เรื่องราวส่วนใดควรแก่การแสดงทัศนะ ก็ได้เปิดโอกาสแก่ทัศนี่ได้เคยมีมาแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]
    พระพุทธศาสนาสอนว่า ไม่ควรปลงใจเชื่อด้วยการอ้างตำรา หรืออย่าเชื่อเพียงเพราะอ้างคัมภีร์ คือ อย่าเชื่อตำรางมไป บางท่านตีความเลยไปว่า พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้เชื่อตำรา หรืออย่าเชื่อตำรา

    ความจริง ทั้งการเชื่อตำรา และการไม่เชื่อตำรา ถ้าทำโดยขาดวิจารณญาณ ก็สามารถเป็นความงมงายได้ด้วยกันทั้งคู่ คือ เชื่ออย่างงมงาย และไม่เชื่ออย่างงมงาย

    ทางปฏิบัติที่รอบคอบ และไม่ผิด ในการไม่เชื่อตำรา ก็คือ ไม่ให้เป็นการไม่เชื่ออย่างเลื่อนลอย ก่อนจะตัดสิน หรือแม้ตัดขาดกับตำรา ควรศึกษาให้ชัดเจนตลอดก่อนว่า ตำราว่าอย่างไร ดูว่าท่านพูดไว้อย่างไรให้เต็มที่ก่อนแล้ว ต่อนั้น จะตีความ หรือเห็นต่างออกไปอย่างไร ก็ว่าของเราไป โดยเฉพาะ ท่านผู้เขียนคัมภีร์ทั้งหลายล้วนล่วงลับไปสิ้นแล้ว ท่านเสียเปรียบ ไม่มีโอกาสลุกขึ้นมาแสดงความเห็น หรือคอยตามโต้เถียงเรา เราจึงควรให้โอกาส โดยไปตามค้นหาแล้วพาท่านออกมาพูดเสียให้เต็มที่ เมื่อรับฟังท่านเต็มที่แล้ว เราจะเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย ก็นับว่าได้ให้ความเป็นธรรมแกท่านแล้วพอสมควร[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ความประสงค์อีกอย่างหนึ่ง ในการแสดงหลักฐานไว้มาก หรือถือเอาคัมภีร์ที่อ้างอิงเป็นหลักเป็นแกนเป็นเนื้อตัวของหนังสือนี้ ก็เพื่อทำให้หนังสือนี้เป็นอิสระจากผู้เขียน และให้ผู้เขียนเอง ก็เป็นอิสระจากหนังสือด้วย เท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยว่า ผู้เขียนจัดทำหนังสือนี้อย่างเป็นนักศึกษาผู้หนึ่ง ทำหน้าที่เป็นผู้ไปสืบค้นรวบรวมเอาเนื้อหาทั้งหลายของพุทธธรรมมาส่งวางให้แก่ผู้อ่าน ถ้าสิ่งที่นำมาส่งวางให้นั้น เป็นของแท้จริง หยิบมาถูกต้อง ผู้นำมาส่งก็หมดความรับผิดชอบ จะหายตัวไปไหนก็ได้ ผู้ได้รับ ไม่ต้องนึกถึง ไม่ต้องมองที่นำส่งอีกต่อไป คงยุ่งอยู่กับของที่นำมาส่งเท่านั้นว่า จะเอาไปใช้เอาไปทำอะไรอย่างไรต่อไป แต่ถ้าของส่วนใดยังไม่ใช่ตัวของแท้ที่ถูกต้อง ผู้นำส่ง ก็ยังเปลื้องตัวไม่หมด ยังไม่พ้นความรับผิดชอบ โดยนัยนี้ การทำให้งานและตัวเป็นอิสระจากกันได้ จึงเป็นเครื่องวัดความสำเร็จของหนังสือนี้[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]เท่าที่ทำมาถึงคราวนี้ คงจะยังหวังไม่ได้ว่าจะทำตัวให้เป็นอิสระได้สิ้นเชิง แต่ก็พึงประกาศให้ทราบความมุ่งหวังไว้ ผู้เขียนนำเอาตัวพุทธธรรมมาแสดงแก่ผู้อ่านได้สำเร็จ ก็เหมือนกับได้พาผู้อ่านเข้าไปเฝ้าพระบรมศาสดาเองแล้ว ผู้อ่านก็ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้เขียนอีกต่อไป พึงตั้งใจสดับ และพิจารณาพุทธธรรมที่แสดงจากพระโอษฐ์ของพระบรมศาสดาโดยตรง[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]โดยเหตุที่หนักในด้านหลักฐาน หนังสือนี้จึงเน้นในด้านหลักการ และวิธีปฏิบัติทั่วไป มากกว่าภาคปฏิบัติโดยตรง เพราะรายละเอียดของการปฏิบัติ ขึ้นต่อปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง และสิ่งที่จะต้องปฏิบัติเฉพาะกรณี พร้อมทั้งกลวิธีที่เหมาะกัน[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างไรก็ตาม หลักการและวิธีปฏิบัติทั่วไปนี่แหละ เป็นแหล่งที่มาแห่งรายละเอียดของการปฏิบัติ ซึ่งเมื่อเข้าใจดีแล้ว ย่อมสามารถคิดกำหนดวางรายละเอียดเฉพาะกรณีต่างๆได้เอง และทั้งมีเครื่องมือสำหรับตรวจสอบความถูกต้องของการปฏิบัติด้วย[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ฯลฯ[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] เมื่อเน้นในด้านหลักฐาน ก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่หนังสือนี้จะหนักไปทางวิชาการ[/FONT][FONT=&quot] หรืออาจพูดได้ว่า มุ่งแสดงหลักวิชาทางพระพุทธศาสนาโดยตรง คำนึงถึงการอธิบายหลักธรรม มากกว่าจะคำนึงถึงพื้นฐานของผู้อ่าน

    ดังนั้น หนังสือพุทธธรรมนี้ จึงเป็นหนังสือสำหรับผู้ที่ศึกษาพระพุทธศาสนาอยู่แล้ว หรือสำหรับผู้ต้องการศึกษาอย่างจริงจัง มุ่งหาความรู้อย่างไม่กลัวความยาก ใจสู้ จะเอาชนะทำความเข้าใจให้จงได้ ไม่ ใช่หนังสือสำหรับชวนให้ศึกษาหรือเข้าไปหาผู้อ่าน เพื่อชักจูงให้มาสนใจ คือ ถือเอาหลักวิชาเป็นที่ตั้ง มิใช่ถือเอาผู้อ่านเป็นที่ตั้ง แต่กระนั้น ก็มิใช่จะยากเกินกำลังของผู้อ่านทั่วไป ที่มีความใฝ่รู้และตั้งใจจริง จะเข้าใจได้

    ในเมื่อเป็นหนังสือ แสดงหลักวิชา ก็ย่อมมีคำศัพท์วิชาการทางพระพุทธศาสนา คือ ถ้อยคำทางธรรมที่มาจากภาษาบาลีเป็นจำนวนมาก ข้อนี้ ก็เป็นเหตุอีกอย่างหนึ่ง ที่ทำให้หนังสือนี้ยากยิ่งขึ้น สำหรับผู้ไม่คุ้นกับศัพท์ธรรม หรือคำที่มาจากบาลี แต่ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่ไม่ควรหลีกเลี่ยง ในเมื่อต้องการจะรู้หลักกันจริงๆ

    อันที่จริงพุทธธรรมนั้น ถ้ารู้แจ้งเข้าใจจริงแล้ว เมื่อพูดชี้แจงอธิบาย แม้จะไม่ใช้ศัพท์ธรรมคำบาลีสักคำเดียว ก็เป็นพุทธธรรม แต่ตรงข้าม ถ้าไม่รู้ไม่เข้าใจ หรือรู้ผิดเข้าใจผิด แม้จะพูดออกมาทุกคนล้วนศัพท์บาลี ก็หาใช่เป็นพุทธธรรมไม่ กลายเป็นแสดงลัทธิอื่นที่ตนสับสนหลงผิดไปเสีย

    [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ที่รู้เข้าใจด้วยกันแล้ว คำศัพท์กลับเป็นเครื่องหมายรู้ ที่ช่วยสื่อถึงสิ่งที่เข้าใจได้โดยตรง พูดกันง่าย เข้าใจทันที หรือแม้สำหรับผู้ศึกษาประสงค์จะเข้าใจ หากอดทนเรียนรู้คำศัพท์สักหน่อย คำศัพท์เหล่านั้นแหละ จะเป็นสื่อแหงการสอน ที่ช่วยให้เข้าใจพุทธธรรมได้รวดเร็ว หากจะชี้แจงสั่งสอนกันโดยไม่ใช้คำศัพท์เลย ในที่สุด ก็จะต้องมีศัพท์ธรรมภาษาอื่น รูปอื่น ชุดอื่น เกิดขึ้นใหม่อยู่ดี แล้วข้อนั้น จะนำไปสู่ความสับสนยิ่งขึ้น[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]โดยนัยนี้ คำศัพท์อาจเป็นสื่อนำไปสู่ความเข้าใจพุทธธรรมก็ได้ เป็นกำแพงไม่ให้เข้าถึง พุทธธรรมก็ได้ เมื่อเข้าใจเช่นนี้แล้ว พึงนำศัพท์ธรรมมาใช้ประโยชน์อย่างรู้เท่าทัน คือรู้เข้าใจ ใช้ถูกต้อง รู้กาลควรใช้ ไม่ควรใช้[/FONT][FONT=&quot] ให้สำเร็จประโยชน์ แต่ไม่ยึดติดคือคลั่ง[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]

    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
     
  9. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493
    ก่อนหน้าเอกวีร์พูด "ภาวนา" ว่าภาวนาไม่เป็น บลาๆๆ ครั้นเราถามว่า ภาวนายังไงล่ะ ว่าไปสิ ก็ปลิ้นไปศีล ... ไปนิพพาน ตอบไม่ตรงคำถาม ลองดูความหมายภาวนา เมื่อภาวนาจบแล้วจะเชื่อมกับ...

    ภาวนา เป็นคำนาม บอกถึงการกระทำ หลัก หรือข้อปฏิบัติ (จึงได้ความสอดคล้องกันว่า ภาวิต ก็คือผู้ที่ได้ทำภาวนาแล้ว และดังนั้น ภาวิตกาย ก็คือผู้ที่ได้ทำกายภาวนาแล้ว ภาวิตศีล คือผู้ที่ได้ทำศีลภาวนาแล้ว ภาวิตจิต ก็คือ ผู้ที่ได้ทำจิตตภาวนาแล้ว และภาวิตปัญญา คือผู้ที่ได้ทำปัญญาภาวนาแล้ว)

    ภาวนา การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ, การพัฒนา

    1. การฝึกอบรม หรือการเจริญพัฒนา มี ๒ อย่าง คือ

    ๑. สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตใจให้อยู่กับความดีงามเกิดความสงบ
    ๒. วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมเจริญปัญญาให้เกิดความรู้แจ้งชัดตามเป็นจริง

    อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกัน คือ

    ๑. จิตตภาวนา ฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ

    ๒. ปัญญาภาวนา ฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลส และความทุกข์,

    2. การเจริญสมถกัมมัฏฐาน เพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ

    ๑. บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นเตรียม คือ กำหนดอารมณ์กัมมัฏฐาน
    ๒. อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือ เกิดอุปจารสมาธิ
    ๓. อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือ เกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน

    3. ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็นการท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
     
  10. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ก็เขียนเอา " โลกสวย " ไปอย่างงั้น

    ถามว่า พระพุทธองค์ทรงรู้วิชา เขียนวรรณกรรม ไหม !?

    ก็ตำรา ภควคีตา ไตรเวท นั่นเขาก็บอกอยู่แล้วว่า สมัยนั้น มีการ อักขระหนังสือ

    แล้ว ทำไม พระพุทธองค์ จะสอนธรรมะ ถึง ไม่เรียบเรียงวรรณกรรม ออกมา
    เป็นแบบแผน แบบว่า เป็นแบบปฏิบัติทั่วไป หละ

    พระพุทธองค์ โง่ กว่า คนสมัยนี้เหรอไง


    พระพุทธองค์ ย่อมกำหนดรู้ คุณ และ โทษ ของการ ร่างแบบแผนหนังสือเป็น
    ตำหรับตำรา งุดงะงรรม ธรรมตัดแปะ คัดเอาแต่ ศัพท์ มาเรียบเรียงเป็น แบบปฏิบัติทั่วไป

    คุณ ก็คงมี ทำให้ ท่องกันจุกกรู๊ ได้ง่าย คล่องปาก จดจำง่าย สาธยายตามๆกันไป ง่าย

    แต่.....มันไม่มีคุณค่า ให้เกิดความอาจหาญ ลงมือปฏิบัติ มีแต่ ยิ่งอ่าน ยิ่งเมา !!
    และ หาก ในโลกนี้จะมี สัตว์หน้าโง่สักตัว เมาธรรมะ งุดงะงรรม ...พระพุทธองค์
    ย่อมเว้นสิ่งนั้นเสีย เพราะ มันเป็น โทษ ให้สัตว์หน้าโง่ สำคัญตัว มาจากเด_ แต่
    กระทืบฟ้า

    ภาษาธรรมของพระพุทธองค์ จึงเป็นเรื่องเป็นราว มีเหตุ มีผล

    เหตุคือ อินทรีย์ของสัตว์ที่ต้องการพ้นทุกข์ ผลคือการกำหนดรู้ทุกข์จนพบวิมุตติ สดๆ ร้อนๆ

    รสของ ความสดๆ ร้อนๆ รู้ลงเป็นปัจจุบัน มันจะเจืออยู่ใน เรื่องเล่าแบบนวสัทธุศาสตร์ ที่
    พระพุทธองค์กำหนดด้วยสมาธิ ถ้วนตราบเท่าอายุไขของ พระพุทธศาสนา


    ถ้าไป เรียๆบ เรียงๆ แบบร้อยแก้ว แล้ว คนไปอ่าน สำคัญว่า ลิ่มทิ่มกลองจานลาย คือสิ่ง
    ควรเรียน ร้อยละร้อย กิเลสในปัจจุบัน มันจะมองไม่เห็น ไม่ได้กำหนดรู้

    แต่ไป วาดแผนไปข้างหน้า ข้าจะทำอย่างนั้น ข้าจะทำดีอย่างนี้ งำงะงูนงีงิต !!! เอา อนาคต
    มาเป็นสัญญา กิเลสคือ ราคะ โทษะ โมหะ ในจิตของ มะอึงในปัจจุบัน มะอึง ลืมหน้าตาเฉย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มิถุนายน 2015
  11. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493

    อ้างอิงคำพูด

    "เสียดายธรรมมะที่พอมีอยู่ในตัวบ้าง สะสมไว้ก็แยะ น่าเสียดาย"


    ธรรมะข้อใดครับ (deejai)


    แต่ผมเห็นว่า เขากำลังใช้เทคโนโลยีก่ออกุศลกรรมครับ และกรรมนี้จะหนาขึ้นๆทุกๆขณะที่เขาคิดและทำ

    คืออย่างไร

    ไล่จากง่ายไปหายาก

    - กายกรรม (อกุศลกรรมทางกาย)

    - วจีกรรม (อกุศลกรรมทางวาจา)

    - นโนกรรม (อกุศลกรรมทางจิตใจ)

    อกุศลเมื่อเกิด ก็เกิดทางสามทวารนี้ กุศลเมื่อเกิด ก็เกิดทางสามทวารนี้ ไม่มีนอกจากนี้

    ในบรรดากรรมทางทางสามทวารนั้น พระพุทธเจ้าตรัสว่า นโนกรรม (ทางใจ) สำคัญที่สุด เพราะอะไร ? เพราะบุคคลคิดก่อนจึงทำกรรมทางกาย ทางวาจา

    สันตาน (การสืิบต่อของจิต) ปกติเขาเป็นเช่นนั้น เขาก็เป็นเช่นนั้น นี่ไง กรรมใครกรรมมัน บุคคลใดสั่งสมเอง บุคคลนั้น เป็นทายาทรับผลของกรรมนั้นเอง ตามกฎของกรรมนิยาม เอกวีร์สั่งสมเขารับผลไป เมื่อเขาสั่งสมบ่อยขึ้นๆ อกุศลกรรมทางใจแรงขึ้นๆ มันก็กลายเป็นบุคลิกภาพประจำตัวประจำชีวิตเขาเอง ซึ่งไม่เกี่ยวกับคนอื่น แล้วเรื่องอะไรจะไปห้าม ยุส่งไปเลย

    เชิญตามสบายนะ คิกๆๆ ผมเชียร์ (deejai)
     
  12. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493
    อธิบายคำศัพท์ คือ สันตานะ

    สนฺตาน (สันตานะ) แปลว่า การสืิบต่อของจิต,การสืบต่อของความคิด (จิตมันเสพธรรมารมณ์ ทั้งกุศลจิต, อกุศลจิต จนชิน จนติด)

    สันตานะ (ต.เต่า) เป็นบาลี แต่คนไทยนำมาใช้ทางผรุสวาจา คือ ใช้ด่า คือ เปลี่ยนจาก ต.เต่า เป็น ด. เด็ก เป็นสันดาน ตย. ไอ้สันดาน ได้ยินบ่อยๆ โดยเปรียบเทียบกับสันดอนแม่น้ำว่า สันดอน ขุดได้ แต่สันดาน ขุดไม่ได้ คือ ใช้ สนฺตาน (สันตานะ) ตัวนี้แหละ
     
  13. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493

    ไม่ได้โมโหโกรธานะครับ แต่ผมไม่เข้าใจ งง คุณนพว่าผมไม่เคยฝึกอะไรเลยสักอย่างเดียว แต่ผู้ใช้ชื่อ kenny... ว่าฝึกมาก หลังไมค์กันให้ดีก่อนครับ จะได้พูดไปทางเดียวกัน ฝึกมากก็ฝึกมาก ไม่ฝึกก็ไม่ฝึก :d
     
  14. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493
    เสริมบทความที่ # 131

    ในบรรดากรรม ๓ อย่าง คือ กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม มโนกรรมสำคัญที่สุด และมีผลกว้างขวางรุนแรงที่สุด ดังบาลีว่า

    “ดูกรตปัสสี บรรดากรรม ๓ อย่างเหล่านี้ ที่เราจำแนกไว้แล้วอย่างนี้ แสดงความแตก ต่างกันแล้วอย่างนี้ เราบัญญัติมโนกรรมว่ามีโทษมากกว่า ในการทำบาปกรรม ในความเป็นไปแห่งบาปกรรม หาบัญญัติกายกรรมอย่างนั้นไม่ หาบัญญัติวจีกรรมอย่างนั้นไม่”
    (ม.ม.๑๓/๖๔/๕๖)

    เหตุที่มโนกรรมสำคัญที่สุด ก็เพราะเป็นจุดเริ่มต้น คนคิดก่อนแล้วจึงพูดจึงกระทำ คือ แสดงออกทางกาย และวาจา ดังนั้น วจีกรรม และกายกรรม จึงขยายออกมาจากมโนกรรมนั่นเอง และ ที่ว่ามีผลกว้างรุนแรงที่สุด ก็เพราะว่ามโนกรรมรวมถึง ความเชื่อถือ ความเห็น แนวคิด และค่านิยมต่างๆ ที่เรียกว่าทิฏฐิ

    ทิฏฐินี้เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมทั่วๆไปของบุคคล ความเป็นไปในชีวิตของบุคคล และ คติของสังคมทั้งหมด เมื่อเชื่อ เมื่อเห็น หรือนิยมอย่างไร ก็คิดการ พูดจา สั่งสอน ชักชวนกัน และทำการต่างๆไปตามที่เชื่อที่เห็นที่ นิยมอย่างนั้น ถ้าเป็นมิจฉาทิฏฐิ การดำริ การพูดจา และทำการ ก็ดำเนินไปในทางผิด เป็นมิจฉาไปด้วย ถ้าเป็นสัมมาทิฏฐิ การดำริ การพูดจา และทำการต่างๆ ก็ดำเนินไปในทางถูกต้อง เป็นสัมมาไปด้วย
     
  15. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    อารมณ์ทุกข์ สุข หรืออุเบกขา ที่เกิดขึ้นขณะภาวนาให้เข้าใจว่า สักแต่เป็นสภาวะธรรมที่เกิดขึ้น ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เราเขา ภาวนาให้เห็นเป็นอนัตตา อารมณ์ปล่อยวาง วางด้วยสติชอบตามดูลมหายใจเข้าออกอย่างมีสติ
     
  16. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    ..มานี้ๆ มาคุยกันตรงนี้.. เดี๋ยวกระทู้เค้าจะเสีย

    กระบือมีกี่ตัว ????????
     
  17. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493

    เป็นเพื่อนคุยด้วยไหมขอรับ :d
     
  18. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    ..ดูนิสัยสันดานมันซิเนี่ย..

    รู้ทุกอย่าง แต่เอามาทำประโยชน์กับตัวเองไม่ได้
     
  19. choksila58

    choksila58 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    631
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,059
    ..มาสิว่ามาเลย..
     
  20. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,913
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,493
    ขง
    ใช้สำหรับ รักษาดวงตามีปัญหาเนื่องจากแพ้แสง

    ได้รับอนุเคราะห์จากหลวงพ่อท่านหนึ่งดังนี้

    1. เก็บน้ำปัสสาวะของ ที่เราได้ปัสสาวะตอนกลางคืน ใส่ที่เก็บน้ำปัสสาวะ

    2. ตอนเช้า น้ำปัสสาวะ ที่เราได้เก็บไว้ จะตกตะกอน อยู่ข้างล่างขวด หรือ แก้ว

    ให้นำน้ำปัสสาวะใสๆ ที่อยู่ด้านบนแก้ว หรือ ขวด มาหยอดตา

    คุณเคยเอาเยี่ยวหยอดตากี่หนแล้ว
     

แชร์หน้านี้

Loading...