พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอให้สุขภาพแข็งแรงโดยเร็วนะครับ หมั่นทำบุญสงฆ์อาพาธ ,ทำสังฆทานด้วยยา และปล่อยสัตว์ (โดยเฉพาะที่อยู่ตามตลาดสด ถ้าเราไม่ซื้อเขามาปล่อย เขาต้องตายแน่ๆ อย่างนี้บุญแรงครับ) ไม่จำเป็นต้องทำเยอะนะครับ ทำน้อยๆ แต่บ่อยๆ กรวดน้ำทุกๆครั้งที่ทำ

    โมทนาบุญด้วยครับ
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ เทพารักษ์ [​IMG]
    (deejai)
    ไม่ค่อยได้เข้ามาเยี่ยมชมเลยสุขภาพไม่ค่อยดีค่ะ ตอนปีใหม่เลยไปทำบุญ 9 วัดมาค่ะ ถ่ายรูปมาด้วย และว่าจะเปลี่ยนรูปของเทพารักษ์จากรูปเดิมมาเป็น หลวงพ่อโสธร แต่ยังไม่ได้หาเลยอาจยังไม่ถึงเวลา แต่ถ้าเปลี่ยนแล้วไม่ต้องตกใจนะคะยังเป็น เทพารักษ์ คนเดิม แต่เปลี่ยนรูป และก็ต้องขอขอบพระคุณ
    (smile) k.sithiphong อย่างยิ่ง ที่แนะนำเรื่องทำบุญใส่บาตร 32 บาท น่ะค่ะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมชอบปล่อยสัตว์ แต่ต้องไปซื้อที่ตลาด ครั้งหนึ่งผมไปซื้อเต่า กับปลาไหล จะไปปล่อยในคลองข้างวัด แม่ค้าที่ตลาดเห็นผมซื้อเต่ากับปลาไหลไปปล่อย แม่ค้าบอกผมว่า ให้ซื้อปลาดุกไปด้วยซิ ทั้งกาลามัง ผมว่าน่าไม่น้อยกว่า 20 - 30 ตัว ผมชอบกินปลาดุกฟูอย่างมากๆ แต่ใช้เวลาคิดไม่นาน ก็เหมามาทั้งกาลามัง นำมาปล่อยที่คลองข้างวัด ทุกวันนี้เวลาไปที่วัด ไปดูก็ยังมีปลาดุกอยู่บริเวณบันไดท่าน้ำอยู่หลายๆตัวมากเลยครับ

    อีกครั้ง ผมไปงานศพแม่เพื่อนที่จังหวัดราชบุรี ไปถึงเวลาประมาณบ่าย 3 โมงเย็น พอช่วง 4 โมงเย็น เพื่อนผมชวนไปเดินในตลาด พอไปถึงที่ตลาด ปรากฎว่า ผมเห็นแม่ค้านั่งขายปลาดุก ผมก็เลยชวนเพื่อนผมซื้อปลาดุกไปปล่อยในแม่น้ำ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากตลาดมากนัก ผมซื้อไป (ถ้าจำไม่ผิด) ประมาณ 5 โล เพื่อนผมก็เป็นคนที่ชอบปลาดุกฟูมากเหมือนผม แต่ก็ตัดสินใจไม่นาน พอเดินไปปล่อยปลาดุกที่แม่น้ำเรียบร้อยแล้ว ก็เดินกลับมาที่ตลาด ผ่านร้านที่ผมซื้อปลาดุก ปรากฎว่า ปลาดุกที่เหลืออยู่ทุกตัว แม่ค้าทุบหัวเรียบร้อย ผมตกใจ ยังบอกกับเพื่อนผมว่า น่าจะซื้อไปมากกว่านี้ สรุปว่าปลาดุกร้านนั้น รอดเฉพาะที่ผมซื้อไปปล่อยเท่านั้นเอง

    ผมอยากให้พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ และท่านผู้อ่านทุกๆท่าน ปล่อยสัตว์ในลักษณะแบบนี้ ไม่ควรซื้อตามที่มาขายหน้าวัด เพราะว่า ผู้ที่มาขายหน้าวัด ถ้าขายไม่หมด เขาก็จะเก็บไว้ ซึ่งผมว่าเป็นการทรมาณสัตว์มากๆ

    และอีกเรื่องก็คือ การปล่อยสัตว์ จะต้องรู้ว่าสัตว์ที่จะปล่อย เป็นสัตว์น้ำ หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ การเป็นอยู่ของสัตว์อยู่อย่างไร เช่นการปล่อยเต่า ถ้าปล่อยในแม่น้ำ เต่าก็จะตายเนื่องจากเต่าเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เป็นต้น

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมจะถวายวัตถุมงคล กับพระอาจารย์รูปหนึ่ง ,พระอาจารย์นิล และท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร

    ซึ่งจะมีวัตถุมงคลอยู่หลายๆอย่าง จะขอเชิญชวนพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ในกลุ่ม ร่วมกันบริจาคเงิน

    เพื่อนำวัตถุมงคล(หลายๆอย่าง) ถวายพระอาจารย์รูปหนึ่ง ,พระอาจารย์นิล และท่านอาจารย์ประถม อาจสาครกัน ถ้าท่านใดสนใจ รบกวนโทร.หาผมด้วยนะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมมาแจ้งเรื่องของจำนวนเงินที่พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆทุกๆท่านที่จะร่วมทำบุญเพื่อนำวัตถุมงคลถวายพระอาจารย์รูปหนึ่ง ,พระอาจารย์นิล และท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร รวมทั้งหมดจะอยู่ที่ 16,400 บาทครับ

    ขณะนี้มีผู้ร่วมทำบุญซึ่งโอนเงินมาแล้ว 1 ท่าน จำนวน 3,000 บาทครับ

    รายละเอียดเมื่อเรียบร้อยแล้ว ผมจะมาแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

    โมทนาสาธุครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมรบกวนแจ้งผมก่อนวันเสาร์(26 มกราคม 51) ขอให้แจ้งผมภายในวันศุกร์(25 มกราคม 51)นี้นะครับ ผมจะได้จัดให้ลงตัว

    แต่ถ้าจำนวนเงินไม่มากพอ ก็ขอพิจารณาอีกครั้งครับ

    ผมเองก็อาจจะไม่มากนัก เนื่องจากว่า ช่วงนี้ต้องใช้เงินมากครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอขอบคุณ คุณnongnooo ด้วยนะครับที่ช่วยแจ้งผมเรื่องของเดือน ผมลงเดือนผิดไปครับ เดิมผมลงไว้เดือนเมษายน แต่จริงๆเป็นเดือนนี้(มกราคม)ครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เหล็กไหล ธาตุกายสิทธิ์

    http://hilight.kapook.com/view/19728



    <CENTER>

    [​IMG]



    [​IMG]





    ข้อมูลจากForward Mail
    เรียบเรียงโดยกระปุกดอทคอม ​

    เหล็กไหล...ก้อนแร่เหล็กบริสุทธิ์ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ ได้รับการอธิษฐานบรรจุฤทธิ์ โดยพระฤาษีผู้ทรงฌาณชั้นสูง เพื่อธำรงคุณงามความดี โดยมีธาตุกายสิทธิ์เป็นผู้คอยช่วยเหลือผู้ที่มีความทุกข์ยากให้พ้นภัย จัดเป็นธาตุกายสิทธิ์ชนิดหนึ่งที่มีรังสีหรือพลังปราณที่ทรงอำนาจในการป้องกันตัว และสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวให้พ้นจากภัยอันตรายอันเกิดจากอาวุธปืนหรือของมีคม เป็นสสารที่มีชีวิตเป็นอมตะและหายากยิ่ง ต้องมีพิธีกรรมมากมายกว่าจะได้มา ​

    ฉะนั้นเหล็กไหลจึงเป็นวัตถุอาถรรพณ์ที่มีราคาแพง เพราะเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และเป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า เหล็กไหลมีอานุภาพยอดเยี่ยม สามารถคุ้มครองชีวิตคนที่มีเหล็กไหลพกติดตัว และจะได้รับความคุ้มครองให้ปลอดภัยจากอุบัติภัยร้ายแรง รวมถึงอาวุธร้ายแรงนานาชนิดได้อย่างน่าอัศจรรย์นั่นเอง ​

    คำว่า "ธาตุกายสิทธิ์" นั้น หมายถึง วัตถุธาตุบางชนิดที่ปรากฏอยู่ในจักรวาลอันกว้างใหญ่นี้ ประกอบไปด้วยพลังงานอันมหาศาล อันเกิดจากเจตสิกผู้ครอบครองธาตุนั้นแฝงเร้นอยู่ ใช้สำหรับป้องกันภัยให้กับตนเองโดยธรรมชาติ แต่บางครั้งไม่ได้ปรากฏให้เห็นชัดเจน กลับซึมลึกลงไปอยู่ใต้พื้นผิวโลก ตามป่าตามเขา ตามถ้ำ แม้แต่ห้วยหนอง คลองบึง รอจนกว่าผู้ที่มีภูมิจิตภูมิธรรมสูงไปพบเข้า แล้วหยิบยกเอาธาตุกายสิทธิ์เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ เพื่อมวลมนุษยชาติและปกป้องคุ้มครองคนหมู่มาก ดังนั้นจึงเชื่อกันว่า "เหล็กไหล" จัดเป็นธาตุกายสิทธิ์ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยธาตุที่สำคัญดังนี้ ​

    1. ธาตุเหล็ก คือ ธาตุหลักเนื่องจากมีความแข็งแกร่งมากที่สุดในยุคนั้น ​

    2. ธาตุดิน ที่ถูกความอัดแน่นของโลก จนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาเป็นหินสีต่างๆ เช่น เพชร นิล จินดา อัญมณีหลากสี ​

    3. ว่านมหามงคล ที่มีฤทธิ์อำนาจในตัว เช่น ว่านต่างๆ ไพรดำ ซึ่งเป็นพืชที่ดูดซับเอาพลังต่างๆ จากผืนดินเก็บสะสมเอาไว้ในตนเอง จนเกิดฤทธิ์เดช ​

    4. ปรอท หรือธาตุอื่นๆ ที่สามารถเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเอง โดยการอ่อนตัวแล้วกลิ้งไหลไป มีฤทธิ์อำนาจทางความยืดหยุ่น หรือหดตัวเองได้ หลีกภัยได้เร็ว ปรับสภาพตนเองให้เป็นไปในลักษณะต่างๆ ได้ ​

    ดังนั้นแร่เหล็กที่อยู่ภายใต้ลาวานั้น ย่อมได้รวบรวมเอาสรรพสิ่งจากธาตุกายสิทธิ์ทั้งหลายเหล่านั้นรวมกันไว้ในตัวเอง คือมีฤทธิ์ในการปกป้องตนเองให้พ้นจากภัยในทุกรูปแบบ เพราะฉะนั้นเมื่อมหาฤาษีได้ใช้อิทธิฤทธิ์ดึงธาตุเหล่านี้ขึ้นมา แล้วถอดจิตด้วยฌาณสมาบัติเข้าแฝงตนอยู่ในธาตุกายสิทธิ์เหล่านี้ เพื่อฝึกฝนปฏิบัติทางจิตให้ยิ่งๆ ขึ้นไป จึงทำให้เจตสิกของผู้ทรงฌาณนั้นเกิดพลังอันมหาศาล แม้แต่จะงอเหล็กก็ยังได้ จนมนุษย์ได้ค้นพบสิ่งเหล่านี้เข้าโดยไม่ได้ตั้งใจ และไม่ทราบว่ามันคืออะไร ก็เลยเรียกกันว่า "เหล็กไหล" ตามสภาวะการแสดงอิทธิ์ฤทธิ์ที่ปรากฏต่อสายตาในขณะนั้นนั่นเอง คือลักษณะเหมือนก้อนเหล็กที่ยืดตัวได้ มีสีสรรต่างๆ กันหลายรูปแบบ เหล็กไหลจึงเป็นธาตุ กายสิทธิ์ที่ทรงอิทธิฤทธิ์ จนกลายเป็นสิ่งล้ำค่าที่ผู้คนแสวงหาไม่รู้จักจบมาทุกยุคทุกสมัยตราบจนเท่าทุกวันนี้

    ดังนั้น "เหล็กไหล" จึงเป็นที่ปรารถนาและใฝ่ฝันของคนทั่วไป แม้บางที่จะต้องเสี่ยงภัยถึงขั้นเอาชีวิตแลกก็ยอม เรื่องราวของเหล็กไหลจึงดูเหมือนเป็นเรื่องลี้ลับซับซ้อน และหลายคนคงอยากจะรู้เหมือนกันว่า เหล็กไหลคืออะไรกันแน่... เกิดขึ้นมาได้อย่างไร... เหล็กไหลที่ทรงอิทธิฤทธิ์นี้ มีจริงหรือไม่...? จึงเป็นปรัศนีที่ท้าทายความกระหายใคร่อยากรู้ตามลักษณะวิสัยของมนุษย์ จึงทำให้ต้องเที่ยวหาคำตอบจากผู้รู้ทั้งหลาย หรือผู้มีประสบการณ์ที่มีความรู้ที่พึงเชื่อถือได้ จนกลายเป็นตำนาน "เหล็กไหล" ที่เล่าขานสืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณตราบถึงปัจจุบัน ​


    [​IMG]


    สีสันและคุณประโยชน์

    1. สีเงินยวง เหล็กไหลชนิดนี้มีอริยเทพ อริยพรหมในระดับ อรูปฌาณ รักษาอยู่ เป็นเหล็กไหลที่มีบารมีธรรมในชั้นสูง พบมากในแถบที่มีอากาศเย็นจัด พวกลามะทิเบตมักใช้พกติดตัว จึงพบมากในเขตเทือกเขาสูงที่มีหิมะปกคลุม เช่นประเทศทิเบต จีน แถบภาคเหนือของไทย ลาว ดีเด่นทางเมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี แคล้วคลาด และล่องหนหายตัวได้ ชอบช่วยเหลือผู้ปฏิบัติธรรม หรือดลใจให้ผู้ครอบครองมีจิตใจฝักใฝ่อยู่ในการสร้างบุญสร้างกุศล

    เหล็กไหลชนิดนี้จัดได้ว่า เป็นเหล็กไหลที่มีบารมีธรรมสูงสุดในบรรดาผู้ครอบครองเหล็กไหลทุกชนิด สมัยโบราณมักจะนำไปจัดสร้างพระพุทธรูปหรือเครื่องรางของขลังในสมัยโบราณ ดังนั้นเหล็กไหลชนิดนี้จึงมักจะอยู่ในความครอบครองของนักบวชต่างๆ เช่น ฤาษี ชีไพร ภิกษุสงฆ์ผู้ท่องเที่ยวหาความวิเวกตามป่าเขา ​

    2. สีเขียวปีกแมลงทับ เหล็กไหลชนิดนี้มี อริยเทพ อริยพรหม ในระดับ รูปฌาณ เป็นผู้ดูแลรักษา เพื่อมอบให้กับผู้ที่มีบุญบารมี และผู้ที่กำลังประพฤติปฏิบัติอยู่ในบุญกุศล เพื่อแสวงหาความหลุดพ้นนั้น ส่วนใหญ่จะมีบริวารเป็นจำนวนมากคอยอารักขาหลายชั้น ผู้พบเห็นส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประพฤติธรรม ที่บังเอิญผ่านเข้าไปพบเข้าโดยบังเอิญ หรือเกิดจากการลองใจของเทพผู้รักษาเหล็กไหลก็แล้วแต่ บุคคลธรรมดาทั่วไปอย่าหมายว่าจะครอบครองเป็นเจ้าของได้โดยง่าย ​

    ดีเด่นในทุกๆ ทาง ไม่ว่าเป็นเมตตามหานิยม โชคลาภ แคล้วคลาดกันภัย ล่องหนหายตัว มหาอุด คงกระพัน ยืดได้หดได้ เล่นกับไฟ กินน้ำผึ้ง

    3. สีทอง หรือ สีน้ำตาลอ่อนเหล็กไหลชนิดนี้จะมีเทวดาจำพวกคนธรรพ์และเหล่าเพชรพญาธร เป็นผู้ดูแลรักษา มีฤทธิ์อำนาจใกล้เคียงกับเหล่าพญานาค แต่มีฤทธือำนาจพิเศษกว่าคือสามารถที่จะลื่นไหลไปมาได้ สามารถที่จะกำบังกายได้ มีอยู่ตามป่าเขาทั่วไป ​

    ดีเด่นทางด้านเมตตามหานิยม โชคลาภ และความรักเด่นเป็นพิเศษ

    4. สีเขียวอมดำเหล็กไหลชนิดนี้มี อริยะเทพ อริยะพรหม ในระดับ รูปพรหม เป็นอริยะธรรมในระดับสูง ที่มุ่งบำเพ็ญบารมีรักษาพระพุทธศาสนา จะอยู่เฝ้ารักษาพระบรมสารีริกธาตุหรืออรหันต์ธาตุที่สำคัญไว้ จึงมักจะปรากฏเป็นลูกไฟดวงใหญ่เป็นสีแสงคุ้มครองรักษาธาตุศักดิ์สิทธิ์ ไม่ให้ผู้คนเข้าไปรบกวน ​

    เด่นทางด้านอิทธิ์ฤทธิ์ เนรมิตภาพมายา ส่งเสริมผู้ใฝ่ในการปฏิบัติธรรมในรูปแบบการชี้แนะผ่านทางนิมิตรสมาธิ หรือความฝัน จัดเป็นเหล็กไหลที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง ​

    5. สีชมพู เหล็กไหลชนิดนี้มี อริยเทพ อริยพรหม ในระดับ รูปฌาณ รักษาอยู่ เป็ไหลที่มี บารมีธรรมในระดับสูงรองลงมาจาก อรูปฌาณ พบมากในเขตป่าเขาที่มีความชุ่มชื้น มักอยู่ตามถ้ำภูผาที่ลึกลับ พบเห็นได้ยาก นอกจากผู้มีบารมีธรรมเข้าถึงสัจจธรรมเท่านั้น ​

    ดีเด่นทางด้านเมตตามหานิยม โชคลาภ แคล้วคลาด กันภัย ช่วยเหลือผู้เป็นสัมมาทิฏฐิให้สำเร็จในสิ่งที่อธิษฐานไว้ โดยไม่ขัดกับกฏแห่งกรรม

    6. สีเหลืองเหล็กไหลชนิดนี้เกิดจากอำนาจบารมีของภูมิจิตภูมิธรรม ของเหล่าอริยเทพ อริยพรหม ในระดับรูปฌาณ ที่ปรารถนาพุทธภูมิในระดับ พระปัจเจกพุทธเจ้า สีสันเหมือนกับแสงนวลของพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ มักแฝงเร้นในที่สงบด้วยป่าเขา ลำเนาไพร ถ้ำคูหาที่สงบเยือกเย็นบนภูเขาสูงๆ เรียกลมเรียกฝนได้ มีอิทธิ์ฤทธิ์ทำให้เกิดปาฏิหาริย์ได้มากมาย เช่น ดวงรัศมีกลมใหญ่ส่องสว่างทั่วภูเขา จะพบเห็นได้ในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น ​

    เหล็กไหลประเภทนี้สามารถอธิษฐานขออาราธนาบารมีจากพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันต์ได้ แต่จะไม่มีเทพเข้าไปสิงสถิตย์อยู่ แต่เทพพรหมในระดับจ่างๆ จะเข้าไปอธิษฐานของบารมีและเฝ้ารักษาอยู่ภายนอกเท่านั้น ไม่มีใครจะบังคับหรืออัญเชิญท่านด้วยอิทธิ์ฤทธิ์หรือวิชาคาถาอาคมใดๆ เว้นแต่ขอชมบารมี ขอคำแนะนำในการปฏิบัติธรรมให้ยิ่งๆ ขึ้นไป โดยมาปรากฏในลักษณะนิมิตรต่างๆ ในขณะนั่งสมาธิ ​

    7. สีฟ้าอ่อน เหล็กไหลชนิดนี้เกิดจากอำนาจบารมีของ อริยะเทพ ในระดับมหาเทพชั้นสูง ผู้ครอบครองเหล็กไหลชนิดนี้ จะเป็นผู้มีบารมีเดิมที่เคยเกี่ยวข้องกันมาก่อน เพื่อช่วยส่งเสริมด้านบารมีธรรมทั้งนักบวชและฆราวาสให้เป็นผู้สอนธรรมในระดับปานกลาง จนถึงระดับสูงขึ้นไป ​

    มีฤทธิ์อำนาจในการขจัดปัดเป่าโรคภัยไข้เจ็บ ดับพิษร้อน ป้องกันภูติผีปีศาจ แต่มีขอบเขตและรัศมีที่จำกัด สามารถล่องหนหายตัวได้ กันฟ้าผ่า มีความเย็นจนสามารถกำจัดไฟได้ในรัศมีของมัน

    8. สีน้ำตาลอมแดง เหล็กไหลชนิดนี้มีพวก นาค นาคา ผู้บำเพ็ญศีลเฝ้ารักษาอยู่ จึงมีฤทธิ์อำนาจในทางความร้อนแรงด้วยพิษแห่งนาคทั้งหลาย จึงทำให้เหล็กไหลประเภทนี้มีสีออกทางน้ำตาลเข้มและน้ำตาลอมแดง ​

    มีฤทธิ์อำนาจในทำลายล้างพวกมนต์ดำ อวิชชา ป้องกันภูติผีปีศาจได้

    9. สีดำเหมือนนิลเหล็กไหลชนิดนี้เกิดจากอำนาจบารมีของ เหล่าเทพ คนธรรพ์ บังบด เพชรพญาธร ยักษ์ ผู้ปรารถนาจะสร้างบารมีให้ยิ่งๆ ขึ้นไป แต่ยังติดอยู่ในระดับโลกียฌาณ คือยังมีความ โลภ โกรธ หลง ติดอยู่ จึงทำให้มีบารมีทางธรรมน้อยกว่าเหล็กไหลชนิดอื่นๆ ​

    มีฤทธิ์อำนาจทางการคุ้มครอง แคล้วคลาดกันภัย เป็นมหาอุด คงกระพัน

    10. เจ็ดสีประกายรุ้ง เหล็กไหลชนิดนี้เกิดจากอำนาจบารมีของ อริยะเทพ อริยะพรหมผู้รักษาเหล็กไหล ที่ปฏิบัติจนสภาวะจิตเป็นสีประกายรุ้งรัศมีสวยสดงดงาม เป็นธาตุที่หาได้ยากที่สุดและมี อำนาจครอบจักรวาลประหนึ่งแก้วสารพัดนึก แต่สิ่งที่จะอธิษฐานนั้นจะสำเร็จได้โดยไม่เกินอำนาจของกฏแห่งกรรมตามวาสนาเท่านั้น



    </CENTER>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF8218.jpg
      DSCF8218.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.4 KB
      เปิดดู:
      651
    • 7-iron.jpg
      7-iron.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.2 KB
      เปิดดู:
      350
    • 7-iron-1.jpg
      7-iron-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.4 KB
      เปิดดู:
      839
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" border=0><TBODY><TR><TD class=blue22blod vAlign=top>มาดู..ต้นกำเนิดความหมายของ...สวัสดี
    http://variety.mcot.net/inside.php?docid=1875&doctype=11

    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=default12 vAlign=top>
    ความหมาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 สวัสดี หมายถึงความดี ความงาม ความเจริญรุ่งเรือง คำทักทาย หรือพูดขึ้นเมื่อพบหรือจากกัน
    สวัสดี ในส่วนที่นำมาใช้เป็นคำทักทายนั้น พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) ได้เล่าถึงต้นเหตุเดิมไว้ว่า เจ้าหน้าที่วิทยุกระจายเสียงได้ใช้คำ "ราตรีสวัสดิ์" ลงท้ายคำพูดเมื่อจบการกระจายเสียงตอนกลางคืน โดยอนุโลมตามคำว่า "กู๊ดไนต์" (Goodnight) ของอังกฤษ แต่มีผู้ไม่เห็นด้วย ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง จึงขอให้กรรมการชำระปทานุกรมของกระทรวงธรรมการในสมัยนั้น ช่วยคิดหาคำให้ ตกลงได้คำว่า "สวัสดี" ไปใช้ และเมื่อ พ.ศ. 2476 พระยาอุปกิตศิลปสาร ได้นำไปเผยแพร่ให้นิสิต ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใช้เป็นคำทักทายเมื่อพบกัน จึงได้แพร่หลายใช้กันต่อมา
    ครั้นต่อมาในยุคบำรุงวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของชาติ รัฐบาลในสมัยนั้น ก็เห็นชอบกับการใช้คำว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่ได้พบกัน ได้มอบให้กรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน) ออกข่าวประกาศเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2486 ดังต่อไปนี้ (ตัวสะกดและการันต์ในสมัยนั้น)

    "ด้วยพนะท่านนายกรัถมนตรี ได้พิจารนาเห็นว่า เพื่อเปนการส่งเสริมเกียรติแก่ตนและแก่ชาติ ให้สมกับที่เราได้รับความยกย่องว่า คนไทยเปนอารยะชน คำพูดจึงเปนสิ่งหนึ่งที่สแดงภูมิของจิตใจว่าสูงต่ำเพียงใด ฉะนั้นจึงมีคำสั่งให้กำชับ บันดาข้าราชการทุกคนกล่าวคำ "สวัสดี" ต่อกันไนโอกาสที่พบกันครั้งแรกของวัน เพื่อเป็นการผูกไมตรีต่อกัน และฝึกนิสัยไห้กล่าวแต่คำที่เปนมงคล ว่าอะไรว่าตามกัน กับขอไห้ข้าราชการช่วยแนะนำ แก่ผู้ที่อยู่ไนครอบครัวของตนไห้รู้จักกล่าวคำ "สวัสดี" เช่นเดียวกันด้วย" นี่เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ทางราชการในสมัยนั้นได้กำหนดให้ใช้คำว่าสวัสดี ไว้แล้วตั้งแต่ พ.ศ.2486

    แต่ปัจจุบันนี้เยาวชนไทย เมื่อพบกันแทนที่จะใช้คำว่า "สวัสดี" กลับนำเอาคำผรุสวาทมาใช้แทน ซึ่งล้วนแต่ไม่เป็นมงคลแก่ตนเองทั้งสิ้น นับเป็นความเสื่อมทางวัฒนธรรมด้านภาษา และจิตใจอย่างมากที่สุด ในปัจจุบันนี้ มีชาวต่างประเทศมาเที่ยวเมืองไทยจำนวนมาก ได้พยายามยกมือไหว้และกล่าวคำว่า "สวัสดี-Sawasdee" เพราะเข้าใจวัฒนธรรมของไทยดีขึ้น นับเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมไทยได้ประการหนึ่ง คำว่า สวัสดี ได้แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวาง จนกลายเป็นคำของ "ชาตินิยม" เป็นวัฒนธรรม อันหยั่งรากฝังลึกลงในจิตใจของชาวไทยทั้งประเทศ อากัปกิริยาของการ "สวัสดี" ผนวกกับ ความมีน้ำใจไมตรีของคนไทย และรอยยิ้มแห่งมิตรภาพ ทำให้คำว่า "สวัสดี" เป็นคำที่มีความหมายมากมายนัก คนไทยควรจะมาร่วมกันดำรงความเป็น "ไทย" ด้วยรอยยิ้มแจ่มใสและคำทักทาย "สวัสดีค่ะ" "สวัสดีครับ"

    ขอขอบคุณข้อมูลข่าว : กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

    อัพเดทโดย : ศศิวิมล

    </TD></TR><TR><TD class=default11 vAlign=top align=right>02:17:02 2008-01-19</TD></TR><TR><TD class=default11 vAlign=top align=right></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" align=center bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD class=blue12 bgColor=#ffffff>ข่าวอื่นๆในหมวด</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] มาดู..ต้นกำเนิดความหมายของ...สวัสดี</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] มาร่วมย้อนปูมเกียรติยศชั้นสูง กับยุทธวิธีนักรบบนหลังช้าง... ยุทธหัตถี</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] ครูที่ดี ดูอย่างไร.. มาที่นี่ มีคู่มือพิสูจน์การเป็นครูดี มาแนะนำ</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] เคล็ดไม่ลับ...กับ 9 วิธีทำชีวิตให้สุขใจรับ...ปีหนู 2551</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] วันเด็กแห่งชาติ วันสำคัญของเด็กๆ ที่เรียนรู้จากความเป็นจริง</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] เผยเคล็ดวิธีนำสิริมงคลทั้ง 9 เสริมดวงชะตารับปีใหม่...ให้เจริญรุ่งเรือง</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] มีสิ่งดีๆ ที่ควรทำรับวันปีใหม่...มาแนะนำ ทำก่อน...ได้ก่อน</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] ร่วมย้อนรอยพระเจ้าตากสินมหาราช กับพระราชประวัติวีรกษัตริย์ไทยผู้กล้าหาญ</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] มาใกล้ๆ มีเคล็ดไม่ลับ...ที่ช่วยลดความทุกข์ - เพิ่มความสุข..ที่ทำง่ายๆ ทำได้ทันทีมาฝากกัน</TD></TR><TR><TD class=dottline>[​IMG] สวช. สุดปลื้ม... รับรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น จากการส่งเสริมผลิตละครโทรทัศน์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • sawa.jpg
      sawa.jpg
      ขนาดไฟล์:
      30.3 KB
      เปิดดู:
      1,011
  6. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  7. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ท่านปา-ทานลงเรื่องเหล็กไหล มีอารายน่าสนใจอ่ะเปล่าครับ ผมเคยห้อยเดี่ยวทีเหนื่อยมากเลยครับ กำลังคิดอยู่ว่าจะบรรจุพระเจดีย์เหมือนกันครับ แค่คิดเรื่อยๆครับ เดี๋ยวท่านไม่ยอมรับบรรจุก็ไม่ดีครับ....
     
  8. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่ะมาเมื่อไหร่นี่ ตกลงจามารึยังครับ ประมาณกลางเมษาไปสุพรรณดู ก็อตกันมั้ยครับ.....
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมมี แต่ไม่รู้ว่าใช่หรือเปล่า จะลองนำไปตรวจสอบดูครับ

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/



    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑</CENTER>
    อสันถตภาณวาร
    ๑. หมวดมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ
    ๒. หมวดอมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ
    ๓. หมวดติรัจฉานคติตถี ๒๗ จตุกกะ
    ๔. หมวดมนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ
    ๕. หมวดอนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ
    ๖. หมวดติรัจฉานคตะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ
    ๗. หมวดมนุสสะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ
    ๘. หมวดอมนุสสะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ
    ๙. หมวดติรัจฉานคตะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ
    ๑๐. หมวดมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ
    ๑๑. หมวดอมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ
    ๑๒. หมวดติรัจฉานคตะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3493&Z=3929


    <CENTER>บทภาชนีย์ อสันถตภาณวาร

    </CENTER><CENTER>๑. หมวดมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ

    </CENTER><CENTER>๑. มนุสสิตถี สุทธิกะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>[๔๒] พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    <SMALL>@๑. ที่ ... ฯลฯ ฯลฯ ไว้นั้น พึงทราบโดยนัยดังกล่าวแล้วในอสันถตภาณวารนั้นแล.</SMALL>
    <SMALL>@๒. แม้ในประเภทแห่สันถตจตุกกะ ก็มีวิกนัยดังกล่าวแล้วในอสันถตจตกกะนั้นแล.</SMALL>
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์-
    *กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอน
    ออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ถอนวัจจมรรคด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอน
    ออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒. มนุสสิตถี สุทธิกะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ถ้ายินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๓. มนุสสิตถี สุทธิกะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด
    ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด
    ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด
    ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด
    ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิง แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด
    ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก
    ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๔. มนุสสิตถี ชาครันตีจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๕. มนุสสิตถี ชาครันตีจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๖. มนุสสิตถี ชาครันตีจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำ
    เนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการ-
    *ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการ
    ถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๗. มนุสสิตถี สุตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ-
    *ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๘. มนุสสิตถี สุตตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๙. มนุสสิตถิ สุตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๑๐. มนุสสิตถี มัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3493&Z=3929

    <CENTER>๑๑. มนุสสิตถี มัตตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๒. มนุสสิตถี มัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๓. มนุสสิตถี อุมมัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๔. มนุสสิตถี อุมมัตตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๕. มนุสสิตถี อุมมัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๖. มนุสสิตถี ปมัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่
    ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๗. มนุสสิตถี ปมัตตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    ปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๘. มนุสสิตถี ปมัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๙. มนุสสิตถี มตะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๒๐. มนุสสิตถี มตะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3493&Z=3929


    <CENTER>๒๑. มนุสสิตถี มตะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด แล้วให้
    ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๒. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่
    ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๓. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๔. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๕. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๖. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนปัสส์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุด
    อยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒๗. มนุสสิตถี มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้ว
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    หมวดมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ จบ.



    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๔๙๓ - ๓๙๒๙. หน้าที่ ๑๓๕ - ๑๕๒.

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3493&Z=3929&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖

    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3930&Z=3937


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑</CENTER>. หมวดอมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ


    <CENTER>อมนุสสิตถี สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักอมนุษย์ผู้หญิง ... อมนุษย์ผู้หญิงผู้ตื่น ... ผู้หลับ ...
    ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ... ต้องอาบัติปาราชิก ... อมนุษย์ผู้หญิงผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก ...
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ


    <CENTER>หมวดอมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ จบ.</CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๓๐ - ๓๙๓๗. หน้าที่ ๑๕๒.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3930&Z=3937&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3938&Z=3945

    <CENTER>๓. หมวดติรัจฉานคติตถี ๒๗ จตุกกะ

    </CENTER><CENTER>ติรัจฉานคติตถี สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ... สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย
    ผู้ตื่น ... ผู้หลับ ... ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ผู้ตายแล้วยังไม่
    ถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ...
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ... ต้องอาบัติปาราชิก ... สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย
    ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก ... ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ


    <CENTER>หมวดติรัจฉานคติตถี ๒๗ จตุกกะ จบ.</CENTER>เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๓๘ - ๓๙๔๕. หน้าที่ ๑๕๒ - ๑๕๓.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3938&Z=3945&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1


    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3946&Z=3953

    <CENTER>๔. หมวดมนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ

    </CENTER><CENTER>มนุสสะอุภโตพยัญชนก สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์อุภโตพยัญชนก ... มนุษย์อุภโตพยัญชนก
    ผู้ตื่น ... ผู้หลับ ... ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ผู้ตายแล้วยังไม่
    ถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์กำเนิด ...
    ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ... ต้องอาบัติปาราชิก ... มนุษย์อุภโตพยัญชนก
    ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก ... ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ


    <CENTER>หมวดมนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ จบ.
    </CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๔๖ - ๓๙๕๓. หน้าที่ ๑๕๓.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3946&Z=3953&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3954&Z=3961

    <CENTER>๕. หมวดอนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ

    </CENTER><CENTER>อมนุสสะอุภโตพยัญชนก สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักอมนุษย์อุภโตพยัญชนก ... อมนุษย์อุภโตพยัญ-
    *ชนกผู้ตื่น ... ผู้หลับ ... ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ผู้ตายแล้ว
    ยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปัสสาวมรรคด้วยองค์
    กำเนิด ... ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ... ต้องอาบัติปาราชิก ... อมนุษย์อุภโต
    พยัญชนกผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก ... ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ


    หมวดอมนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ จบ.

    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๕๔ - ๓๙๖๑. หน้าที่ ๑๕๓.

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3954&Z=3961&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3962&Z=3970
    ๖. หมวดติรัจฉานคตะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ

    <CENTER>ติรัจฉานคตะอุภโตพยัญชนก สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักสัตว์ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ... สัตว์ดิรัจฉาน
    อุภโตพยัญชนกผู้ตื่น ... ผู้หลับ ... ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ...
    ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัดโดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปัสสาวมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ... ให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ... ต้องอาบัติปาราชิก ... สัตว์
    ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก ... ต้องอาบัติถุลลัจจัย ถ้าไม่ยินดี ...
    ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ <SUP>๑-</SUP>

    <CENTER>หมวดติรัจฉานคตะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ จบ. <SUP>๒-</SUP>

    </CENTER><CENTER>เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๖๒ - ๓๙๗๐. หน้าที่ ๑๕๔.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3962&Z=3970&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    </CENTER><CENTER>บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com </CENTER>
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <CENTER>http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v....&A=3930&Z=3937</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑


    มหาวิภังค์ ภาค ๑</CENTER><CENTER></CENTER>

    ๗. หมวดมนุสสะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ



    <CENTER>๑. มนุสสะปัณฑกะ สุทธิกะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    <SMALL>@๑. ที่ ... ฯลฯ ไว้นั้น ผู้ต้องการพิสดารพึงพิจารณาโดยนัยดังกล่าวแล้วในมนุสสิตถีนั้นเถิด ฯ</SMALL>
    <SMALL>@๒. มนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ อมนุสสิตถี ๒๗ จตุกกะ</SMALL>
    <SMALL>@ ติรัจฉานคติตถี ๒๗ จตุกกะ มนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ</SMALL>
    <SMALL>@ อมนุสสะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ ติรัจฉานคตะอุภโตพยัญชนก ๒๗ จตุกกะ</SMALL>
    <SMALL>@ ๒๗x๖=๑๖๒ จตุกกะ.</SMALL>
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๒. มนุสสะปัณฑกะ สุทธิกะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอน
    ออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการ
    ถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๓. มนุสสะปัณฑกะ ชาครันตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๔. มนุสสะปัณฑกะ ชาครันตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการ
    ถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๕. มนุสสะปัณฑกะ สุตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุด
    อยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๖. มนุสสะปัณฑกะ สุตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้หลับ แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๗. มนุสสะปัณฑกะ มัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๘. มนุสสะปัณฑกะ มัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วย
    องค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เมา แล้วให้ยอนปากด้วยองค์
    กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก
    ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๙. มนุสสะปัณฑกะ อุมมัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก
    ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนวัจจมรรค
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER>๑๐. มนุสสะปัณฑกะ อุมมัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER>พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้วิกลจริต แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.


    <CENTER></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2008
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=3971&Z=4265

    <CENTER>๑๑. มนุสสะปัณฑกะ ปมัตตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดี
    การถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอน
    วัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๒. มนุสสะปัณฑกะ ปมัตตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการ
    ถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่
    แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้เผลอสติ แล้วให้ยอนปาก
    ด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดี
    การถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๓. มนุสสะปัณฑกะ มตะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๔. มนุสสะปัณฑกะ มตะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๕. มนุสสะปัณฑกะ มตะเยภุยยะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไป
    ถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไป
    ถึงที่แล้ว ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๖. มนุสสะปัณฑกะ มตะเยภุยยะอักขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    แต่ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติปาราชิก
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด
    โดยมาก แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๗. มนุสสะปัณฑกะ มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนวัจจ์]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดี
    การหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่
    ยินดีการหยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว
    ไม่ยินดีการหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนวัจจมรรคด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่
    ยินดีการหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>๑๘. มนุสสะปัณฑกะ มตะเยภุยยะขายิตะจตุกกะ [ยอนปาก]
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอยินดีการเข้าไป ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการหยุดอยู่
    ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป แต่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว แต่ยินดีการ
    หยุดอยู่ ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ แต่ยินดีการถอนออก ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตายแล้วถูกสัตว์กัดโดยมาก
    แล้วให้ยอนปากด้วยองค์กำเนิด ถ้าเธอไม่ยินดีการเข้าไป ไม่ยินดีการเข้าไปถึงที่แล้ว ไม่ยินดี
    การหยุดอยู่ ไม่ยินดีการถอนออก ไม่ต้องอาบัติ.

    <CENTER>หมวดมนุสสะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ จบ.
    </CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๙๗๑ - ๔๒๖๕. หน้าที่ ๑๕๔ - ๑๖๕.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=3971&Z=4265&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=4266&Z=4270
    <CENTER>๘. หมวดอมนุสสะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ
    </CENTER><CENTER>อมนุสสะปัณฑกะ สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์บัณเฑาะก์ ... อมนุษย์บัณเฑาะก์ผู้ตื่น ...
    ผู้หลับ...ผู้เมา...ผู้วิกลจริต...ผู้เผลอสติ...ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด...ถ้าไม่ยินดี...ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ <SUP>๑-</SUP>

    <CENTER>หมวดอมนุสสกปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ จบ.
    </CENTER> เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๔๒๖๖ - ๔๒๗๐. หน้าที่ ๑๖๕.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=4266&Z=4270&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1


    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=4271&Z=4276
    <CENTER>๙. หมวดติรัจฉานคตะปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ
    </CENTER><CENTER>ติรัจฉานคตะปัณฑกะ สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักสัตว์ดิรัจฉานบัณเฑาะก์ ... สัตว์ดิรัจฉานบัณเฑาะก์
    ผู้ตื่น...ผู้หลับ...ผู้เมา...ผู้วิกลจริต...ผู้เผลอสติ...ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด...ถ้าไม่ยินดี...ไม่ต้อง
    อาบัติ. ฯลฯ <SUP>๒-</SUP>

    <CENTER>หมวดติรัจฉานคตปัณฑกะ ๑๘ จตุกกะ จบ.</CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๔๒๗๑ - ๔๒๗๖. หน้าที่ ๑๖๖.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=4271&Z=4276&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1


    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=4277&Z=4281
    <CENTER>๑๐. หมวดมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ
    </CENTER><CENTER>มนุสสะปุริสะ สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักมนุษย์ผู้ชาย ... มนุษย์ผู้ชายผู้ตื่น ... ผู้หลับ ... ผู้เมา ...
    ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ <SUP>๓-</SUP>

    <CENTER>หมวดมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ จบ.</CENTER> เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๔๒๗๗ - ๔๒๘๑. หน้าที่ ๑๖๖.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=4277&Z=4281&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1


    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=4282&Z=4286
    <CENTER>๑๑. หมวดอมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ
    </CENTER><CENTER>อมนุสสะปุริสะ สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักอมนุษย์ผู้ชาย ... อมนุษย์ผู้ชายผู้ตื่น ... ผู้หลับ ...
    ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้องอาบัติ. ฯลฯ <SUP>๔-</SUP>

    <CENTER>หมวดอมนุสสะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ จบ.
    </CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๔๒๘๒ - ๔๒๘๖. หน้าที่ ๑๖๖.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=4282&Z=4286&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1


    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=4287&Z=4293
    <CENTER>๑๒. หมวดติรัจฉานคตะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ
    </CENTER><CENTER>ติรัจฉานคตะปุริสะ สุทธิกะจตุกกะ
    </CENTER> พวกภิกษุผู้เป็นข้าศึก พาภิกษุมาในสำนักสัตว์ดิรัจฉานตัวผู้ ... สัตว์ดิรัจฉานตัวผู้ผู้ตื่น ...
    ผู้หลับ ... ผู้เมา ... ผู้วิกลจริต ... ผู้เผลอสติ ... ผู้ตายแล้วยังไม่ถูกสัตว์กัด ... ถ้าไม่ยินดี ... ไม่ต้อง
    อาบัติ. ฯลฯ <SUP>๕-</SUP>

    <CENTER>หมวดติรัจฉานคตะปุริสะ ๑๘ จตุกกะ จบ.
    </CENTER><SMALL>@๑.๒.๓.๔.๕. แต่ละประเภทมี ๑๘ จตุกกะกับ ๑๘ จตุกกะต้น รวมเป็น ๑๐๘ จตุกกะ</SMALL>

    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๔๒๘๗ - ๔๒๙๓. หน้าที่ ๑๖๖.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=4287&Z=4293&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
    .
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    ขอยืมภาพพระพิมพ์ต้นแบบพระประจำวันล้อม กรุพระแก้ววังหน้าจากกระทู้คุณกวงมาเปรียบเทียบกับพระพิมพ์นี้ของหลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว จ.ชลบุรี
    <!-- / message --><!-- attachments -->




    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]





    </FIELDSET><LEGEND></LEGEND>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เมื่อคืนผมลองดูพระพิมพ์ไปเรื่อยๆ จนพบพระพิมพ์หนึ่งซึ่งเก็บไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ของวัดแห่งหนึ่งย่านเสาชิงช้าก็ได้สร้างพระพิมพ์ในลักษณะของการนำพระพิมพ์ฝีพระหัตถ์ของสมด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑ ใน ๘ พิมพ์พิเศษมาเป็นองค์ต้นแบบ

    ผมเข้าใจว่า หากเราพบ ๑ ที่... ๒ ที่ ที่นำองค์ต้นแบบจากกรุพระแก้ววังหน้ามาในการจัดสร้างพระพิมพ์ขึ้นนั้น สามารถตั้งข้อสมมุติฐานได้หลายสาเหตุคือ

    - เป็นการจัดสร้างหลังปีพ.ศ. ๒๕๒๕

    - การสร้างพระจากองค์ต้นแบบของหลายๆวัดนี้ ต้องมีผู้ที่ได้รับพระจากกรุพระแก้ววังหน้าไปเป็นองค์ต้นแบบอย่างแน่นอน

    - พระพิมพ์ของกรุวังหน้านี้น่าจะกระจายไปในวงกว้าง เพียงแต่ไม่มีผู้ใดกล่าวขานกันมากนัก อาจจะเนื่องจากติดปัญหาด้านการเผยแพร่ในช่วงเวลานั้น (อายุความ ๒๐ ปี ซึ่งหมดอายุความปี พ.ศ. ๒๕๔๕) การจัดสร้างในระหว่างนี้จึงไม่สามารถจะเปิดเผยที่มาที่ไปของการจัดสร้างได้ว่า นำแบบมาจากไหน หรือเป็นการรู้กันเฉพาะวงในมากกว่า

    เพื่อนๆลองวิเคราะห์ดูความเป็นได้ของการนำองค์ต้นแบบจากกรุพระแก้ววังหน้าพิมพ์ต่างๆกันนะครับ ไม่แน่ว่านานๆไปเราจะพบพระพิมพ์นั้นพิมพ์นี้ของวัดต่างๆไปซ้ำกับของกรุพระแก้ววังหน้ามากกว่าวัด ๒ แห่งนี้ ผมคิดว่าประเด็นนี้มีเบื้องหลังของการจัดสร้างอย่างแน่นอน อย่าบอกนะครับว่า คิดขึ้นมาเอง เป็นไปไม่ได้หรอกครับที่จะเหมือนกันรายละเอียดขนาดนั้น ทั้งขนาด และพิมพ์ทรง ช่วงเวลาห่างกันอย่างน้อยก็ ๑๐๐ ปี (หากนับที่ปีพ.ศ. ๒๔๕๑) อย่างน้อยก็เป็นร่องรอยทางประวัติสาสตร์การสร้างพระ ไม่แน่นะครับว่า องค์ท้าวจตุคามรามเทพพิมพ์ที่สร้างกันปีพ.ศ. ๒๕๓๐ อาจจะนำมาจากองค์ต้นแบบจากกรุพระแก้ววังหน้าก็เป็นได้ นี่คือการมองปัจจุบัน แล้วย้อนทบทวนอดีตที่ผ่านมา...

    รอชมกันครับว่า วัดไหนที่นำพระพิมพ์ฝีพระหัถต์ ๒๔๐๘ ของสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑ ใน ๘ พิมพ์นี้ไปสร้างเป็นพระพิมพ์..

    ลองทายกันเล่นๆก็ได้ครับว่า องค์ต้นแบบ ๑ ใน ๘ พิมพ์พิเศษนี้ที่นำไปจัดสร้างพระพิมพ์นั้นคือพิมพ์ใด? และวัดนั้นคือวัดอะไร?

    นับจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง
    ๑ ๒ ๓
    ๔ ๕ ๖
    ๗ ๘

    หากทายถูกทั้ง ๒ คำถาม ผมจะมอบพระพิมพ์ของวัด......พิมพ์ที่ทำจากองค์ต้นแบบนี้มอบให้เป็นที่ระลึก เพื่อสามารถนำไปเปรียบเทียบกับองค์ต้นแบบ ๑ ใน ๘ พิมพ์พิเศษ อ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้ว่าพิมพ์ไหนเกิดก่อนเกิดหลังครับ ก็ดีนะครับ ..

    ส่ง PM เข้ามาที่ผมได้เลยครับ และหมดเวลาทายกันพรุ่งนี้เที่ยงครับ..เฉลยกันตอนเที่ยง ๕ นาที พี่ๆน้องๆร่วมสนุกกันครับ...<!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>

    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    คำถามมีหลอก แต่..ก็มีคนทายถูกจริงๆครับ ..สุดยอด
     
  19. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ขออภัยครับเมื่อคืนเข้ามาโมทนา ทักทายแล้วรีบไปนอน ง่วงจัดเพราะกลางวัน
    ไปคอยชมลูกสาวรำโรงเรียนอนุบาลเขาจัดกิจกรรมทั้งวัน
    เมษาถ้าไปแล้วจะบอกนะครับ ให้ก็อตมาแสดงแถวบ้านผมก่อนได้มั้ย?

    ขอบคุณมากครับ(smile)
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    รำสั่งลาหรือเปล่าครับคุณตั้งจิต
     

แชร์หน้านี้

Loading...