พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TD bgColor=#b0c4de colSpan=6><CENTER>ราชวงศ์สุโขทัย</CENTER></TD></TR><TR><TH>พระมหากษัตริย์</TH><TH>พระมหาอุปราชกรมพระราชวัง</TH><TH>ระยะเวลา</TH></TR><TR><TD>สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระนเรศวรมหาราช</TD><TD>สมเด็จพระเอกาทศรถ</TD><TD>พ.ศ. 2133 - พ.ศ. 2148</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระเอกาทศรถ</TD><TD>เจ้าฟ้าสุทัศน์</TD><TD>พ.ศ. 2148 - พ.ศ. 2153</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม</TD><TD>จหมื่นศรีสรรักษ์</TD><TD></TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระเชษฐาธิราช</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระอาทิตยวงศ์</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จเจ้าฟ้าไชย</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา</TD><TD>สมเด็จพระนารายณ์</TD><TD>พ.ศ. - พ.ศ. 2199</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระนารายณ์มหาราช</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TD bgColor=#f0e68c colSpan=6><CENTER><BIG>สมัยรัตนโกสินทร์</BIG></CENTER></TD></TR><TR><TD bgColor=#b0c4de colSpan=6><CENTER>ราชวงศ์จักรี</CENTER></TD></TR><TR><TH>พระมหากษัตริย์</TH><TH>กรมพระราชวังบวรสถานมงคล</TH><TH>ระยะเวลา</TH></TR><TR><TD vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก</TD><TD vAlign=top>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
    สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร</TD><TD vAlign=top>พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2346
    พ.ศ. 2349 - พ.ศ. 2352</TD></TR><TR><TD>พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD><TD>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์</TD><TD>พ.ศ. 2352 - พ.ศ. 2360</TD></TR><TR><TD>พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD>สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ</TD><TD>พ.ศ. 2367 - พ.ศ. 2375</TD></TR><TR><TD>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD>พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD>พ.ศ. 2394 - พ.ศ. 2408</TD></TR><TR><TD>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD>กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ</TD><TD>พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2428</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=_note-0> จุลลดา ภักดีภูมินทร์, พระบัณฑูร, สกุลไทย, ฉบับที่ 2435, ปีที่ 47, 19 มิถุนายน 2544
    2. จุลลดา ภักดีภูมินทร์, วังหน้ารับพระบัณฑูร และ วังหน้ารับราชโองการ, สกุลไทย, ฉบับที่ 2739, ปีที่ 53, 17 เมษายน 2550
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:115739-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080110125631 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5".
    หมวดหมู่: กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

    <!-- end content -->
    ดู


    เครื่องมือส่วนตัว



    <SCRIPT type=text/javascript> if (window.isMSIE55) fixalpha(); </SCRIPT>ป้ายบอกทาง


    มีส่วนร่วม


    <LABEL for=searchInput>ค้นหา</LABEL>

    <FORM id=searchform action=/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9:Search><INPUT id=searchInput title="ค้นหาวิกิ [alt-f]" accessKey=f name=search> <INPUT class=searchButton id=searchGoButton title="Go to a page with this exact name if exists" type=submit value=ไป name=go> <INPUT class=searchButton id=mw-searchButton title="Search the pages for this text" type=submit value=ค้นหา name=fulltext>
    </FORM>

    เครื่องมือ



    <!-- end of the left (by default at least) column -->
    [​IMG]
    [​IMG]
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://contacshop.tripod.com/000-teawaroop-haripuchai-001.htm

    [​IMG]

    พระยืนศิลปแบบหริภุญไชยทวาราวดี เนื้อสำริดหล่อโบราญสนิมเขียว อายุราวพุทธศตวรรธที่ 11
    Thawarawadee Buddha immage has bilding from bronze Made by old haripunchai technical Age crame to 8th to 11th centuries

    ศิลปแบบทวาราวดี
    อาญาจักรหริภุญชัยนั้นมีความเป็นมาที่ยิ่งใหญ่ยาวนาน กินอาณาบริเวณไปกว้างใหญ่ไพศาล เป็นบ้านเป็นเมืองมาก่อนเชียงใหม่เสียอีก ด้วยความยิ่งใหญ่ของอาญาจักรหริภุญชัยนั้น นับเนื่องมาจากความสำคัญของชัยภูมิที่มั่นเป็นปราการทางด้านทิศเหนือของแค้วนกำโพช ที่มีศุนย์กลาวการปกครองอยู่ที่เมือง ลวปุระหรือลพบุรีในสมัยนี้ ซึ่งได้ส่งพระนางจามเทวีผู้เป็นราชธิดามาครองเมืองนับเป็นการแสดงให้เห็นความสำคัญของเมืองนี้ได้เป็นอย่างดี แบบอย่างศิลปของจังหวัดลำพูน สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายแขนง ขึ้นอยู่กับการรับอิทธิพลมาจากศิลปะในแบบต่างๆ เช่น ศิลปะอินเดีย ศิลปะศรีเกษตรแบบพุกามศิลปะแบบบายน และ พนมโบว์กุกแบบลพบุรี และศิลปะล้านนาที่พัฒนาและเลื่อนไหลซึมซับมาจากพื้นถิ่นเอง โดยอายุของพระพิมพ์ที่สร้างจากเมืองหริภูญไชย นั้นสามารถคาดการณ์อายุได้จากการศึกษาศิลปะของพระแต่ละรูปแบบ ชนิดและแต่ละองค์ที่สร้างขึ้นเช่นพระเปิมพระคง พระบาง พระนารายณ์ทรงปืนนั้นชัดเจนว่าได้รับอิทธิพลจากลพบุรี อายุ: ราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 พระพิมพ์ศิลปะนี้ปรากฏ พระพิมพ์ปางสมาธิ ปางมารวิชัย และประทับยืนปางประทานพร พระพักตร์กว้างมน หรือบางพิมพ์ดูเป็นรูปสี่เหลี่ยมตามแบบพระพุทธรูปทวารวดี พระเนตรอูมโปน พระนาสิกเป็นสัน แสดงขอบจีวรเป็นเส้นนูนรอบคอ พระพุทธรูปและพระสาวกโดยมากมีประภามณฑลรอบเศียร พระพิมพ์ที่แสดงศิลปะแบบทวารดีนี้น่าจะมีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 พระพิมพ์สกุลช่างหริภูญไชยศิลปะทวารดีนี้ได้แก่ พระกวาง พระกล้วย และพระยืนวัดมหาวัน

    [​IMG]
    เทวรูปสมัยหริภุญไชยราวพุทธศตวรรธ ที่ 13 ศิลปแบบลพบุรี
    ต่อมาเป็นพระพุทธรูปและเทวรูปศิลปะลพบุรี
    เฉลี่ย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 15



    พระพิมพ์ศิลปะนี้ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะเขมร แบบนครวัด ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 15 พระพิมพ์ศิลปะนี้ประกออบด้วยพระพุทธรูปสามองค์นั่งเรียงกันองค์กลางมีขนาดใหญ่กว่า องค์ด้านข้าง ลักษณะพระพักตร์แบบสี่เหลี่ยม มักประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆ เช่น เทริด ทองพระกร พระพิมพ์ศิลปะนี้ประกอบด้วย พระสาม กรุวัดดอนแก้ว พระสามกรุท่ากาน พระสิกขี พระป๋วย พระนารายณ์ทรงปืนเป็นต้น และจากบทความนี้เป็นการสันนิษฐานอายุของพระพิมพ์ จากการศึกษาศิลปะแบบต่างๆแต่ก็อาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนบ้างนะครับในแง่ของอายุของพระพิมพ์ต่างๆที่อาจน้อยกว่าอายุที่คาดคะเน นอกจากนั้นการสร้างขึ้นมาในภาพหลังโดยเกจิอาจารณ์ แต่ทำแม่พิมพ์ขึ้นโดยล้อแบบศิลปะแบบต่าง ๆ เช่น ศิลปะแบบอินเดีย และศิลปะแบบพุกาม ส่วนเรื่องของอายุที่อาจจะเก่าแก่กว่าที่คาดคะเนนั้น ไม่น่ามีความเป็นไปได้เนื่องจาก อายุที่คาดคะเนนั้นเป็นยุคแรกของการสร้างพระพุทธรูปของศิลปะแขนงนั้นๆ เช่น พระคงที่สร้างขึ้นในยุคหลัง แบบวัดช้างค้ำ และแบบวัดดอยคำ สร้างแบบศิลปะอินเดียจริง แต่เป็นการสร้างล้อแบบพระคง กรุลำพูน ที่มีความเก่าแก่กว่าโดยเดิมอยู่แล้ว

    [​IMG]
    พระบูชาเชียงแสนสิงห์สามขนาดหน้าตักกว้าง 6 หุนเนื้อสำริด
    ChangSan Style Buddha Immage Made from Bronze Has Age 700 Year

    [​IMG]
    พระบูชาเชียงแสนสิงห์หนึ่งขนาดหน้าตักกว้าง 8 หุนเนื้อสำริด
    ChangSan Style Buddha Immage Made from Bronze Has Age 700 Year
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2008
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG] <!--WapAllow0=Yes--><!--pda content="begin"--><B><BIG><BIG><!--Topic-->พระราชวงศ์บ้านพลูหลวงหลังกรุงแตกหายไปไหน [​IMG] </BIG></BIG></B>

    <!--MsgIDBody=0-->ผมอยากจะทราบเรื่องราวของพระราชวงศ์บ้านพลูหลวงในช่วงหลังกรุงแตก

    1 ราชวงศ์บ้านพลูหลวงหายไปไหนช่วงหลังกรุงแตก และช่วงรัตนโกสินทร์ ผมทราบแต่เพียงว่าบางส่วนถูกกุมตัวไปพม่า และบางส่วนยังตกค้างอยู่ในเมืองไทย

    2 ราชวงศ์บ้านพลูหลวงเคยเกี่ยวดองทางการสมรสกับเจ้านายราชวงศ์พระเจ้าตาก หรือราชวงศ์จักรีหรือไม่?

    3 ปัจจุบันยังพอมีผู้สืบสายเลือดของราชวงศ์นี้อยู่อีกหรือไม่?

    4พระบรมอัฐิของพระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์อยู่ที่ใด?

    ใครพอทราบช่วยกรุณาตอบด้วยนะคับจะเป็นพระคุณอย่างมากคับ <!--MsgFile=0-->จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->odia [​IMG] - [ <!--MsgTime=0-->21 มิ.ย. 50 20:58:23 <!--MsgIP=0-->]


    1) ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นการจัดลำดับพระราชวงศ์โดยล้นเกล้ารัชกาลที่ 4 ราชวงศ์นี้ก็คือราชวงศ์ที่สืบต่อมาจากพระเจ้าปราสาทโดยปกติ
    จึงควรเป็นราชวงศ์อยุธยา

    เมื่อสิ้นศึกสุริยาศน์อมรินทร์ 2310 พงศาวดารฉบับนายต่อกล่าวถึงการนำพระราชวงศ์กลับสู่อังวะ

    ".....ครั้นสีหะปะเต๊ะแม่ทัพทำเมรุพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาเสร็จแล้วก็จัดให้พลทหารเข้าเก็บคัดเลือกช้างม้ารี้พลแลแก้วแหวนเงินทองภาชนใช้สอยต่าง ๆ แลสาตราอาวุธต่าง ๆ ในพระคลังมหาสมบัตแลพระคลังข้างที่ทุกหนทุกแห่ง แล้วแม่ทัพคัดเลือกพระอรรคมเหษีแลพระสนม แลพระบรมวงษานุวงษ์ของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยานั้น มีรายชื่อเลอียดแจ้งอยู่ข้างล่างนี้ คือ

    มเหษีพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา ๔ องค์ คือ พระนามว่าพระนางเม้า ๑ พระองค์มิ่ง ๑ พระองค์ศรี ๑ พระองค์ศิลา ๑ พระอนุชาของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาคือ พระอนุชาราชาธิราชที่ได้เสวยราชนั้น ๑ สุรประทุมราชา๑ ชวาลอำดชติ ๑ พระองค์เจ้าตะไล ๑ พระองค์เจ้าสังข์ ๑ พระองค์เจ้าเนียละม่อม ๑ พระองค์เจ้ากร ๑ พระองค์เจ้าจริต ๑ พระองค์เจ้าภูนระ ๑ พระองค์เจ้าสูรจันทร์ ๑ พระองค์เจ้าแสง ๑ พระองค์เจ้าก้อนเมฆ ๑ พระอนุชารวม ๑๒ พระองค์

    พระขนิษฐภคินีของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา คือเจ้าฟ้าปรมาศ ๑ เจ้าฟ้าสุรบน ๑ เจ้าฟ้าอินทรสุดาวดี ๑ เจ้าฟ้าหมื่นคอย ๑ เจ้าเกสร ๑ เจ้าอุ่มฉอุ้ม ๑ เจ้าฟ้าฉโอด ๑ องค์เจ้าลำภู ๑ องค์เจ้าเผือก ๑ องค์เจ้าเจีมตระกูล ๑ องค์เจ้าสอาด ๑ องค์เจ้าชมเชย ๑ องค์เจ้าอินทร์ ๑ พระขนิษฐ์ภคินีรวม ๑๔ พระองค์

    พระราชโอรสของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา คือพระองค์เจ้าประเพศร ๑ พระองค์เจ้าสุรเดช ๑ พระองค์เจ้าเสษฐ ๑ พระราชโอรสรวม ๓ พระองค์
    พระราชธิดาของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา คือองค์เจ้าประบิ ๑ เจ้าฟ้าน้อย ๑ เจ้าฟ้าดอกมะเดื่อ ๑ เจ้าเลีศตรา ๑ พระราชธิดาของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยารวม ๔ พระองค์
    พระราชนัดดาเจ้าชายของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาคือ หม่อมสีพี ๑ หม่อมจา ๑ หม่อมสูวดี ๑ หม่อมสูจี ๑ หม่อมฉง่าย ๑ หม่อมสูรัตน ๑ หม่อมโกรน ๑ หม่อมชมภู ๑ หม่อมสุพรรณ ๑ หม่อมอุดม๑ หม่อมไพฑูรย์ ๑ รวม ๑๔ พระองค์

    พระราชนัดดาเจ้าหญิงของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาคือหม่อมมาลา ๑ หม่อมไชยา ๑ หม่อมชะแวก ๑ หม่อมอะไภย ๑ หม่อมอรุณ ๑ หม่อมอำพันธ์ ๑ หม่อมสรรพ์ ๑ หม่อมมาไลย ๑ หม่อมสูรวุฒ ๑ หม่อมชะฎา ๑ หม่อมม่วง ๑ หม่อมสิทธิ์ ๑ เจ้าศรี ๑ เจ้าต้น ๑ รวม ๑๔ พระองค์
    พระราชภาคิไนยเจ้าชายพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาคือ พระองค์เจ้าตัน ๑ พระองค์เจ้าแม้น ๑ รวม ๒ พระองค์
    พระราชภาคิไนยเจ้าหญิงพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาคือ เจ้าดารา ๑ เจ้าศะริ ๑ รวม ๒ พระองค์
    พระสนมที่เปนเชื้อพระวงษ์พระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา รวม ๘๖๙ องค์ พระราชวงษานุวงษ์ชายหญิงของพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยารวมทั้งสิ้น ๒๐๐๐ เศษ ......"

    ...........ครั้นสมโภชเสร็จแล้ว สีหะปะเต๊ะแม่ทัพได้ทราบข่าวว่าจีนห้อมาติดกรุงอังวะสีหะปะเต๊ะแม่ทัพจึงจัดพลทหารพลเมืองชายหญิง มอบให้นายทัพนายกอง ๔๐๖ คน
    ควบคุมรวบรวมพลทหารพลเมืองอยุทธยา ๑๐๖๑๐๐ คน มอบแบ่งให้นายทัพนายกองเสร็จแล้ว ครั้น ณ วัน ฯ ๗ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๒๙ สีหะปะเต๊ะแม่ทัพได้ยกทัพออกจากกรุงศรี อยุทธยาไปยังกรุงรัตนบุระอังวะ ........"



    ...........ครั้นเดือนห้า จุลศักราช ๑๑๓๐ ปืนใหญ่ก็ถึงกรุงอังวะ
    แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระมเหษีแลพระราชบุตรีแลพระสนมที่เปนพระราชวงษ์พระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา ที่เปนเจ้าหญิงทั้งปวงนั้น ทรงจัดให้สร้างวังเอาเข้าไว้ในมหาพระราชวังหลวง แต่พระราชวงษานุวงษ์แลขุนนางข้าราชการแลพลเมืองพลทหารอยุทธยาทั้งปวงนั้น ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังแลทำเย่าเรือนเคหาอยู่ตามภูมิลำเนานอกกำแพงพระราชวัง แล้วทรงโปรดเกล้าฯ เลี้ยงดูให้อยู่เปนศุขทุกคน มิให้ร้อนใจสิ่งหนึ่งสิ่งใด.........."


    ส่วนที่ตกค้องอยู่เมืองไทย จะเป็นเจ้านายในระดับล่างลงมา เช่นพระธิดาในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษที่ยังตกค้างอยู่ ที่ค่ายรวบรวมนำส่ง ที่ค่ายปากน้ำประสบ( ค่ายรบ) - โพธิสามต้น(ค่ายรวบรวม)

    2) ราชวงศ์อยุธยา มีความเกี่ยวดองกับพระยาตาก และหลวงยกกระบัตรทองด้วง ในฐานะที่พระยาตากเป็นข้าราชการสายการค้า(กรมพระคลังซ้าย)ทางทะเลป้องกับจีนกันสินค้าจากโจรสลัด และหลวงยกกระบัตรเป็นข้าราชการสายมหาดไทย ที่ไปดูแลหัวเมืองราชบุรี

    ศึกทัพเจ้าตากสามารถยึดค่ายรวบรวมเชลยที่โพธิสามต้น ก็ได้พบราชวงศ์อยุธยาฝ่ายหญิงอยู่ในค่ายซึ่งพงศาวดารไทย ว่าเป็นลูกของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษ จึงนำมาเป็นมเหสีสองคนในช่วงสถาปนากรุงธนบุรี( ชื่อของพระญาตินั้นหาในพงศาวดารนะครับ) ส่วนทองด้วง ไม่ได้มีการเกี่ยวข้องกับราชวงศ์อยุธยาหลังจากนั้น นอกจากการพยายามสร้าง Ayutthayanization กลับมา พระญาติพระวงศ์ในระดับล่างของราชวงศ์อยุธยา ได้รับการดูแลเช่นในความเห็นที่ 2 ครับ

    3) เท่าที่จำได้นะครับ ไม่มีโอรสธิดากับพระยาตาก มี Gossip เรื่องความรังเกียจในฐานะ จึงไม่มีการสืบทอดราชวงศ์ของอยุธยาในกรุงเทพ

    ..............แต่ที่มัณฑะเลย์ มีครับ ลุกหลานของราชวงศ์อยุธยา ยังสืบเชื้อสายมาถึงปัจจุบัน แต่ก็ผสมกับพม่า มอญไปหลายสายเหมือนกัน เช่นในกรณีศึกษาจากนวนิยาย สายโลหิตไงครับ

    4) จากพงศาวดารนายต่อ ".....ในเวลานั้นกองทัพพม่าเที่ยวสืบเสาะค้นหาพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาจนย่ำรุ่งก็ไม่เห็นพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยา เพราะฉนั้นแม่ทัพพม่าจึงได้ถอดพวงคอแลเครื่องจำพระองค์เจ้าจันทร์ออกแล้วให้พลทหารคุมพระองค์เจ้าจันทร์นำไปเที่ยวค้นหาพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยานอกกำแพงในกำแพง ก็ไปเห็นพระศพพระเจ้ากรุงศรีอยุทธยาถูกอาวุธล้มสวรรคตอยู่ที่ประตูเมืองฝั่งตะวันตกกรุงศรีอยุทธยา แล้วแม่ทัพพม่าเชิญเอาพระศพนั้นมาทำเมรุโดยสนุกสนาน....."

    ส่วนพงศาวดารฉบับราชหัตถเลขาของไทย ลิขิตให้พระเจ้าเอกทัศน์เป็นโรคเรื้อน หนีตายจากพระนครไปทางวัดสังฆวาส (ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเมือง คนละทางกับประตูตะวันตก) กับมหาดเล็กสองคน แล้วใกล้อดตาย มอญไปพบจึงนำตัวกลับมาแล้วสวรรคตที่ค่ายโพธิสามต้น เจ้าตากมาขุดพระศพทำเมรุให้หลังจากที่ยึดค่ายได้ ..... ทำเมรุที่ค่ายโพธิสามต้น


    พระบรมอัฐิของพระเจ้าเอกทัศน์ อยู่ที่ไหนดี เช่นเดียวกับกษัตริย์ในสมัยปลายอยุธยาอีกหลายพระองค์ ที่พงศาวดารของไทยในยุคหลังชี้ว่า มีพระบรมอัฐิของกษัตริย์อยุยา 16 พระองค์ บรรจุอยู่ที่ท้ายจระนำวิหารวัดพระศรีสรรเพชญ ส่วนที่ติดกับเจดีย์ใหญ่ทางทิศตะวันออก

    พระบรมอัฐิอยู่ที่นั่นหรือเปล่า ตามพระราชประเพณีโบราณของกรุงศรีอยุธยา
    แต่.....ก็เป็นที่น่าเสียดาย ที่เคยได้ฟังเรื่องเก่า ๆ มาว่า มีการลักลอบขุดหาสมบัติโบราณในเกาะเมือง แล้วมีการเอาพระอัฐิออกมาจากกรุที่เก็บแล้วสาดกระจายไปทั่วท้ายจระนำนั้น

    ปัจจุบัน อัฐิของพระมหากษัตริย์โบราณ กลายเป็นธุลีดินอยู่ในวัดพระศรีสรรเพชญ โดยเฉพาะจุดท้ายจระนำ ที่ยังไม่เคยมีใครรู้ว่า ตรงนี้เมื่อในยามรุ่งเรือง พระมหากษัตริย์ทำนุบำรุงพระศาสนาแลปกปักษ์รักษาไพร่ฟ้า เคยเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์

    ปัจจุบันเป็นที่โพสท่าถ่ายรูป และเป็นทางเดินใหม่ ที่ทับไปบนพระบรมอัฐิของพระมหากษัตริย์โบราณ

    คติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่เคยถูกนำใช้กับวิชาการบูรณะ วิชาการท่องเที่ยวและวิชามรดกโลก

    ส่วนใครจะเชื่อว่าพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของกรุงอโยธยาศรีรามเทพนครนั้น อยู่ที่ไหน ก็ขอให้อ่านจากข้อความนี้ประกอบการคิดและจดจำเรื่องราวในอดีตซักเล็กน้อย

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2008
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดารปัญหาเรื่องศักราชและวันเดือนปีทางจันทรคติ

    โดย ขุนนางอยุธยา [27 มิ.ย. 2548 , 21:38:33 น.] ( IP = 203.156.34.142 : : )

    ข้อมูลที่ข้าพเจ้าจะนำเสนอต่อไปนี้เป็นบทความที่นำเสนอเรื่องศักราช และวันเดือนปีทางจันทรคติ โดยผู้เขียนได้ทำการวินิจฉัยและสอบศักราชต่างที่เป็นปัญหาในการศึกษาทางประวัติศาสตร์

    เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดารปัญหาเรื่องศักราชและวันเดือนปีทางจันทรคติ : ศิรินันท์ บุญศิริ : นักอักษรศาสตร์ 8 ว. กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ : วารสารศิลปากร ปีที่ 44 ฉบับที่ 5

    เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดาร ปัญหาเรื่องศักราชและวันเดือนปีทางจันทรคติ


    จากการตรวจสอบชำระหนังสือชุดประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๒ พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน และเล่ม ๘ ประกอบด้วย เรื่องกรมหลวงประจักษศิลปาคมเสด็จไปราชการ ณ หัวเมืองลาวพวน จดหมายเหตุปราบเงี้ยว ตอน ๑ - ๒ พงศาวดารเมืองเชียงรุ้ง พงศาวดารเมืองเชียงแขง พงศาวดารเมืองไล พงศาวดารเมืองแถง พงศาวดารเมืองหัวพันห้าทั้งหก และจดหมายเหตุกองทัพปราบฮ่อ ปัญหาใหญ่ที่พบได้แก่ ปัญหาศักราชและวันเดือนปี ซึ่งใช้เป็นวันเดือนปีทางจันทรคติและใช้ศักราช เช่น มหาศักราช จุลศักราช รัตนโกสินทรศก แตกต่างจากปัจจุบันที่ใช้วันเดือนปีทางสุริยคติ และพุทธศักราช เป็นเหตุให้ต้องค้นคว้าศึกษา เรื่องวันเดือนปีทางจันทรคติและศักราชเป็นความรู้เพิ่มเติมได้ความดังนี้

    มหาศักราช

    ใช้อักษรย่อว่า ม.ศ. หมายถึงปีของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ สันนิษฐานว่าพระเจ้าสลิวาหนะ พนะมหากษัตริย์อินเดียทรงตั้งขึ้นเมื่อพระองค์ปราบปรามอินเดียใต้ได้ชัยชนะหรือหมายถึงปีใหญ่ตั้งขึ้นหลังพุทธศักราช ๖๒๑ ปี (หากเป็นช่วงสุโขทัยและอยุธยา นับเป็น ๖๒๒ ปี) เริ่มนับปีใหม่เมื่ออาทิตย์โคจรเข้าสู่ราษีเมษ


    จุลศักราช

    ใช้อักษรย่อว่า จ.ศ. หมายถึงปีของกษัตริย์เล็กหรือปีเล็กเมื่อเทียบกับมหาศักราช ตั้งขึ้นหลังพุทธศักราช ๑๑๘๑ ปี (หากเป็นช่วงสมัยสุโขทัยและอยุธยานับเป็น ๑๑๘๒ ปี) เริ่มนับใหม่เมื่ออาทิตย์โคจรเข้าสู่ราษีเมษ

    รัตนโกสินทรศก ใช้อักษรย่อว่า ร.ศ. หรือ ร.ศก. หมายถึงปีของกรุงรัตนโกสินทร์หรือปีก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเริ่มนับ จ.ศ. ๑๑๔๔ ปีที่ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์

    เป็น ร.ศ. ๑ เริ่มใช้เมื่อ จ.ศ. ๑๒๕๐ (พ.ศ. ๒๔๓๒) เป็นรัตนโกสินทรศก ๑๐๘ และเขียนเป็นลำดับปีในรัชกาลทับศก เช่น รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ หรือ ร.ศก. ๑๒๓ เริ่มใช้หลังพุทธศักราช ๒๓๒๔ ปี เริ่มนับปีใหม่วันที่ ๑ เมษายน

    พุธศักราช

    ใช้อักษรย่อว่า พ.ศ. หมายถึงปีแห่งสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน และเริ่มนับปีใหม่เมื่อ เดือน ๖ แรม ๑ ค่ำ

    คริสตศักราช

    ใช้อักษรย่อว่า ค.ศ. หมายถึงปีแห่งพระเยซูคริสต์ กำหนดวันประสูติของพระเยซูคริสต์เป็นวันเริ่มปีคริสตศักราช ตั้งขึ้นหลังพุทธศักราช ๕๔๓ ปี

    นอกจากนั้นยังปรากฏศักราชต่าง ๆ อีกมาก เช่น กลียุคศักราช อัญชนะศักราช มหาวีระศักราช วิกรมาทิตย์ศักราช ฮิจเราะห์ศํกราช ฯลฯ รวมทั้งยังมีการเขียนคำศัพท์แทนเลข เรียกว่า เลขกหังปายา เป็นต้น
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=shalawan&topic=1293&page=2

    แต่เดิมไทยใช้วันทางจันทรคติและนิยมใช้มหาศักราชหรือจุลศักราช และถือเอาวันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย (เดือนธันวาคม) เป็นวันขึ้นปีใหม่ โดยถือเอาฤดูหนาวเป็นการเริ่มต้นปีต่อมาถือคติพราหมณ์ใช้วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๕ (เดือนเมษายน) เป็นวันขึ้นปีใหม่ ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พ.ศ. ๒๔๓๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนใช้วันทางสุริยคติเพื่อสะดวกแก่ความเข้าใจให้เหมือนประชาคมโลก รวมทั้งให้ใกล้เคียงกับฤดูกาลให้ใช้วันที่ ๑ เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ และเปลี่ยนจากจุลศักราชเป็นรัตนโกสินทรศก ตั้งแต่วันจันทร์เดือน ๕ ขึ้น ๑ ค่ำ ปีฉลูยังเป็นสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๒๕๐ ตรงกับวันที่ ๑ เมษายน รัยตนโกสินทรศก ๑๐๘ และกำหนดให้ปีหนึ่งมี ๑๒ เดือน มีชื่อตามราศีเดือนนั้น ๆ เกี่ยวข้องตามลำดับ คือ

    เดือนที่ ๑ ชื่อ เมษายน มี ๓๐ วัน

    เดือนที่ ๒ ชื่อ พฤษภาคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๓ ชื่อ มิถุนายน มี ๓๐ วัน

    เดือนที่ ๔ ชื่อ กรกฎาคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๕ ชื่อ สิงหาคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๖ ชื่อ กันยายน มี ๓๐ วัน

    เดือนที่ ๗ ชื่อ ตุลาคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๘ ชื่อ พฤศจิกายน มี ๓๐ วัน

    เดือนที่ ๙ ชื่อ ธันวาคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๑๐ ชื่อ มกราคม มี ๓๑ วัน

    เดือนที่ ๑๑ ชื่อ กุมภาพันธ์ มี ๒๘ วัน
    (ในปีปกติสุรทินและมี ๒๙ วัน ในปรอธิกสุรทิน)

    เดือนที่ ๑๒ ชื่อ มีนาคม มี ๓๑ วัน

    คำว่า อาคม และ อายน ที่ต่อท้ายชื่อเดือน แปลว่า มา หรือ มาถึง ส่วน อาพันธ แปลว่า เกี่ยวข้อง หรือ เนื่องด้วย เพื่อให้เป็นที่สังเกตได้ว่า เดือนใดที่ลงท้ายด้วย คม ต้องมี ๓๑ วัน ลงท้ายด้วย ยน มี ๓๐ วัน และลงท้ายด้วยพันธ มี ๒๘ หรือ ๒๙ วัน


    ส่วนวันในแต่ละเดือนให้เรียกว่า วันที่ ๑, ๒, ๓
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=shalawan&topic=1293&page=2

    จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดารพบวิธีเขียนวันเดือนปีทางจันทรคติหลายแบบ คือ


    ๑. เขียนเป็นตัวอักษร หรือ ตัวเลข เช่น วันเสาร์ เดือนห้า แรมสองค่ำ ปีมะเส็งนพศก จุลศักราช ๑๒๑๙ หรือ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๒ ค่ำ


    ๒. เขียนเป็นเครื่องหมายประกอบตัวเลข เช่น วัน ๗ฯ๒๕ ค่ำ หรือ วัน ๔ฯ๑๑๗ ค่ำ อ่านว่า วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๒ ค่ำ และวัน พุธ เดือน ๗ ขึ้น ๑๑ ค่ำ

    ๓. เขียนเป็นภาษบาลี หรือสันสกฤต เช่น ศุภมัศดุลุศักราช ๑๒๓๕ กุกุฏสังวัจฉร สาวันมาศ ชุสณปักษ์ฉัฐมีดิถี ครุวารปริเฉทกาลกำหนด หรือ ศุภมัสดุ ศักราช ๑๒๔๐ วราหสังวัจฉรภัทรบทมาศ กาฬปักษทุติยดิถี วริวารปัจจุบันปริเฉทกาลกำหนด หมายถึง จุลศักราช ๑๒๓๕ ปีระกา เดือน ๙ แรม ๖ ค่ำ วันพฤหัสบดี และ จ.ศ. ๑๒๔๐ ปีวอก เดือน ๑๐ แรม ๒ ค่ำ วันอาทิตย์


    ๔ เขียนเป็นคำศัพท์แทนเลข ส่วนใหญ่ปรากฏในศิลาจารึก เช่น ในปีแห่งพระราชาศกที่ล่วงแล้ว กำหนดโดยอินทรีย์ ๕ รส ๖ และดวงจันทร์ ๑ แรม ๑๓ ค่ำ แห่งอิษ หมายถึง แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ มหาศักราช ๕๖๑
    ดังนั้น ก่อนจะเทียบวันทางจันทรคติเป็นวันทางสุริยคติ จึงจำเป็นต้องอ่านวันทางจันทรคติให้ถูกต้องก่อน ต้องทราบวิธีการอ่านสัญลักษณ์ ความหมาย คำแปล และคำลงศกต่าง ๆ ดังนี้

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]ดังนั้น ก่อนจะเทียบวันทางจันทรคติเป็นวันทางสุริยคติ จึงจำเป็นต้องอ่านวันทางจันทรคติให้ถูกต้องก่อน ต้องทราบวิธีการอ่านสัญลักษณ์ ความหมาย คำแปล และคำลงศกต่าง ๆ ดังนี้

    วัน
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=shalawan&topic=1293&page=2

    ถ้าหากเขียนวันทางจันทรคติเป็นภาษบาลี สันสกฤต นอกเหนือจากวันและเดือนดังกล่าวมาแล้ว สิ่งที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่ง คือ ปี ๑๒ นักษัตร (สังวัจฉร, หรือ สัมพัตสร) ข้างขึ้น (ชุณหปักษ์, ชุษณปักษ์, สุกกปักษ์) ข้างแรม (กาฬปักษ์, กลาปักษ์, กฤษณปักษ์, กัฯหปักษ์) และ วันที่ ๑ - ๓๑ ตามลำดับ ดังนี้

    ปี ๑ - ๑๒ นักษัตร


    ชวด (หนู) มุสิก

    ฉลู (วัว) อุสุภ, อุสภ

    ขาล (เสือ) พยาฆร, พยัฆะ, วยาฆร, พยคฆ
    เถาะ (กระต่าย) สะสะ, สัศ

    มะโรง (งูใหญ่) มังกร, นาค, สงกา

    มะเส็ง (งูเล็ก) สัป, สปปก

    มะเมีย (ม้า) ดุรงค, อัสส, อัสดร

    มะแม (แพะ) เอฬกะ, อัชฉะ

    วอก (ลิง) มกฏะ, กปิ

    ระกา (ไก่) กุกกุฎ, กุกกุฏ

    จอ (หมา) โสณ, สุนข

    กุน (หมู) สุกร, วราห, กุญชร

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]วันที่ ๑ - ๓๑

    วันที่ ๑ ปาฏิบทดิถี

    ๒ ทุติยดิถี

    ๓ ตติยดิถี

    ๔ จตุรดิถี, จตุตดิถี

    ๕ ปัญจมดิถี, ปัญจมีดิถี

    ๖ ฉัฏฐีดิถี

    ๗ สัตมีดิถี

    ๘ อัษฏมดิถี, อัฏฐมี

    ๙ นวมีดิถี

    ๑๐ ทศมีดิถี, ทัศมีดิถี

    ๑๑ เอกาทศมีดิถี

    ๑๒ ทวาทสีดิถี, พารสีดีถี

    ๑๓ เตรสีดิถี, เตรสมีดิถี

    ๑๔ จาตุทศมดิถี, จาตุทสีดิถี

    ๑๕ ปัณณรสีดีถี

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]๑๖ โสฬสทลาห

    ๑๗ สัตทศ, สัตถะทสม

    ๑๘ อัฏฐรสม

    ๑๙ เอกูนวีสติม

    ๒๐ วีสติม

    ๒๑ เอกวีสติม

    ๒๒ ทวาวีสติม, พาวีสติม

    ๒๓ เตวีสติม

    ๒๔ จตุวีสติม

    ๒๕ เบญวีสติม, ปัญจวีสม

    ๒๖ ฉวีสติม, ฉัพพีสติม

    ๒๗ สัตวีสติม

    ๒๘ อัฏฐวีสติม

    ๒๙ เอกูนติงสม

    ๓๐ ติงสม

    ๓๑ เอกติงสม

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]การนับปีจุลศักราชต้องใช้ควบคู่กับปีนักษัตร เช่น จุลศักราช ๑๑๔๔ ปีขาลจัตวาศก หรือ จุลศักราช ๑๑๗๐ ปีมะโรงสัมฤทธิศก โดยใช้ศกกำกับเฉพาะตัวเลขสุดท้ายของจุลศักราชและต้องเขียนติดต่อกับปีนักษัตรโดยไม่เว้นวรรค

    ตัวเลขตัวสุดท้ายที่ใช้กำกับศกของจุลศักราช


    เอกศก คือ เลข ๑

    โทศก คือ เลข ๒

    ตรีศก คือ เลข ๓

    จัตวาศก คือ เลข ๔

    เบญจศก คือ เลข ๕

    ฉศก คือ เลข ๖

    สัปตศก คือ เลข ๗

    อัฐศก คือ เลข ๘

    นพศก คือ เลข ๙

    ฝสัมฤทธิศก คือ เลข ๐

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]การเทียบวันทางจันทรคติเป็นวันทางสุริยคติ ต้องอาศัยการคำนวณตารางเปรียบเทียบที่มีท่านผู้รู้หลายท่านทำไว้แล้ว เช่น ทองเจือ อ่างแก้ว พันโท เอื้อน มณเฑียรทอง J.C. Eade และ Roger Billard แต่หากเป็นเรื่องที่เหนือความสามารถ ผู้ค้นคว้าสามารถใช้ปฏิทิน ๑๐๐ ปี ๑๒๐ ปี หรือ ๒๕๐ ปี ที่มีผู้รู้คำนวณไว้แล้วเป็นคู่มือได้ เช่น ปฏิทินสำหรับค้นวันเดือนจันทรคติกับสุริยคติ ตั้งแต่ปีขาลจัตวาศก ร.ศ. ๑ พ.ศ. ๒๓๒๕ จ.ศ. ๑๑๔๔ ถึง ปีวอกจัตวาศก ร.ศ. ๑๕๑ พ.ศ. ๒๔๗๕ จ.ศ. ๑๒๙๙ ของกรมวิชชาธิการกระทรวงธรรมการ (พ.ศ. ๒๔๗๔) ปฏิทิน ๒๕๐ ปี พ.ศ. ๒๓๐๔ - ๒๕๕๕ ของสำนักพิมพ์ ส.ธรรมภักดี (พ.ศ. ๒๔๙๗)
    [/FONT][/FONT][/FONT][/FONT]
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=shalawan&topic=1293&page=3

    อย่างไรก็ตาม แม้จะมีปฏิทินเทียบวันทางจันทรคติเป็นวันทางสุริยคติเอื้อประโยชน์แก่ผู้ค้นคว้าแล้ว แต่ยังคงมีปัญหาในการใช้เป้นต้นว่า การบันทึกหรือคัดลอกผิดพลาดปัญหาที่พบส่วนใหญ่ได้แก่ วันที่แตกต่างกัน เช่น ๔ฯ๑๑๖ ค่ำ จ.ศ. ๑๒๒๕ ปีกุนเบญจศก ตรงกับวันพุธที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๐๖ แต่ในเอกสารอาจจะบันทึกเป็น วัน ๕ฯ๑๑๖ ค่ำ ดังนั้นในการเทียบวันทางสุริยคติ จึงควรยึดวันในสัปดาห์ คือวันอาทิตย์ จันทร์ อังคาร (วัน ๑, ๒, ๓) เป็นหลักมากกว่าวันขึ้นแรมความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจึงน่าจะมีน้อยกว่า

    การเทียบศักราชต่าง ๆ เป็น พุทธศักราช


    มหาศักราช + ๖๒๑ = พุทธศักราช

    จุลศักราช + ๑๑๘๑ = พุทธศักราช

    คริสตศักราช + ๕๔๓ = พุทธศักราช

    รัตนโกสินทรศก + ๒๓๒๔ = พุทธศักราช

    ตารางเทียบศักราชต่าง ๆ โดยเฉพาะสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ จ.ศ. ๑๑๔๔ ร.ศ. ๑ พ.ศ. ๒๓๒๕ ค.ศ. ๑๗๘๑ จนถึงปัจจุบันนั้นจะมีตารางเทียบปีต่าง ๆ ใน ปฏิทินหลวง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พิมพ์พระราชทานสำหรับความสุขปีใหม่ทุกปี ซึ่งสะดวกรวดเร็วและเอื้อประโยชน์เป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ศึกษาค้นคว้า

    [FONT=ms Sans Serif, Thonburi, DB ThaiTextFixed]บรรณานุกรม


    กรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและโบราณคดี, คณะ.สำนักนายกรัฐมนตรี ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ ๓. พระนคร :
    โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี , ๒๕๐๘.


     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaimisc.com/freewebboard/php/vreply.php?user=shalawan&topic=1293&page=4

    วันทางจันทรคติ คืออารายค่ะ ชอบตอบที ถ้าไงรบกวนด้วยนะค่ะ ก่อนวันศุกร์ที่ 26 ตุลานะค่ะ ขอบคุนค่ะ ส่งทางเมลก้อด้ายค่ะ

    โดย ธัญสิณี - [​IMG] [23 ต.ค. 2550 , 14:04:08 น.] ( IP = 61.19.144.194 : : )

    **************************************************



    ดิถี

    ดิถี หมายถึง วันทางจันทรคติ, เป็นการกำหนดวันเดือนปีโดยใช้เวลาที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก. กำหนดให้เดือนคี่มี ๒๙ วัน เดือนคู่มี ๓๐ วัน เรียกว่า ดิถี เช่น วันขึ้น ๑ ค่ำ เรียกว่า ดิถี ๑, วันขึ้น ๑๕ ค่ำเรียกดิถี ๑๕ , วันแรม ๑ ค่ำเรียก ดิถี ๑๖, วันแรม ๑๕ ค่ำ เรียก ดิถี ๓๐.




    ดิถี เป็นคำเรียกวันขึ้นแรมของดวงจันทร์ ไม่ใช่วันทางสุริยคติ เมื่อใช้คำว่า วารดิถีขึ้นปีใหม่ จึงหมายถึง วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ คือ วันที่ ๑๕ เมษายน ซึ่งเรียกว่า วันเถลิงศก ก็ได้. ถ้าจะให้หมายถึงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ ๑ มกราคม จะไม่นิยมใช้คำว่า ดิถี เพราะวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ทางสุริยคติ.


    http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=391

    ผู้เขียน ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิต ประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย สำนักศิลปกรรม


    โดย ขุนนางอยุธยา [24 ต.ค. 2550 , 16:20:24 น.] ( IP = 125.24.50.208 : : )
     
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อ่านแล้วจะชุ่มชื่นหัวใจคนไทยทุกคน...
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->มาอ่านเรื่องดีๆ ให้ความชุ่มชื่นหัวใจคนไทยกันบ้างดีกว่านะครับ...




    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">ความรู้สึกที่ข้าพเจ้ามีต่อพระเจ้าแผ่นดินไทย </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG] </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG] </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>w,j
    ความรู้สึกที่ข้าพเจ้ามีต่อพระเจ้าแผ่นดินไทย











    ผู้เขียน Mr. YouJie



    นักศึกษาจีน จากมหาวิทยาลัยชนชาติกวางสี




    ผมมาเมืองไทยสองเดือนกว่าแล้ว ผมมีความรู้สึกประทับใจมากอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนกับคนคนหนึ่ง คือ ในหลวงของเมืองไทย

    ในเมืองไทย ไม่ว่าอยู่ที่ไหนก็จะเห็นว่า ในรถมีประโยคเขียนว่า เรารักในหลวง เพียงข้อนี้ ผมก็ได้รู้ว่า คนไทยเคารพในหลวงอย่างไร

    เรื่องเป็นอย่างนี้ ผมรู้สึกว่ามีเหตุผลหลายอย่าง

    [​IMG]

    ข้อที่หนึ่ง คือ ในหลวงรักคนไทยเวลาคนไทยบางคนมีอุปสรรค ถ้าในหลวงรู้จะเข้าไปช่วย ผมรู้เพราะดู
    TV มีข่าวว่านักเรียนหนึ่งคนเขียนจดหมายถึงในหลวงว่า บ้านของเขาจนมาก คุณพ่อเสียชีวิตนานแล้ว คุณแม่ป่วยมาก เดินไม่ได้เลย บ้านของเขาไม่มีรายได้ บางวันไม่มีข้าวกิน ขอให้ในหลวงช่วย ในหลวงรีบตอบจดหมายว่าไม่ต้องเสียใจ ให้พยายามตอบแทนคุณแม่ พยายามเรียนหนังสือ ในหลวงจะพยายามช่วย


    ข้อที่สอง ในหลวงเป็นคนขยัน เวลาทำงานทำงานหนักมาก ผมเห็นรูปในหลวงถือกล้องถ่ายรูปที่นาข้าวกับคนไทยด้วย ในหลวงสนใจชีวิตของคนไทยมาก ในหลวงใกล้ชิดกับคนไทยและขยันอย่างนี้ คนไทยไม่รักไม่เคารพในหลวงได้อย่างไร

    ข้อที่สาม ในหลวงของคนไทยว่า ตอนนี้มีหลายสิ่งจากต่างประเทศเข้ามาเมืองไทย คนไทยต้องมีประเพณีของตัวเอง ต้องรักษาประเพณีไทยไว้ ต้องมีความคิดของตัวเอง จึงจะทำให้เมืองไทยดีขึ้นหลายอย่าง ขอให้คนไทยทุกคนรักกัน ช่วยกัน ก้าวหน้าไปด้วยกัน

    ในหลวงสร้างคุณงามความดีอย่างนี้ คนไทยทุกคนไม่รักในหลวงได้อย่างไร

    http://www.chaipat.or.th/chaipat/ind...d=55&Itemid=70
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เป็นกระบวนการหนึ่งของการ"ปรับใจให้อ่อนโยน" พร้อมจะรับคลื่น หรือกระแส"ลึกลับ"ที่เป็นแนวทางที่ดีได้ง่าย หากแข็งกร้าวจะสัมผัสไม่ได้
     
  15. kittipongc

    kittipongc เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    354
    ค่าพลัง:
    +3,648
    ขอบคุณสำหรับประสบการณ์ดีๆครับ

    ผลการแนะนำนี้ ก็เกิดอาการขนลุก ขนพองขณะทำนายนั้น มีความรู้สึกโล่ง โปร่ง คล้ายผู้บัญญัติวิชาทำนายภาพนี้ หรือผู้ที่เข้าถึงสภาวะแห่งความรู้นี้มาอยู่ข้างๆ

    การเข้าใจตนเองก่อน คือการตามจิตตัวเอง จนเมื่อจิตทรงตัว การตามจิตผู้อื่นไม่ใช่ปัญหาแล้ว หากไม่อยากตาม เราก็วางลงเท่านั้น

    ขออนุโมทนาด้วยครับ(y)
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องบุญ วาสนา บารมี เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคลจริงๆ ต่อให้มีเงินมากมาย แต่ไม่มีวาสนา บารมี ที่เกี่ยวเนื่องกันมา คงได้พบ ได้เจอ ได้เห็น ใช่หรือเปล่าครับคุณเพชร ,คุณnongnooo

    ดีใจสำหรับวันนี้ บอกตามตรงว่า อลังการจริงๆ

    ขอบคุณสำหรับพี่ที่นำผมไปชม ได้เป็นบุญตา
    ขอบคุณสำหรับอาหารอร่อย ได้เป็นบุญปาก

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  17. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ใช่ครับ ไม่ได้พบ ได้เจอ ได้เห็น แค่ได้สวมรอยก็นับเป็นวาสนาเหมือนกันใช่มั้ยครับ
    (ping)

    โมทนาสาธุครับ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    เรื่องบุญ วาสนา บารมี เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคลจริงๆ ต่อให้มีเงินมากมาย แต่ไม่มีวาสนา บารมี ที่เกี่ยวเนื่องกันมา คงได้พบ ได้เจอ ได้เห็น ใช่หรือเปล่าครับคุณเพชร ,คุณnongnooo

    ดีใจสำหรับวันนี้ บอกตามตรงว่า อลังการจริงๆ

    ขอบคุณสำหรับพี่ที่นำผมไปชม ได้เป็นบุญตา
    ขอบคุณสำหรับอาหารอร่อย ได้เป็นบุญปาก

    โมทนาสาธุครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เมื่อเทียบกับผม ผมเป็นเด็กอนุบาลเลยครับ

    .
     
  19. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ตามรอยบรมครูจากสารานุกรม
    (คัดลอกจาก .http://th.wikipedia.org)
    พระพุทธศาสนาสมัยทวาราวดี <o:p></o:p>

    พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ สมัยเดียวกันกับประเทศลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ๙ สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ไม่น้อยกว่า ๗ ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า

    พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพ
    ระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]การสังคายนาพระไตรปิฎก[/FONT]

    ครั้งที่สาม

    การทำสังคายนาครั้งที่สามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 235 ที่อโศการาม กรุงปาฏลีบุตร ประเทศอินเดีย โดยมีพระโมคคลีบุตร ติสสเถระ เป็นประธาน การทำสังคายนาครั้งนี้มีพระสงฆ์มาประชุมร่วมกัน 1,000 รูป ดำเนินการอยู่เป็นเวลา 9 เดือน จึงเสร็จสิ้น
    ข้อปรารภในการทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อ มีพวกเดียรถีย์ หรือนักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช แล้วแสดงลัทธิศาสนาและความเห็นของตนว่าเป็นพระพุทธศาสนา พระโมคคลีบุตร ติสสเถระ จึงได้ขอความอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชสังคายนาพระธรรมวินัยเพื่อกำจัดความเห็นของพวกเดียรถีย์ออกไป
    ในการทำสังคายนาครั้งนี้ พระโมคคลีบุตร ติสสเถระ ได้แต่งคัมภีร์กถาวัตถุ ซึ่งเป็นคัมภีร์หนึ่งในพระอภิธรรมไว้ด้วย และเมื่อทำสังคายนาเสร็จแล้ว ก็มีการส่งคณะทูตไปประกาศพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ในที่นี้มีพระมหินทเถระ ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช ที่นำพระพุทธศานาไปประดิษฐานในลังกา รวมทั้งพระโสณะเถระและพระอุตตระเถระ ที่นำพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังดินแดนสุวรรณภูมิด้วย
    สุวรรณภูมิ เป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์โบราณหลายฉบับในทางพุทธศาสนา ซึ่งคำว่าสุวรรณภูมินี่มีความหมายว่า "แผ่นดินทอง"
    คำว่าสุวรรณภูมิ แปลว่า "แผ่นดินทอง" ปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์ชาดก(เรื่องราวที่มีอดีตมายาวนาน) เช่น มหาชนกชาดก กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมาค้าขายที่สุวรรณภูมิ แต่เรือแตกกลางทะเล ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 ราว พ.ศ. 234 พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่พุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิ โดยมีพระโสณะและพระอุตตระเป็นประธาน เมื่อท่านมาถึง ได้ปราบผีเสื้อสมุทรที่ชอบเบียดเบียนชาวสุวรรณภูมิ ทำให้ชาวสุวรรณภูมิเลื่อมใส จากนั้นท่านได้แสดงพรหมชาลสูตร เป็นที่น่าสังเกตว่า ตอนปราบผีเสื้อสมุทร ท่านได้สวดพระปริตรป้องกันเกาะสุวรรณภูมิไว้ จึงมีคำเรียก สุวรรณภูมิ อีกชื่อหนึ่งว่า สุวรรณทวีป แปลว่า เกาะทอง เมื่อสันนิษฐานจากสองคำนี้ ทำให้ได้ข้อสรุปอย่างน้อย 2 อย่าง คือ 1 สุึวรรณภูมิเป็นดินแดนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และ 2 สุวรรณทวีป คือ เกาะที่อยู่ติดกับสุวรรณภูมิ และเนื่องจากในชาดกกว่าว่า สุวรรณภูมิอยู่ทางทิศตะวันออกของอินเดีย เมื่อพิจารณาจากแผนที่โลก จึงน่าจะสันนิษฐานได้ต่อไปว่า สุวรรณภูมิ ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ได้แก่ พม่า ไทย กัมพูชา ส่วน สุวรรณทวีป ที่เป็นเกาะ น่าจะได้แก่ หมู่เกาะชวา สุมาตรา หรืออินโดนีเซีย ตลอดทั้งฟิลิปปินส์ เมื่อพิจารณาหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาพบว่า เมืองหงสาวดี และเมืองนครปฐมสมัยทวารวดี มีอายุเก่าแก่ที่สุด และร่วมสมัยกัน คือ ราว พุทธศตวรรษที่ 6 แต่ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในแถบนี้ ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดราว พุทธศตวรรษที่ 11-12 อยู่ที่จังหวัดนครปฐม โดยพบธรรมจักรมากมาย จึงสันนิษฐานว่า ศูนย์กลางสุวรรณภูมิน่าจะอยู่ที่เมืองโบราณ บริเวณพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
    การสังคายนาครั้งที่ 3<o:p></o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" alt="การแพร่กระจายของพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:AshokaMap2.gif" title="&quot;การแพร่กระจายของพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช&quot;" style='width:225pt; height:135.75pt' o:button="t"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\User\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/22/AshokaMap2.gif/300px-AshokaMap2.gif"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" alt="" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:AshokaMap2.gif" title="&quot;ขยาย&quot;" style='width:11.25pt;height:8.25pt' o:button="t"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\User\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image002.gif" o:href="http://th.wikipedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>
    การแพร่กระจายของพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช<o:p></o:p>
    เกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช เพื่อกำจัดพวกเดียรถีย์ปลอมบวชในพระพุทธศาสนา มีพระโมคคัลลีบุรติสสะเป็นประธาน ใช้เวลา 9 เดือนจึงสำเร็จในการสังคายนาครั้งนี้ พระโมคคัลลีบุรติสสะ ได้แต่งกถาวัตถุขึ้น เพื่ออธิบายธรรมให้แจ่มแจ้ง<sup>[8]</sup><o:p></o:p>
    หลังจากการสังคายนาสิ้นสุดลง พระเจ้าอโศกฯได้ส่งสมณทูต 9 สายออกเผยแผ่พุทธศาสนา คือ<o:p></o:p>
    1. คณะพระมัชฌันติกเถระ ไปแคว้นแคชเมียร์และแคว้นคันธาระ<o:p></o:p>
    2. คณะพระมหาเทวะ ไป มหิสกมณฑล ซึ่งคือ แคว้นไมซอร์และดินแดนลุ่มแม่น้ำโคธาวารี ในอินเดียใต้ปัจจุบัน<o:p></o:p>
    3. คณะพระรักขิตะ ไปวนวาสีประเทศ ได้แก่ แคว้นบอมเบย์ในปัจจุบัน<o:p></o:p>
    4. คณะพระธรรมรักขิต ไป อปรันตกชนบท แถบทะเลอาหรับทางเหนือของบอมเบย์<o:p></o:p>
    5. คณะพระมหาธรรมรักขิต ไปแคว้นมหาราษฎร์<o:p></o:p>
    6. คณะพระมหารักขิต ไปโยนกประเทศ ได้แก่แคว้นกรีกในเอเชียกลาง อิหร่าน และเตอร์กิสถาน<o:p></o:p>
    7. คณะพระมัชฌิมเถระ ไปแถบเทือกเขาหิมาลัย คือ เนปาลปัจจุบัน<o:p></o:p>
    8. คณะพระโสณะ และพระอุตตระ ไปสุวรรณภูมิ ได้แก่ ไทย พม่า มอญ<o:p></o:p>
    9. คณะพระมหินทระ ไปลังกา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่

    วัดเจดีย์หลวงเป็นวัดที่มีความสำคัญตั้งแต่อดีตเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นวัดที่ถูกสร้างขึ้นโดยกษัตริย์ผู้ครองอาณาจักรล้านนาในสมัยราชวงศ์มังราย และวัดนี้ได้สร้างอยู่กลางใจเมืองเชียงใหม่ ซึ่งแต่เดิมถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการปกครองของอาณาจักรล้านนา ปัจจุบันวัดเจดีย์หลวงตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๓ ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ภายในวัดประมาณ ๓๒ ไร่ ๑ งาน ๒๗ ตารางวา
    แต่เดิมวัดเจดีย์หลวง ชื่อ “โชติการามวิหาร” แปลว่า พระอารามที่มีแต่ความรุ่งเรืองสว่างไสว เนื่องจากเป็นสถานที่บรรจุพระเกศาธาตุ และพระธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า ในกาลครั้งหนึ่ง เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราช ส่งสมณะทูต ๘ รูป ภายใต้การนำพระโสณะ และ พระอุตตะระ เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเขตสุวรรณภูมิ รวมทั้งภูมิภาคนี้ด้วย ได้นำเอาพระบรมธาตุมาบรรจุไว้ในองค์เจดีย์องค์เล็กสูง ๓ ศอก ที่สร้างขึ้น ณ บริเวณอันเป็นที่ตั้งของพระธาตุเจดีย์หลวงในปัจจุบัน ในเวลานั้นมีมีชายผู้หนึ่ง อายุ ๑๒๐ ปี มีใจเลื่อมใส ได้แก้เอาผ้าห่มชุบน้ำมันจุดบูชา และได้ทำนายว่า ต่อไปในภายภาคหน้า ตรงนี้จะเป็นอารามใหญ่ชื่อโชติการาม พวกลัวะทั้งหลายเอาข้าวของบูชาพระธาตุพระพุทธเจ้า จึงก่อเจดีย์หลังหนึ่งสูง ๓ ศอกไว้เป็นที่สักการบูชา
    นอกจากนี้ยังมีความหมายอีกนัยหนึ่งของคำว่า “โชติการาม” คือ เวลาที่มีการจุดประทีปโคมไฟไปประดับบูชาองค์พระธาตุเจดีย์หลวง จะปรากฏจะปรากฏแสงสีสว่างไสว มองเห็นองค์พระเจดีย์คล้ายเชิงเทียนที่มีเปลวไฟลุกโชติช่วงสว่างไสว ดูแล้วมีความงดงามยิ่งนัก สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
    ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “วัดเจดีย์หลวง” เนื่องจากในภาษาเหนือ หรือคำเมือง หลวงแปลว่า “ใหญ่” หมายถึง พระธาตุเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.sakulthai.com/DSakulcolu...700&stissueid=2435&stcolcatid=2&stauthorid=13

    พระบัณฑูร
    โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์

    ฉบับที่ 2435 ปีที่ 47 ประจำวัน อังคาร ที่ 19 มิถุนายน 2544


    -พระบัณฑูรหมายถึงวังหน้าหรือพระมหาอุปราชหรือกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ใช่หรือไม่-<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p> </O:p>
    <O:p></O:p>
    ผู้โทรศัพท์ถามเป็นหนุ่มน้อยอายุ ๑๘ กำลังเรียนมหาวิทยาลัย<O:p> </O:p>
    <O:p></O:p>
    ไม่ได้ตอบทันที ให้รออ่านจากบทความ เพราะต้องหาคำตอบให้ชัดเจน ได้ค้นจากหนังสือที่มีอยู่หลายเล่ม จึงได้คำตอบจากเรื่อง
     

แชร์หน้านี้

Loading...