พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    แวะมาทักทาย ดีครับ ที่ศิษย์พี่มีความคิดตั้งเป็นชมรม น่าสนใจดีครับ

    หากมีงานอะไรที่สมควรมอบหมาย ยินดีรับใช้ครับ....
     
  2. kittipongc

    kittipongc เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    354
    ค่าพลัง:
    +3,648
    ขออนุโมทนา ครับ;)
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มีบางจุดที่ฟังแล้วอาจจะงงอยู่บ้าง ผมพอมีเวลาอยู่บ้าง จึงขอขยายความบอกเล่าประสบการณ์ในช่วงเวลาหนึ่งที่มีโอกาสใช้ศาสตร์การทำนายด้วยภาพ(ไพ่)ทาโรต์ เพื่องานการกุศลหนึ่งคือ "งานช่วยเหลือแม่ที่ติดเชื้อเอดส์" ซึ่งพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เป็นองค์ประธาน

    วันนั้นผมได้เข้าใจภาพๆหนึ่งขณะพยากรณ์ให้คุณพี่ผู้หญิงท่านหนึ่งที่เดินทางมาจากประเทศสหรัฐอเมริกามาธุระที่เมืองไทยระยะเวลาหนึ่งช่วงสั้นๆ เนื่องจากได้ทราบว่าทางกลุ่มได้มาพยากรณ์เพื่อนำปัจจัยส่วนหนึ่งร่วมการกุศลนี้ ผมจะยกภาพๆหนึ่งขึ้นมาเพื่อศึกษาสภาวะของรูปธรรม แล้วแปลความเป็นนามธรรม

    แนวทางการดูภาพเพื่อการทำนายนี้ ไม่ได้ใช้การจดจำความหมายแต่อย่างใด แต่เป็นการทำนายตามสภาวะที่จะเกิดขึ้นกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง คุณพี่ท่านนี้ได้สอบถามถึงเรื่องการช่วยเหลือประธานบริษัทที่ USA (ซึ่งมาทราบในภายหลังว่าคือผู้ชายที่กำลังจะแต่งงานด้วย สรุปคือคุณพี่ผู้หญิงท่านนี้เป็นว่าที่ภรรยาของประธานบริษัทฯ และมีลูกน้องเป็นชาวต่างประเทศทั้งหมดร่วม ๑๐๐ คน เราคงพอประเมินได้ว่าคุณพี่ผู้หญิงท่านนี้เก่งกาจขนาดไหนใช่ไม๊ครับ แต่นั่นคือการทราบหลังสิ้นสุดการทำนายทั้งหมดแล้ว)

    ภาพที่ตรงกับคำถามนี้ ไปตรงกับภาพ "8 ดาบ" ที่สุ่มเลือกขึ้นมา ขณะแปลความภาพนี้ กับ คำถามว่าจะเข้าไปช่วยเหลือประธานบริษัทได้อย่างไร?
    [​IMG]
    ภาพผู้หญิงที่ถูกปิดตา ถูกมัดรอบตัว และมีดาบ 8 เล่มล้อมอยู่รอบตัวนี้"รูปธรรม"นี้แปลอย่างไร?

    ความรู้สึกเกิดขึ้นมาว่า
    - ภาพผู้หญิงนี้หมายถึง ตัวคุณพี่ผู้หญิงท่านนี้(รูปธรรม) หรือ ประธานบริษัทฯ(รูปธรรม) หรือจะหมายถึงเหตุการณ์ที่ตึงเครียด(นามธรรม)กันแน่ ?
    - การแก้ไขคืออะไร? คือการดึงดาบออกใช่หรือไม่ ? หากใช่แล้วจะดึงเล่มใดก่อนหลัง? หากไม่ใช่การดึงดาบออก แล้วจะไปแก้ผ้าผูกรอบตัวหรือ? และหากไม่ใช่ทั้ง ๒ กรณี คือการช่วยเปิดผ้าที่ผูกตาหรือ?

    เหล่านี้เกิดขึ้นมาพร้อมกับคำถาม และภาพที่ปรากฏต่อหน้า และต้องออกคำพยากรณ์โดยเร็วด้วย...

    ผมออกคำแนะนำในลักษณะนี้ไว้ว่า คือ "priority of management" คือการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลัง เพราะหากให้คำแนะนำผิดลำดับก่อนหลัง ก็จะเกิดความเสียหายอย่างมาก กระทบทั้งความสัมพันธ์ ทั้งงาน และอื่นๆ เพื่อนๆคงเคยได้ยินคำว่า "ทำถูกต้อง แต่ไม่ถูกใจ" บ้างนะครับ

    ผมสอบถามคุณพี่ผู้หญิงท่านนี้ว่า หากคุณพี่มาเห็นเหตุการณ์นี้เข้า คุณพี่จะช่วยเหลือท่านประธานบริษัทฯอย่างไร? แน่นอนการตอบคำถามนี้มีความแตกต่างต่างกันในแต่ละคนตามความละเอียดของจิต เพื่อนๆลองคิดตามไปด้วยก็จะดีนะครับ

    หาก"ดึงผ้าผูกตา"ออก ผู้หญิงในภาพเห็นดาบ(คือปัญหาที่ต้องแก้มากมาย) แต่ทำอะไรไม่ได้ จะเกิดประโยชน์อะไรจากการช่วยเหลือนั้น..

    หาก"ดึงดาบ"ออก ผู้หญิงในภาพเขาจะสบายตัว สบายใจจริงหรือ? เขารู้สึกถึงปัญหามากมายนั้นถูกแก้ไขไปจริงหรือ? แล้วที่เราดึงดาบออก คือการช่วยเหลือนั้น เราแก้ปัญหาได้ตรงประเด็นจริงหรือ? หรือยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง? ที่สำคัญคืออาจจะกระมบกระทั่งความรู้สึกของผู้หญิงในภาพ ในที่นี้คือท่านประธานบริษัทฯนั่นเอง ไปกระทบกระทั่ง EGO เขาหรือไม่? เขาอยากให้ช่วยจริงหรือ? ดังนั้นการ"ดึงดาบ"จึงควรดึงให้ถูกเล่ม ถูกจังหวะ และเหมาะสม

    ผมแนะนำคุณพี่ท่านนี้ให้ลองคลายผ้าที่ผูกรอบตัวของผู้หญิงในภาพออกก่อน เปรียบเสมือนการให้ความสบายใจ ไม่อึดอัดใจก่อน การกระทำลักษณะนี้ก็เช่นอย่าง ท่านประธานฯกลับถึงบ้านแทนที่จะเอาเรื่องไม่สบอารมณ์มาคุยก็ไปคุยเรื่องที่สามารถผ่อนคลายความเครียดแทนก่อน หรือรินน้ำดื่มเย็นๆ หรือเปิดเพลงแบบสบายๆ หรือดอกไม้หอมๆ อะไรทำนองนี้ นี่คือสิ่งที่ควรทำก่อน...

    คำแนะนำในการช่วยเหลือในลำดับต่อมาคือการดึงดาบออก แต่ควรดึงดาบ(ปัญหา)ที่ไม่กระทบ EGO เขา เช่นการเลื่อนนัดการประชุมนัดที่ไม่สำคัญออกไปก่อน การช่วยจัดการปัญหาเล็กๆน้อยๆที่ทำให้รำคาญใจออกไปก่อน ซึ่งลักษณะนี้ น่าจะสามารถทำได้ราว ๓-๔ เรื่อง เหลือแต่ปัญหาใหญ่ๆไว้ให้"คุณผู้ชาย"แก้ไขปัญหา

    ถึงตรงนี้ สภาวะของผู้หญิงในภาพควรจะเป็นอย่างไรแล้ว?
    ผู้หญิงในภาพหลังคำแนะนำ ควรจะเหลือเพียงผ้าที่ผูกตาดาบที่รายล้อมอยู่รอบตัวจะเหลือเพียง ๔-๕ เล่มเท่านั้นแล้ว ด้วยความสามารถ และเวลาของท่านประธานบริษัทฯนี้น่าจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ไม่ยาก

    ขั้นสุดท้ายได้แนะนำให้คุณพี่ผู้หญิงท่านนี้ แก้ผ้าผูกตาของผู้หญิงในภาพออก ซึ่งจะเปรียบเหมือนปัญหาที่คาตาคาใจ หากแก้ไขแล้วจะสร้างถูกใจอย่างมาก เรียกว่าเข้าตากรรมการ

    คุณพี่ผู้หญิงท่านนี้เพียงช่วยเหลือเท่านี้ก็พอครับ...แบบนี้จะถูกต้อง และถูกใจ

    ผลการแนะนำนี้ ก็เกิดอาการขนลุก ขนพองขณะทำนายนั้น มีความรู้สึกโล่ง โปร่ง คล้ายผู้บัญญัติวิชาทำนายภาพนี้ หรือผู้ที่เข้าถึงสภาวะแห่งความรู้นี้มาอยู่ข้างๆ

    การเข้าใจตนเองก่อน คือการตามจิตตัวเอง จนเมื่อจิตทรงตัว การตามจิตผู้อื่นไม่ใช่ปัญหาแล้ว หากไม่อยากตาม เราก็วางลงเท่านั้น
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ่า ไม่กล้าใช้ครับ เดี๋ยวถูกจับ คิคิคิ

    มีอะไรจะแจ้งไปนะครับ ศิษย์น้อง

    ด้วยรักและเป็นห่วงเสมอ

    .
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    เยี่ยมครับคุณเพชร

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การค้นพบอาณาจักรทวาราวดี

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->อาณาจักรทวารวดี เป็นอาณาจักรโบราณ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย โดยคาดว่ามีจุดศนย์กลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐม

    [แก้] การค้นพบ

    ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๒๗ โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beal ) ได้แปลงมาจากคำว่า
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อาณาจักรทวารวดี

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    <TABLE class=infobox style="CLEAR: right; FONT-SIZE: 95%; FLOAT: right; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; WIDTH: 10em" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TH style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 1em; BACKGROUND: #daa520; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" colSpan=2>ประวัติศาสตร์ไทย [​IMG]


    </TH></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">บ้านเชียง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ประมาณ 5000 ปีที่แล้ว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ทวารวดี</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พุทธศตวรรษที่ 5 ถึง 15</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ศรีวิชัย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พุทธศตวรรษที่ 5 ถึง 18</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ตามพรลิงค์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พุทธศตวรรษที่ 7 ถึง 19</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ละโว้</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. ?</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">หริภุณชัย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1206 - 1836</TD></TR><TR><TH colSpan=3>ชนชาติไทย</TH></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">เชียงแสน</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1088 - 1181</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">เงินยางเชียงแสน</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1181 - 1805</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">สุโขทัย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1781 - 1981</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ล้านนา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1802 - 2482</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">อยุธยา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 1893 - 2310</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">ธนบุรี</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 2310 - 2325</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">รัตนโกสินทร์
    - ปฏิรูปการปกครอง


    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.2em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน
    <DL><DD>พ.ศ. 2475 </DD></DL></TD></TR><TR><TH colSpan=3>อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง</TH></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.2em; PADDING-LEFT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0.5em" colSpan=3><CENTER>ขอม ลังกาสุกะ ล้านช้าง หงสาวดี ปัตตานี ฯลฯ

    <TABLE><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BACKGROUND: white; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2><CENTER>[​IMG] ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BACKGROUND: white; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2><CENTER>[​IMG] ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประวัติศาสตร์</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    การค้นพบ
    ดูหน้า การค้นพบอาณาจักรทวาราวดี

    [แก้] หลักฐานการค้นพบ

    ปัจจุบันร่องรอยเมืองโบราณ รวมทั้งศิลปโบราณวัตถุสถานและจารึกต่างๆในสมัยทวารวดีนี้ พบเพิ่มขึ้นอีกมากมาย และที่สำคัญได้พบกระจายอยู่ในทุกภาคของประเทศไทยโดยไม่มีหลักฐานของการแผ่อำนาจทางการเมืองจากจุดศูนย์กลางเฉกเช่นรูปแบบการปกครองแบบอาณาจักรทั่วไป เช่น
    จากการศึกษาจากภาพถ่ายทางอากาศพบเมืองโบราณสมัยนี้ถึง 63 เมืองด้วยกัน นอกจากนี้จากการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดียังพบว่าเมืองโบราณแทบทุกแห่งจะมีลักษณะของการต่อเนื่องทางวัฒนธรรมจากชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ พัฒนาการขึ้นมาสู่ช่วงสมัย ทวารวดี เมื่อมีการติดต่อกับอารยธรรมอินเดีย
    ดังนั้นทฤษฎีของนักวิชาการรุ่นก่อนโดยเฉพาะความเชื่อเรื่องรูปแบบการปกครองแบบอาณาจักร และเมืองศูนย์กลางจึงเปลี่ยนไป ว่าน่าจะอยู่ในขั้นตอนของเมืองก่อนรัฐ(Proto-State)
    [​IMG][​IMG]
    อาณาเขตของอาณาจักร


    ในรูปของเมืองเบ็ดเสร็จหรือเมืองที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์ในตัวเองทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความเชื่อศาสนา หากจะมีอำนาจทางการเมืองก็หมายถึงมีอำนาจเหนือเมืองบริวารหรือชุมชนหมู่บ้านรอบๆ ในพื้นที่ใกล้เคียงเท่านั้น เมืองใหญ่เหล่านี้แต่ละเมืองจะมีอิสระต่อกัน และเกิดขึ้นมาพร้อมๆ กันเพราะผลจากการติดต่อค้าขายและรับวัฒนธรรมจากอินเดียโดยเฉพาะทางด้านศาสนาพุทธแบบหินยาน รวมทั้งภาษา และรูปแบบศิลปกรรมแบบเดียวกัน
    วัฒนธรรมทวารวดีเริ่มเสื่อมลงราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 เมื่ออิทธิพลวัฒนธรรมแบบขอมหรือเขมรโบราณจากประเทศกัมพูชาที่มีคติความเชื่อทางศาสนาและรูปแบบศิลปกรรมที่แตกต่างออกไปเข้ามาแทนที่
    แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาเรื่องทวารวดียังต้องการคำตอบอีกมากไม่ว่าปัญหาเรื่องของอาณาจักรหรือเมืองอิสระ ปัญหาเมืองศูนย์กลาง ปัญหาอาณาเขต ปัญหาชนชาติเจ้าของจะเป็นชาวมอญจริงหรือไม่ หรือแม้แต่ชื่อ ทวารวดี จะเป็นชื่ออาณาจักร หรือชื่อกษัตริย์ หรือชื่อราชวงศ์หนึ่ง หรืออาจเป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มเมืองเจ้าของวัฒนธรรมแบบเดียวกันเฉกเช่นกลุ่มศรีวิชัยทางภาคใต้ ก็ยังเป็นปัญหาที่ต้องขบคิดและหาหลักฐานมาพิสูจน์กันต่อไป
    สภาพสังคมทวารวดีนั้นลักษณะไม่น่าจะเป็นอาณาจักร คงเป็นเมืองขนาดต่าง ๆ ซึ่งพัฒนาขยายตัวจากสังคมครอบครัว และสังคมหมู่บ้านมาเป็นสังคมเมืองที่มีชุมชนเล็ก ๆ ล้อมรอบ มีหัวหน้าปกครอง มีการแบ่งชนชั้นทางสังคม นอกจากนี้ยังมีการใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือในการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองต่อเมืองหรือรัฐต่อรัฐ ไม่ใช่ความสัมพันธ์โดยการเมือง แต่โดยการค้า ศาสนา และความเหมือนกันทางวัฒนธรรม
    เศรษฐกิจของชุมชนทวารวดีคงจะมีพื้นฐานทางการเกษตรกรรม มีการค้าขายแลกเปลี่ยนระหว่างเมือง หรือการค้าขายแลกเปลี่ยนกับชุนชนภายนอก ชุมชนทวารวดีเริ่มต้นแนวความเชื่อแบบพุทธศาสนา ในลัทธิเถรวาท ควบคู่ไปกับการนับถือศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ทั้งลัทธิไศวนิกาย และลัทธิไวษณพนิกาย โดยศาสนาพราหมณ์ หรือศาสนาฮินดูจะแพร่หลายในหมู่ชมชนชั้นปกครอง ในระยะหลังเมื่อเขมรเข้าสู่สมัยเมืองนคร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมทวารวดีก็ถูกครอบงำโดยเขมร และในตอนท้ายคติความเชื่อได้เปลี่ยนแปลงไป
    ชาวทวารวดีได้มีการพัฒนาการทางเทคโนโลยีดันก้าวหน้า จากการจัดระบบชลประทานทั้งภายในและภายนอกเมือง มีการขุดคลอง สระน้ำ การทำคันบังคับน้ำหรือทำนบ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้ถ่ายทอดสู่ชนรุ่นหลังในสมัยลพบุรี และสมัยอาณาจักรสุโขทัย ในด้านการคมนาคม คนในสมัยทวารวดีมีการสัญจรทางน้ำและทางบก นอกเหนือจากการติดต่อกับชาวเรือที่เดินทางค้าขายแล้วยังปรากฏร่องรอยของคันดินซึ่งสันนิฐานว่าอาจเป็นถนนเชื่อมระหว่างเมือง นอกจากนี้หลักฐานทางโบราณคดีที่พบไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยหรือประติมากรรมล้วนแล้วแต่แสดงความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และศิลปกรรม เช่น เทคนิคตัดศิลาแลง การสกัดหิน การทำประติมากรรม การหล่อสำริด การหลอมแก้ว ฯลฯ.
    [​IMG] [​IMG]
    ธรรมจักรในสมัยทวารวดี



    [แก้] โบราณสถานสมัยทวารวดี

    สิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้แม้ว่าชื่อทวารวดีจะเป็นชื่อของสิ่งใดก็ตาม นั่นคือหลักฐานโบราณสถานโบราณวัตถุที่พบมากมาย ซึ่งล้วนมีลักษณะฝีมือทางศิลปกรรมที่คล้ายคลึงกันทุกแห่งทุกภาค ไม่ว่าจะเป็นงานประติมากรรมที่ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูป พระพิมพ์ ธรรมจักร ใบเสมา ภาพปูนปั้น และภาพดินเผาประดับที่มีลักษณะเฉพาะ หรือ งานสถาปัตยกรรมอันได้แก่ สถูปเจดีย์และวิหารที่มีแผนผัง รูปแบบ วัสดุ เทคนิคการสร้าง ตลอดจนคติทางศาสนาเเบบเดียวกัน
    ซึ่งหากพิจารณาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ ลักษณะของความสัมพันธ์ร่วมกันเช่นนี้เป็นเพราะตำแหน่งที่ตั้งของเมืองแต่ละเมืองสามารถติดต่อถึงกันได้สะดวกทั้งทางบกและทางน้ำ โดยเฉพาะเมืองในที่ราบภาคกลาง มักตั้งใกล้ชายฝั่งทะเลเดิม มีร่องรอยทางน้ำติดต่อกับเมืองในภูมิภาคภายในและยังมีทางน้ำเข้าออกกับฝั่งทะเลโดยตรงด้วย อันสะดวกต่อการติดต่อภายในกันเองและติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศโดยเฉพาะชาวอินเดียได้เป็นอย่างดี เมืองโบราณสมัยทวารวดีโดยทั่วไป มีความคล้ายคลึงกันตั้งแต่พื้นที่ตั้งและผังเมือง คือมักตั้งอยู่บนดอนในที่ลุ่ม ใกล้ทางน้ำ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมมุมมนหรือค่อนข้างกลม มีคูน้ำคันดินล้อมรอบหนึ่งหรือสองชั้นเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้หรือป้องกันน้ำท่วม โบราณสถานขนาดใหญ่มักตั้งอยู่เกือบกึ่งกลางเมืองเช่น เมืองโบราณนครปฐม มีวัดพระประโทน และเจดีย์จุลประโทนตั้งอยู่กึ่งกลางเมือง เมืองโบราณคูบัว จังหวัดราชบุรี มีโบราณสถานหมายเลข 18ในวัดโขลงสุวรรณคีรี ตั้งอยู่กึ่งกลางเมือง เมืองในของเมืองโบราณศรีเทพ มีโบราณสถานเขาคลังใน ตั้งอยู่บริเวณใจกลางเมือง เป็นต้น
    โบราณสถานแทบทั้งหมดใช้อิฐเป็นวัสดุหลักในก่อสร้าง อาจมีการใช้ศิลาแลงบ้างแต่ไม่ใช้หินก่อสร้างเลย อิฐเผาอย่างดีไส้สุกตลอด เนื้ออิฐแข็งพอสมควร ส่วนยาวจะเท่ากับสองเท่าของความกว้าง ส่วนกว้างเป็นสองเท่าของความหนา อิฐมีขนาดใหญ่ ขนาด 32x16x8 เซนติเมตรขึ้นไป ผสมแกลบมาก เป็นแกลบข้าวเหนียวปลูก
    การก่อใช้อิฐทั้งก้อน ไม่ขัดผิวแต่ก็ประณีต รอยต่ออิฐแนบสนิท สอด้วยดินบางๆ เป็นส่วนผสมของดินเหนียวละเอียด ผสมกับวัสดุยางไม้หรือน้ำอ้อย จนเหนียวคล้ายกาว ทำให้อิฐจับกันแน่นสนิทเหมือนเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วจึงถากเป็นลวดลาย แล้วปั้นปูนประดับ เนื่องจากสังคมทวารวดียอมรับพุทธศาสนาลัทธิเถรวาทจากอินเดียเป็นหลัก (พบหลักฐานเนื่องในศาสนาฮินดูด้วยแต่ไม่มากนัก) ทำให้สังคมทวารวดีโดยทั่วไปเป็นสังคมพุทธ ดังนั้นอาคารโบราสถานทั้งหลายจึงเป็นพุทธสถานแทบทั้งสิ้น โบราณสถานเหล่านี้แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะ และหลังคุปตะ และปาละเสนะตามลำดับ แต่ได้ดัดแปลงผสมผสานให้เข้ากับลักษณะท้องถิ่นจนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อาณาจักรอยุธยา

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    http://th.wikipedia.org/wiki/อาณาจักรอยุธยา

    อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของไทยในอดีต มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 16 - 18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเรื่องราวเหตุการณ์ในลักษณะตำนาน พงศาวดารไปจนถึงศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สุด ว่าก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 1893 นั้น ได้มีบ้านเมืองตั้งอยู่ก่อนแล้ว มีชื่อเรียกว่า เมืองอโยธยา หรือ อโยธยาศรีรามเทพนคร หรือ เมืองพระราม มีที่ตั้งอยู่บริเวณด้านตะวันออกของเกาะ เมืองอยุธยาเป็นเมืองที่มีความเจริญทางการเมืองการปกครอง และมีวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองแห่งหนึ่ง มีการใช้กฎหมายในการปกครอง 3 ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จ พระอัยการลักษณะทาส และพระอัยการลักษณะกู้หนี้
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] ประวัติศาสตร์

    สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712<SUP class=reference id=_ref-0>[1]</SUP> ตรงกับวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893<SUP class=reference id=_ref-1>[2]</SUP> กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรสยาม มีชื่อตามพงศาวดารว่า กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยามหาดิลกภพนพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์อุดมพระราชนิเวศน์มหาสถาน ดำรงมั่นคงสืบต่อยาวนานถึง 417 ปี จนถึงวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 มีประวัติในการปกครอง การกอบกู้อิสรภาพ วีรกรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีมากมาย เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธ์ธัญญาหาร ดังคำกล่าวว่า "ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว" ทั่วทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยายังมากไปด้วย วัดวาอาราม ปราสาท พระราชวัง ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุมากมาย
    ภาพ:Thumbเพชญ์.jpg พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาทในเมืองโบราณ


    อาณาจักรอยุธยามีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาถึง 34 พระองค์ <SUP class=plainlinks id=ref_.E0.B8.88.E0.B8.B3.E0.B8.99.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B4.E0.B8.A2.E0.B9.8C>[1]</SUP> และมีพระราชวงศ์ผลัดเปลี่ยนกันครองรวม 5 ราชวงศ์
    1. ราชวงศ์อู่ทอง มี 3 พระองค์
    2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มี 13 พระองค์
    3. ราชวงศ์สุโขทัย มี 7 พระองค์
    4. ราชวงศ์ปราสาททอง มี 4 พระองค์
    5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง มี 6 องค์
    กรุงศรีอยุธยาสูญเสียเอกราชแก่พม่า 2 ครั้ง ครั้งแรกใน พ.ศ. 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกู้เอกราชคืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอกราชในปลายปีเดียวกัน แล้วทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ กวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรีอยุธยาไปยังกรุงธนบุรีเพื่อสร้างบ้านเมืองแห่งใหม่ให้มั่นคง แต่กรุงศรีอยุธยาก็ไม่ได้กลายเป็นเมืองร้าง ยังมีคนที่รักถิ่นฐานบ้านเดิมอาศัยอยู่ และมีราษฎรที่หลบหนี้ไปอยู่ตามป่ากลับเข้ามาอาศัยอยู่รอบ ๆ เมือง รวมกันเข้าเป็นเมืองจนทางการยกเป็นเมืองจัตวาเรียกว่า "เมืองกรุงเก่า"
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา<TABLE><TBODY><TR><TH>ลำดับ</TH><TH>พระนาม</TH><TH>ปีที่ครองราชย์</TH><TH>พระราชวงศ์</TH></TR><TR><TD>1</TD><TD>สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)</TD><TD>1893 - 1912 (19 ปี)</TD><TD>อู่ทอง</TD></TR><TR><TD>2</TD><TD>สมเด็จพระราเมศวร (โอรสพระเจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ครั้งที่ 1</TD><TD>1912 - 1913 (1 ปี)</TD><TD>อู่ทอง</TD></TR><TR><TD>3</TD><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว)</TD><TD>1913 - 1931 (18 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>4</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าทองลัน (โอรสขุนหลวงพะงั่ว)</TD><TD>1931 (7 วัน)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>สมเด็จพระราเมศวร ครองราชย์ครั้งที่ 2</TD><TD>1931 - 1938 (7 ปี)</TD><TD>อู่ทอง</TD></TR><TR><TD>5</TD><TD>สมเด็จพระราชาธิราช (โอรสพระราเมศวร)</TD><TD>1938 - 1952 (14 ปี)</TD><TD>อู่ทอง</TD></TR><TR><TD>6</TD><TD>สมเด็จพระอินราชาธิราช (เจ้านครอินทร์) โอรสพระอนุชาของขุนหลวงพระงั่ว</TD><TD>1952 - 1967 (16 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>7</TD><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) โอรสเจ้านครอินทร์</TD><TD>1967 - 1991 (16 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>8</TD><TD>สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (โอรสเจ้าสามพระยา)</TD><TD>1991 - 2031 (40 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>9</TD><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ)</TD><TD>2031 - 2034 (3 ปี)</TD><TD>สุพรรณถูมิ</TD></TR><TR><TD>10</TD><TD>สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ)</TD><TD>2034 - 2072 (38 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>11</TD><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พระอนุชาต่างมารดาพระรามาธิบดีที่ 2)</TD><TD>2072 - 2076 (4 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>12</TD><TD>สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมาร (โอรสพระบรมราชาธิราชที่ 4)</TD><TD>2076 - 2077 (1 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>13</TD><TD>สมเด็จพระไชยราชาธิราช (โอรสพระรามาธิบดีที่ 2)</TD><TD>2077 - 2089 (12 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>14</TD><TD>สมเด็จพระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) (โอรสพระไชยราชาธิราช)</TD><TD>2089 - 2091 (2 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>15</TD><TD>ขุนวรวงศาธิราช (สำนักประวัติศาสตร์บางแห่งไม่ยอมรับว่าเป็นกษัตริย์)</TD><TD>2091 (42 วัน)</TD><TD>อู่ทอง</TD></TR><TR><TD>16</TD><TD>สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเฑียรราชา)</TD><TD>2091 - 2111 (20 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>17</TD><TD>สมเด็จพระมหินทราธิราช (โอรสพระมหาจักรพรรดิ)</TD><TD>2111 - 2112 (1 ปี)</TD><TD>สุพรรณภูมิ</TD></TR><TR><TD>18</TD><TD>สมเด็จพระมหาธรรมราชา</TD><TD>2112 - 2133 (21 ปี)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>19</TD><TD>สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (โอรสพระมหาธรรมราชา)</TD><TD>2133 - 2148 (15 ปี)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>20</TD><TD>สมเด็จพระเอกาทศรถ (โอรสพระมหาธรรมราชา)</TD><TD>2148 - 2153 (5 ปี)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>21</TD><TD>พระศรีเสาวภาคย์ (โอรสพระเอกาทศรถ)</TD><TD>2153 - 2154 (1 ปี)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>22</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (โอรสพระเอกาทศรถ)</TD><TD>2154 - 2171 (17 ปี)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>23</TD><TD>สมเด็จพระเชษฐาธิราช (โอรสพระเจ้าทรงธรรม)</TD><TD>2172 (8 เดือน)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>24</TD><TD>สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ (โอรสพระเจ้าทรงธรรม)</TD><TD>2172 (28 วัน)</TD><TD>สุโขทัย</TD></TR><TR><TD>25</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ออกญากลาโหมสุริยวงค์)</TD><TD>2172 - 2199 (27 ปี)</TD><TD>ปราสาททอง</TD></TR><TR><TD>26</TD><TD>สมเด็จเจ้าฟ้าไชย (โอรสพระเจ้าปราสาททอง)</TD><TD>2199 (3 - 4 วัน)</TD><TD>ปราสาททอง</TD></TR><TR><TD>27</TD><TD>พระศรีสุธรรมราชา (อนุชาพระเจ้าปราสาททอง)</TD><TD>2199 (3 เดือน)</TD><TD>ปราสาททอง</TD></TR><TR><TD>28</TD><TD>สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (โอรสพระเจ้าปราสาททอง)</TD><TD>2199 - 2231 (32 ปี)</TD><TD>ปราสาททอง</TD></TR><TR><TD>29</TD><TD>สมเด็จพระเพทราชา</TD><TD>2231 - 2246 (15 ปี)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR><TR><TD>30</TD><TD>สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ)</TD><TD>2246 - 2251 (6 ปี)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR><TR><TD>31</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (โอรสพระเจ้าเสือ)</TD><TD>2251 - 2275 (24 ปี)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR><TR><TD>32</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (โอรสพระเจ้าเสือ)</TD><TD>2275 - 2301 (26 ปี)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR><TR><TD>33</TD><TD>สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)</TD><TD>2301 (2 เดือน)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR><TR><TD>34</TD><TD>สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)</TD><TD>2301 - 2310 (9 ปี)</TD><TD>บ้านพลูหลวง</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] วีรสตรีแห่งกรุงศรีอยุธยา

    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=_note-0> ลำจุล ฮวบเจริญ, เกร็ดพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา, กรุงเทพฯ, พิมพ์ครั้งที่ 3, พ.ศ. 2548, หน้า 2
    2. เรื่องของไทยในอดีต
    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>อาณาจักรอยุธยา เป็นบทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ อาณาจักรอยุธยา ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 11634/2048000 bytesPost-expand include size: 9589/2048000 bytesTemplate argument size: 1007/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:2358-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080109222336 -->
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2".
    หมวดหมู่: อาณาจักรอยุธยา | ประวัติศาสตร์ไทย | บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    กรุงธนบุรี

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    http://th.wikipedia.org/wiki/กรุงธนบุรี


    <DL><DD>ดูความหมายอื่นของ ธนบุรี ได้ที่ ธนบุรี </DD></DL>กรุงธนบุรี เป็นราชธานีของไทย ในช่วง พ.ศ. 2310 - 2325 มีที่ตั้ง ณ ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ที่เมืองธนบุรีเดิม
    หลังจากกรุงศรีอยุธยาต้องเสียแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ได้ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ขึ้น พระราชทานนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร" เมื่อจุลศักราช 1130 ปีชวด สัมฤทธิศก ตรงกับ พ.ศ. 2310 จวบจนถึง พ.ศ. 2325 นับเป็นเวลาแห่งราชธานีเพียง 15 ปีเท่านั้น
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] ชุมนุม และ ก่อนที่จะสถาปนากรุงธนบุรี

    [​IMG] [​IMG]
    แผนที่ป้อมเมืองธนบุรี สมัยสมเด็จพระเพทราชา


    แม้กรุงศรีอยุธยา จะถูกทำลายย่อยยับ พม่าก็มิได้รุกรานดินแดนสยามทั้งหมด ทหารพม่ามีกำลังเพียงควบคุมในเมืองหลวง และ เมืองใกล้เคียงเท่านั้น หลังจากเสด็จสิ้นการปล้นสะดม พม่ายกเลิกทัพกลับไป เหลือไว้แต่เพียงกองทัพเล็กๆ ประมาณ 3,000 คน มีสุกี้พระนายกอง เป็นผู้ดูแลรักษากรุงศรีอยุธยา ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านโพธิ์สามต้น พร้อมกันนั้น พม่าได้ตั้ง นายทองอิน ซึ่งเป็นคนไทย ให้ไปเป็นผู้ดูแลรักษาเมืองธนบุรีไว้แทนพม่า ดังนั้นหัวเมืองอื่นๆ ที่ปลอดจากการรุกรานของพม่า จึงตั้งตนเป็นใหญ่ไม่ขึ้นต่อใคร เรียกว่าชุมนุม โดยทั้งหมดมีทั้งหมด 5 ชุมนุม ได้แก่ ชุมนุมพระเจ้าตาก (ตั้งหลังสุด) ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ชุมนุมเจ้าพิมาย และ ชุมนุมพระเจ้าฝาง
    ดู ชุมนุมสมัยกรุงธนบุรี เพื่อดูเกี่ยวกับชุมนุมสมัยกรุงธนบุรี

    [แก้] การตั้งตัว


    [แก้] สาเหตุของการหลบหนี

    ขณะที่กรุงศรีอยุธยาทำสงครามกับพม่าอยู่นั้น พระยาตากได้เห็นความอ่อนแอของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ และมองไม่เห็นหนทางที่จะเอาชนะข้าศึกได้ จึงไม่อยากอยู่ร่วมปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปบังเกิดขึ้นหลายครั้ง ดังนี้
    • พระยาตากคุมทหารออกไปรบนอกเมือง และสามารถรบชนะข้าศึกได้ แต่ทางการไม่ส่งทหารมาเพิ่ม จึงต้องเสียค่ายนั้นไปอีก
    • พระยาตากได้รับบัญชาให้ยกกองทัพเรือออกไปรบพร้อมกับพระยาเพชรบุรี แต่พระยาตากเห็นว่าพม่ามีพลที่มากกว่า จึงห้ามไม่ให้พระยาเพชรบุรีไปออกรบ แต่พระยาเพชรบุรีไม่เชื่อฟัง จึงออกไปรบ และเสียชีวิตในสนามรบ ทำให้พระยาตากถูกกล่าวหาว่าทิ้งให้พระยาเพชรบุรีเป็นอันตราย
    • 3 เดือนก่อนกรุงแตก พม่ายกกองมาปล้นทางเหนือของพระนคร พระเจ้าตากเห็นการ จึงจำเป็นต้องขออนุญาตจากกรุงให้ใช่ปืนใหญ่ แต่ทางกรุงไม่อนุญาต
    พระยาตากจึงคิดว่าถ้ายังเป็นอย่างนี้ กรุงศรีอยุธยาจะต้องแตก พระยาตากจึงตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไป พร้อมกับขุนนางนายทหารผู้ใหญ่ตีฝ่าวงล้อมพม่า โดยนายทหารและขุนนางผู้ใหญ่มี พระเชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยราชา หลวงราชเสนา ขุนอภัยภักดี และ หมื่นราชเสน่หา ออกไปตั้งค่ายที่ วัดพิชัย เมื่อเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 4 ค่ำ ปีจอ จุลศักราช 1128 ตรงกับวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2310 พอไปถึงบ้านสำบัณฑิตเวลาเที่ยงคืนเศษ ก็แลเห็นแสงเพลิงไหม้จากพระนคร

    [แก้] การเดินทางไปยังเมืองจันทบุรี


    [แก้] เมืองระยอง

    พระยาตากได้นำทัพผ่านบ้านโพสามหาร บ้านบางดง ซึ่งมีแต่ทหารพม่า ผ่าน หนองไม้ทรุง เมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี ลงใต้ผ่านพัทยา สัตหีบ ตลอดทางมีคนอ้อมน้อมเป็นพรรคพวกจำนวนมาก พระยาตากนำทัพเลียบชายฝั่ง จนมาถึงเขตเมืองระยอง ผู้รั้งเมืองระยองเห็นว่า ทัพพระยาตากเป็นทัพใหญ่ จึงพากรมการเมืองไปต้อนรับนอบน้อม
    และที่เมืองระยองนี้เอง ที่พระยาตากได้ตั้งตนเป็นเจ้าด้วยความเห็นชอบของบรรดาขุนนาง และ กลุ่มชน แต่ต่อมา นายบุญรอด แขนอ่อน นายบุญมาซึ่งเป็นน้องภริยาของพระยาจันทบุรี ที่ได้เข้ามาถวายตัวเข้ารับราชการ ได้กราบทูลความรับให้ทรงทราบว่าขุนรามหมื่นส้อง นายทองอยู่ นกเล็ก และ พรรคพวกการเมืองระยองคิดร้าย เจ้าตากจึงทรงวางแผนซ้อนตีต้อนพวกคิดร้ายแตกพ่ายไป เมื่อเจ้าตากได้เมืองระยองแล้ว ทรงส่งคนไปเกลี้ยกล่อมพระยาจันทบุรี แล้วออกตามจับขุนรามหมื่นส้อง กับ นายทองอยู่ นกเล็ก ต่อไป และในที่สุด นายทองอยู่ นกเล็ก ก็ได้มาอ่อนน้อม พระยาตากจึงทรงแต่งตั้งให้ นายทองอยู่ นกเล็ก เป็น พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุทร ปกครองเมืองชลบุรีต่อไป

    [แก้] เมืองจันทบุรี

    เจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่า เมืองจันทบุรีเป็นเมืองที่ใหญ่ และยังอุดมสมบูรณ์ บ้านเรือนเป็นปกติสุขอยู่ เจ้าตากจึงทรงเกลี้ยกล่อมเมืองจันทบุรีให้มาช่วยกู้เอกราช
    พระยาจันทบุรีรับคำไมตรีในช่วงแรก แต่แล้วพระยาจันทบุรีกลับไปร่วมมือกับขุนรามหมื่นส้อง วางแผนลวงให้เจ้าตากยกกองทัพเข้าไปตีเมืองจันทบุรี แล้วค่อยกำจัดเสียในภายหลัง แต่พระยาตากทรงรู้ทัน จึงทรงหยุดยั้งอยู่หน้าเมือง
    ในขณะนั้นหลวงนายศักดิ์ (หมุด) ถูกเจ้าเมืองจันทบุรีคุมขังอยู่ ได้หนีออกมาสมทบเจ้าตาก เพราะรู้จักคุ้นเคยกันมาก่อน หลวงนายศักดิ์ได้มอบจีนพรรคพวกให้ 500 คน กับเงินส่วยสาอากร 300 ชั่งที่เก็บจากเจ้าเมืองจันทบุรี
    เมื่อเจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่าพระยาจันทบุรีหลงเชื่อคำของขุนรามหมื่นส้อง ไม่ยอมอ่อนน้อมให้แล้ว จึงตรัสให้ทหารทั้งปวง เทอาหารทิ้ง ทุบหม้อทุบต่อยหม้อแกงจนแหลกหมด แล้วจึงตรัสว่า วันนี้เราจะเอาเมืองจันทบุรีให้ได้ ให้ไปหาข้าวของกินกันในเมือง หากไม่ได้ก็จงตายเสียให้สิ้นด้วยกันเถิด
    ครั้นตกดึกประมาณ 3 นาฬิกา เจ้าตากก็สามารถบุกเข้าเมืองได้ ตรงกับวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2310 เจ้าตากจึงสามารถรวบรวมหัวเมืองตะวันออก ได้แก่ ชลบุรี และ ระยอง จันทบุรีได้
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การสถาปนากรุงธนบุรี
    เมื่อพระเจ้าตากทรงขับไล่พม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็รวบรวมผู้คน ทรัพย์สมบัติ และสิ่งต่างๆ ซึ่งสุกี้พระนายกองยังมิได้นำไปยังพม่า นำกลับมายังค่ายที่เมืองธนบุรี ปรากฏว่าที่เมืองลพบุรี มีพระบรมวงศานุวงศ์ของราชวงศ์อยุธยามาพำนักอยู่เป็นจำนวนมาก พระเจ้าตากจึงสั่งให้คนไปอัญเชิญมายังเมืองธนบุรี พระองค์ทรงขุดพระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นมาถวายพระเพลิงตามราชประเพณี ต่อจากนั้น พระองค์ก็ทรงคิดที่จะปฏิสังขรณ์พระนครศรีอยุธยาให้กลับคืนเป็นดังเดิม แต่แล้วหลังจากตรวจดูความพินาจของเมือง ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อพยพผู้คนเคลื่อนลงมาทางใต้ ตั้งราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เรียกนามว่า กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร

    [แก้] เหตุผลที่ทรงย้ายราชธานี

    1. ถึงแม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะเป็นราชธานีที่มีชัยภูมิดี มีแม่น้ำล้อมรอบ แต่พระเจ้าตากไม่มีทหารเพียงพอที่จะปกป้องพระนครได้ จึงอาจจะทำให้ข้าศึก บุกเข้ามาโดยง่าย
    2. กรุงศรีอยุธยาอยู่ในทำเลที่ข้าศึกเข้ามาสะดวก พม่ารู้ประตูทางเข้าออกและจุดอ่อนของกรุงศรีแล้ว จึงทำให้เสียเปรียบต่อการป้องกันพระนคร
    3. กรุงศรีอยุธยาทรุดโทรมมาก ยากแก่การบูรณะสังขร
    4. อยุธยาอยู่ไกลจากทะเล ซึ่งไม่สะดวกในการค้าขาย
    [แก้] เหตุผลทีทรงเลือกเมืองธนบุรี

    1. ธนบุรีมีแม่น้ำใหญ่กว้างไหลผ่าน เมื่อข้าศึกมา จึงสามารถขึ้นเรือหนีไปที่เมืองจันทบุรีได้
    2. ธนบุรีมีป้อมอยู่ คือ ป้อมวิชัยประสิทธิ์ หรือ ป้อมวิไชเยนทร์ ที่สร้างไว้ตั้งแต่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช หลงเหลืออยู่ พอที่จะใช้ป้องกันข้าศึกได้
    3. ธนบุรีตั้งอยู่บนเกาะเหมือนอยุธยา
    4. ธนบุรีตั้งอยู่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นเส้นทางที่เมืองเหนือทั้งปวงจะได้ค้าขาย จึงสามารถกีดกันมิให้หัวเมืองเหล่านั้นตั้งตนเป็นใหญ่ ซื้อหาอาวุธจากต่างประเทศได้
    5. ธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล สะดวกแก่การค้ามาก ซึ่งต่างจากอยุธยาที่ต้องขนลงเรือเล็กก่อน
    6. ธนบุรีเป็นเมืองเก่า มีวัดเก่าแก่มากมาย ดังนั้นจึงไม่ต้องสร้างวัดขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
    7. ธนบุรีมีคลองมาก ดินดี น้ำมาก จึงสามารถทำไร่ทำสวนได้ตลอดทั้งปี
    [แก้] การปกครอง

    การปกครองในสมัยกรุงธนบุรีนั้น ยืดถือแบบการแบบกรุงศรีอยุธยา โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

    [แก้] การปกครองส่วนกลาง

    กรุงธนบุรีเป็นศูนย์กลาง มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่ง
    • สมุหนายก' เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งในราขการฝ่ายทหาร และ พลเรือน ในฐานะเจ้าเสนาบดีกรมมหาดไทย ผู้เป็นจะมียศเป็น เจ้าพระยาจักรี'หรือที่เรียกว่า ออกญาจักรี
    • สมุหพระกลาโหม' เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวง ยศนั้นก็จะมี เจ้าพระยามหาเสนา'หรือที่เรียกว่า ออกญากลาโหม
    ส่วนจตุสดมภ์นั้นยังมีไว้เหมือนเดิม มีเสนาบดีเป็นผู้ดูแล และมีพระยาโกษาธิบดี เป็นผู้ดูแลอีกทอดหนึ่ง ซึ่งได้แก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และ กรมนา

    [แก้] การปกครองส่วนภูมิภาค

    • หัวเมืองชั้นใน จะมีผู้รั้งเมือง เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบๆไม่ไกลจากราชธานี
    • เมืองพระยามหานคร จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง
    [แก้] เศรษฐกิจ

    ในช่วงแรกๆ ค่อนข้างที่จะมีปัญหาด้านเศรษฐกิจเพราะเกิดปัญหาข้าวยากหมากแพงไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน วิธีแก้แรกๆ พระเจ้าตากสินได้สละทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซื้อข้าวแจกกับประชาชน แต่ก็ยังไม่พออยู่ดี จนภายหลังพระองค์จึงให้ราษฎรทุกคนช่วยกันปลูกข้าวในบริเวณรอบๆ พระบรมมหาราชวังเพราะมีดินที่อุดมสมบูรณ์ และทำทั้งนาปรังและนาปีเพื่อให้ข้าวเพียงกับความต้องการของราษฎร ส่วนเรื่องค้าขายคาดว่าน่าจะมีการค้าขายกับชาวจีนบ้างบางส่วน และเราเองก็ได้รับความช่วยเหลือจากคนจีนในบางส่วน สินค้าที่ขายคงเป็นข้าว สภาพเศรษฐกิจของกรุงธนบุรีไม่ค่อยดี เพราะยังมีปัญหาพวกพ่อค้าจากต่างถิ่นไม่ค่อยกล้าเข้ามาทำการค้าขาย เนื่องจากกลัวภัยสงครามในเมืองธนบุรี เนื่องจากกรุงธนบุรีมีการต่อสู้และทำสงครามกับพม่าอยู่ตลอดเวลา

    [แก้] สังคม

    เป็นสังคมเล็กๆ เพราะมีคนน้อย

    [แก้] วัฒนธรรม

    รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแม้จะไม่ยาวนานนักได้ฟื้นฟูปรับปรุงบ้านเมืองในด้านวัฒธรรมเป็นอันมากเช่น ด้านศาสนาได้แต่งตั้งพระสังฆราช ด้านศิลปะผลงานไม่เด่นชัด ด้านการศึกษาเด็กผู้ชายจะมีโอกาสได้เรียนเท่านั้น

    [แก้] วรรณกรรม

    ถึงแม้ว่ากรุงธนบุรีจะดำรงอยู่เป็นเวลาอันสั้น วรรณกรรม วรรณคดีทั้งหลายถูกทำลายลง แต่ก็มีเวลาที่จะมาฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรม
    • สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
    <DL><DD>บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2313 อันเป็นปีที่ 3 ในรัชกาลพระองค์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ฉบับนี้มี 4 ตอน แบ่งออกเป็น 4 เล่ม </DD></DL>พระยาพระคลัง(หน)แต่งไว้ทั้งหมด 2 เรื่อง ในสมัยกรุงธนบุรี
    <DL><DD>ลิลิตเพชรมงกุฎ แต่งระหว่างปี พ.ศ. 2310 -2322 <DD>อิเหนาคำฉันท์ แต่งปี พ.ศ. 2322 </DD></DL>
    • นายสวน มหาดเล็ก
    <DL><DD>โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แต่งเมื่อ พ.ศ. 2314 </DD></DL><DL><DD>นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน หรือ นิราศกวางตุ้ง แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2324 </DD></DL>
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>กรุงธนบุรี เป็นบทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ กรุงธนบุรี ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 8830/2048000 bytesPost-expand include size: 8688/2048000 bytesTemplate argument size: 592/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:17119-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080110001031 -->
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5".
    หมวดหมู่: กรุงธนบุรี | กรุงเทพมหานคร | บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    กรุงรัตนโกสินทร์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    กรุงรัตนโกสินทร์ หรือ "กรุงเทพมหานคร" เป็นราชธานีของไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับที่ตั้งของกรุงธนบุรี โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระนครขึ้น โดยทำพิธีตั้งเสาหลักเมืองของพระนครใหม่ เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 10 ค่ำ เวลาย่ำรุ่งแล้ว 45 นาที ตรงกับวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325
    ทั้งนี้ ได้พระราชทานนามของพระนครว่า "กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยา มหาดิลกภพ นพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมารอวตารสถิต สักกะทัตติยะ วิษณุกรรมประสิทธิ์"แปลว่า พระนครอันกว้างใหญ่ดุจเทพนคร เป็นที่สถิตย์ของพระแก้วมรกต เป็นพระมหานครที่ไม่มีใครรบชนะ มีความงามอันมั่นคงและเจริญยิ่ง เป็นเมืองหลวงที่บริบูรณ์ไปด้วยแก้วเปราะน่ารื่นรมย์ยิ่ง พระราชนิเวศน์ใหญ่โตมากมาย เป็นวิมานของเทพผู้อวตารลงมา ซึ่งท้าวสักกเทวราชพระราชทานให้พระวิษนุกรรมลงมาเนรมิตไว้ เรียกสั้นๆ ว่า "กรุงเทพฯ" "กรุงเทพมหานคร" หรือ "กรุงรัตนโกสินทร์" ซึ่งคำว่ากรุงเทพในตอนต้นชื่อนั้น สันนิษฐานว่ามากจากชื่อหน้าของ อยุธยา ว่า กรุงเทพ ทราราวดีศรีอยุธยา (ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแปลงสร้อยพระนามพระนครจาก "บวรรัตนโกสินทร์" เป็น "อมรรัตนโกสินทร์")

    [แก้] ดูเพิ่ม
    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นบทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ กรุงรัตนโกสินทร์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 8938/2048000 bytesPost-expand include size: 8976/2048000 bytesTemplate argument size: 592/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:16485-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080109213004 -->
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C".
    หมวดหมู่: บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ | ประเทศไทย | ประวัติศาสตร์ไทย | กรุงเทพมหานคร
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ราชวงศ์จักรี

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG] [​IMG]
    ตราประจำราชวงศ์จักรี


    ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศไทย ต่อจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์"
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ที่มาของชื่อและสัญลักษณ์ประจำราชวงศ์จักรี

    ชื่อของราชวงศ์จักรีมีที่มาจากบรรดาศักดิ์ "เจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์" ตำแหน่งสมุหนายก ซึ่งเป็นตำแหน่งทางราชการที่พระองค์เคยทรงดำรงตำแหน่งมาก่อนในสมัยกรุงธนบุรี คำว่า "จักรี" นี้พ้องเสียงกับคำว่า "จักร" และ "ตรี" ซึ่งเป็นเทพอาวุธของพระนารายณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระแสงจักรและพระแสงตรีไว้ 1 สำรับ และกำหนดให้ใช้เป็นสัญลักษณ์ประจำราชวงศ์จักรีสืบมาจนถึงปัจจุบัน

    [แก้] พระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระมหาจักรีบรมราชวงศ์

    [​IMG][​IMG]
    พระบรมรูปหุ่นขี้ผึ้งพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ 1 - 8 ที่ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระวังหน้า ลักษณะพิมพ์เกศ(ษ)ไชโย สร้างลักษณะพิมพ์พระประธาน ไม่สร้างพิมพ์นี้กัน เนตรชัดเจน พระเครื่องสมัยนี้ ขัดสมาธิราบ ใน ๑๐๐ องค์ พบ ๑ องค์ในลักษณะนี้ ไมทราบว่าหายากหรือยังไง
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=9>[​IMG]</TD><TD style="BACKGROUND-REPEAT: repeat-x" align=left background=../../images/bgnew/h_c.gif> [​IMG] ขัดสมาธิ โดย ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล</TD><TD vAlign=top width=9>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=middle> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="94%">
    ขัดสมาธิ
    ขัดสมาธิ (ขัด-สะ-หฺมาด ) เป็นท่านั่งราบกับพื้นพับขาทั้งสองข้าง เข่าทั้งสองแบะลงให้เท้าทั้งสองไขว้กันอยู่ เท้าข้างหนึ่งจะซ่อนอยู่หลังเท้าอีกข้างหนึ่ง เป็นท่านั่งขัดสมาธิของคนทั่วไป.
    แต่ท่านั่งขัดสมาธิของพระพุทธรูปนั้นท่าหนึ่ง เรียกว่า ขัดสมาธิราบ (ขัด-สะ-หฺมาด-ราบ ) จะให้พระบาททั้งสองหงายขึ้น พระบาทขวาวางอยู่บน พระบาทซ้ายวางอยู่ล่าง.
    อีกท่าหนึ่งเรียกว่า ขัดสมาธิเพชร (ขัด-สะ-หฺมาด-เพ็ด ) เป็นท่านั่งคล้ายกับที่คนทั่วไปเรียกว่า ขัดสมาธิสองชั้น คือท่านั่งขัดสมาธิคล้ายขัดสมาธิราบ พระบาททั้งสองหงายขึ้น ให้พระบาทซ้ายซ้อนอยู่บนพระเพลาขวาชั้นหนึ่ง แล้วยกพระบาทขวาซ้อนขึ้นไปหงายอยู่บนพระเพลาซ้ายอีกชั้นหนึ่ง.

    ผู้เขียน ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิต ประเภทวรรณศิลป์ สาขาวิชาภาษาไทย สำนักศิลปกรรม
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="94%">

    </TD></TR></TBODY></TABLE>http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=346
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010651.JPG
      P1010651.JPG
      ขนาดไฟล์:
      262.8 KB
      เปิดดู:
      65
    • P1010652.JPG
      P1010652.JPG
      ขนาดไฟล์:
      311.3 KB
      เปิดดู:
      66
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) ในราชวงศ์จักรี
    [แก้] สยามมกุฎราชกุมารในราชวงศ์จักรี
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [​IMG]

    คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
    ราชวงศ์จักรี

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
    <!-- Pre-expand include size: 2729/2048000 bytesPost-expand include size: 728/2048000 bytesTemplate argument size: 65/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:4219-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080115214801 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B5".
    หมวดหมู่: ราชวงศ์จักรี | ประเทศไทย
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://209.85.175.104/search?q=cach...ravadee.htm+ทวาราวดี&hl=th&ct=clnk&cd=6&gl=th

    พระพุทธศาสนาสมัยทวาราวดี

    พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ สมัยเดียวกันกับประเทศลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ๙ สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ไม่น้อยกว่า ๗ ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า

    พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้

    ๑. สมัยทวาราวดี

    ผืนแผ่นดินจุดแรกของอาณาจักรสุวรรณภูมิ หรือที่เรียกกันว่า
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.baanjomyut.com/76province/center/index.html

    ภาคกลาง

    เป็นศูนย์กลางการปกครองของสยามประเทศ อาณาบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำอันกว้างใหญ่ สถานที่ตั้งของราชธานีแห่งสยามประเทศทั้ง กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ ดินแดนที่สะท้อนภาพความรุ่งเรืองของอารยธรรมสยาม พื้นที่ราบอันกว้างใหญ่ของภาคกลาง แบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือที่ราบดินตะกอน และที่ราบซึ่งเกือบไม่มีดินตะกอนเลย ที่ราบใหญ่ภาคกลาง มีขนาดกว้าง ประมาณ 50 - 150 กิโลเมตร ยาวประมาณ 300 กิโลเมตร แบ่งออกได้เป็น 5 ตอนด้วยกันคือ ตอนบนเป็นพื้นที่ราบ ซึ่งมีลักษณะเป็นลุ่มแอ่งน้อย ๆ ตั้งอยู่ในระหว่างย่านภูเขาทางเหนือ มีทิวเขาถนนธงชัยอยู่ทางด้านทิศตะวันตก และทิวเขาเพชรบูรณ์อยู่ทางด้านทิศตะวันออก พื้นที่ตอนกลางระหว่างทิวเขาทั้งสองเป็นที่ลุ่ม มีระดับสูงประมาณ 3 - 4 เมตร จากระดับน้ำทะเล แต่ทางตอนใต้บริเวณ จังหวัดชัยนาท เป็นที่ค่อนข้างดอน มีความสูงประมาณ 18 เมตร จากระดับน้ำทะเล ตอนล่างเป็นพื้นที่ราบ ซึ่งมีความลาดจาก จังหวัดชัยนาทลงไปทางใต้ ลงสู่ทะเลที่อ่าวไทยพื้นที่ต่ำสุดอยู่ตอนกลาง ซึ่งเป็นรางของลำน้ำ พื้นที่ทางด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก จะมีความลาดลงมาน้อย ๆ จากแนวทิวเขา มีระดับสูง 18 เมตร ที่ชัยนาท 4 เมตรที่อยุธยา และ 1.8 เมตรที่กรุงเทพ ฯ ที่ราบลุ่มแม่น้ำป่าสัก เป็นที่ราบแคบ ๆ ในภาคกลาง คั่นอยู่ระหว่างที่ราบใหญ่ภาคกลาง กับที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ราบแคบ ๆ และยาวอยู่ระหว่างหุบเขาของทิวเขาเพชรบูรณ์ กับทิวเขาเลย
    ภาคกลาง เป็นดินแดนแห่งอารยธรรมที่สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยทวารวดี เมื่อ พุทธศตวรรษที่ 11-16 ยุคที่ชนชาติมอญครอบครองดินแดนแถบนี้ จากนั้นราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 ชนชาติขอมหรือ เขมรก็เข้ามาเรืองอำนาจ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ลพบุรี และขยายอาณาเขตออกไปยังจังหวัดสุพรรณบุรี เพชรบุรี และสิงห์บุรี
    ในพ.ศ.1893 พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างเมืองขึ้นแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และต่อมาได้ย้ายราชธานีมาอยู่ที่บริเวณตำบล หนองโสนหรือบึงพระราม นับตั้งแต่นั้นมากรุงศรีอยุธยาก็เจริญรุ่งเรืองเป็นบึกแผ่น มีการขยายอาณาเขตและติดต่อ ค้าขายกับชาวตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส ฝรั่งเศส ฮอลันดา และอังกฤษ รวมถึงการรับอารยธรรมตะวันตกด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะศาสนาคริสต์ ก็ได้เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยเป็นครั้งแรกในดินแดนแถบนี้
    ด้วยความที่เป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ มีประชากรหลายเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ จึงก่อให้เกิดงานศิลป์ผสมผสานที่งดงาม ตามวัดวาอารามต่างๆ เป็นมรดกของประเทศสืบทอดมาถึงลูกหลานในปัจจุบัน และบางแห่งทรงคุณค่าจนได้รับการ ยกย่องให้เป็นมรดกของโลกที่ต้องรักษาไว้ชื่นชมร่วมกันตราบนานเท่านาน อีกทั้งวัฒนธรรมประเพณีและการละเล่นต่างๆ ซึ่งยังคงมีให้ชมได้ในหลายพื้นที่ของจังหวัดในภาคกลาง เช่น ระบำชาวไร่ เพลงพวงมาลัย เพลงฉ่อย เพลงอธิษฐาน เพลงเหย่ย เพลงแม่ศรี เพลงเต้นกำรำเคียว เพลงลำตัด เพลงปรบไก่ เพลงอีแซว กลองยาว และลิเก เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการแสดงในราชสำนักที่ภายหลังได้นำออกเผยแพร่ทั่วไป เช่น โขน ละคร หนังใหญ่ หุ่นกระบอก และดนตรีไทย
    จากสภาพภูมิประเทศของภาคกลางยังเอื้ออำนวย ต่อกิจกรรมทางการท่องเที่ยวมากมาย ได้แก่ ภูเขาใหญ่น้อย หลายแห่ง ซึ่งเป็นที่ตั้งของถ้ำอันสวยงาม มีพื้นที่ป่าชุ่มชื้นเป็นต้นน้ำลำธารที่ไหลรวมเป็นน้ำตก มีเกาะแก่งกลางลำน้ำ และ ด้วยเหตุผลที่ภาคกลางเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง คือ กรุงเทพมหานคร จึงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำคัญของประเทศ
    ภูมิภาคนี้มีพื้นที่เป็นรองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ เพราะมีลำน้ำสำคัญไหลผ่านภาคนี้คือแม่น้ำเจ้าพระยา ทั้งพื้นที่เป็นที่ราบ เมื่อมีน้ำจึงทำการเกษตรกรรมได้ดี
    นอกจากนั้นพื้นที่ในภาคกลางได้รับการพัฒนา ในด้านการชลประทานที่ครอบคลุมพื้นที่กว้าง จึงทำให้เกษตรกรสามารถทำนาและปลูกพืชได้เกือบตลอดปี ประชากรในภูมิภาคนี้มีความคุ้นเคยกับการเกษตรเพื่อการค้า นอกจากปลูกข้าวแล้วมีการปลูกพืชผลไม้ได้หลายอย่าง การเพาะปลูกทำอย่างทันสมัยและได้คุณภาพ นอกจากนั้นยังอยู่ใกล้แหล่งตลาดที่บริโภคคือกรุงเทพมหานคร หรือแม้แต่ส่งไปจำหน่ายยังต่างประเทศก็ทำได้สะดวก จึงทำให้ภาคนี้มีความได้เปรียบในทุก ๆ ด้าน ประชากรพูดภาษาไทยสำเนียงภาคกลาง บางท้องถิ่นอาจเพี้ยนไปจากสำเนียงไทยภาคกลางที่กรุงเทพฯ เล็กน้อย การแต่งกายแต่ดั้งเดิมหญิงนุ่งผ้าโจงกระเบน ภายหลังเปลี่ยนมานุ่งผ้าซิ่นยาวถึงข้อเท้า สวมเสื้อแขนสามส่วนเอวปล่อย ส่วนชายนุ่งกางเกงครึ่งน่อง สวมเสื้อคอกลม อย่างไรก็ตามการแต่งกายในภาคกลางได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามสมัยนิยม ปัจจุบันมีชุดไทยพระราชนิยม ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เมื่อมีงานพิธีหรือในโอกาสพิเศษ
    อาชีพในภาคกลาง ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูก คือการทำนา แต่จะมีอาชีพอย่างอื่นอีกมาก เช่น การทำไร่ข้าวโพด ข้าวฟ่าง การทำสวนผัก สวนผลไม้ เช่น สวนส้ม ส้มโอ มะขามหวาน มะม่วง การเลี้ยงปลา เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงสุกร วัวเนื้อ วัวนม ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีการอุตสาหกรรมต่าง ๆ การค้า งานบริการ ล้วนแต่เป็นอาชีพสำคัญ กรุงเทพมหานครเป็นนครที่ใหญ่โตมีประชากรมาก รวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอย่างไว้ และขณะเดียวกันก็รวมเอาปัญหาสารพัดอย่างไว้ด้วย เช่น ปัญหาชุมชนแออัด ปัญหาอาชญากรรม ยาเสพย์ติด การจราจรติดขัด มลพิษทั้งอากาศและน้ำ ภาคกลางจึงเป็นศูนย์รวมทางเศรษฐกิจทุกด้าน ดังนั้นประชากรในเขตนี้โดยเฉลี่ยจึงมีความเป็นอยู่ดีกว่าประชากรในเขตอื่น ขณะที่ประทศเริ่มมีผลิตผลทางอุตสาหกรรมมากขึ้น การขยายตัวได้เริ่มจากภาคนี้และทำให้ในปัจจุบันมูลค่าการส่งออก ของผลิตผลทางอุตสาหกรรมมีมากกว่ามูลค่าการส่งออกของผลิตผลทางด้านเกษตรกรรม ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าเราส่งสินค้าทางการเกษตรน้อยลง แต่เป็นผลมาจากการเปรียบเทียบมูลค่าระหว่างสองกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
    ภาคกลางเป็นแหล่งอาชีพที่สำคัญจึงพบว่าประชากร ในภูมิภาคอื่นได้อพยพมาหางานในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานครและบริเวณใกล้เคียง นอกจากประชากรในประเทศเราแล้วยังมีคนต่างประเทศ เช่น กัมพูชา พม่า ลาว บังกลาเทศ ได้พยายามแอบมาหางานทำในภูมิภาคนี้ จึงนับได้ว่าภาคกลางเป็นภาคที่ก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจกว่าภูมิภาคอื่นๆ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE width=420 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=420 bgColor=#ff8000>ประวัตศาสตร์-ความเป็นมา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=420><SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>จากการค้นพบโบราณวัตถุหลายชิ้น เป็นต้นว่า ลูกปัด เครื่องประดับทำด้วยทองหรือดีบุก ที่ประทับตราหรือตราขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เหรียญเงินศรีวัตสะ เศษเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ ที่เมืองอู่ทองซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับวัตถุที่ค้นพบที่เมืองออกแก้วซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเมืองท่าของอาณาจักรฟูนัน ในแหลมโคชินไชนา ในประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนามภาคใต้มาก วัตถุเหล่านี้ไม่เคยพบในที่อื่นในแหลมอินโดจีน และเชื่อกันว่าเป็นวัตถุของอาณาจักรฟูนัน (พุทธศตวรรษที่ 6- พุทธศตวรรษที่ 10) โดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังได้ค้นพบประติมากรรม ศิลปอินเดียสมัยอมราวดี
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>จากหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุในดินแดนประเทศไทย ทำให้เราได้ทราบว่าอารยธรรมอินเดีย ได้หลั่งไหลแผ่เข้ามายังดินแดนประเทศไทย ตั้งแต่ครั้งพุทธศตวรรษที่ 6-7 ชาวอินเดียเรียกประเทศไทยว่า "ดินแดนสุวรรณภูมิ" และได้เข้ามาตั้งหลักแหล่งในแหลมอินโดจีนพร้อมทั้งได้นำวัฒนธรรมและศาสนา คือ ศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา เข้ามาเผยแพร่ด้วย ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 7 ถึง 11 ตามหลักฐานจากจดหมายเหตุของจีนว่ามีอาณาจักร "ฟูนัน" ตั้งอยู่แถบลุ่มแม่น้ำโขงตอนใต้ และได้แผ่อาณาเขตไปทางทิศตะวันตกถึงแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาด้วย เมื่ออาณาจักร "ฟูนัน" สลายตัวในต้นพุทธศตวรรษที่ 12 แล้ว ในดินแดนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาได้เกิดอาณาจักรที่สำคัญทางพุทธศาสนาขึ้น ชื่อว่า อาณาจักรทวาราวดี
    คำว่า "ทวาราวดี" เดิมเป็นเพียงข้อสันนิษฐานจากชื่ออาณาจักรที่จดหมายเหตุจีนเรียกว่า "โถโลโปติ" (To-lo-po-ti) ว่า ตรงกับคำสันสกฤตว่า "ทวาราวดี" และคำนี้ได้ติดอยู่เป็นสร้อยชื่อของนครหลวงของประเทศไทย มาตั้งแต่สมัยอยุธยา ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2512 ได้มีผู้พบเหรียญเงินมีอักษรจารึกที่นครปฐมคำจารึกเป็นอักษรสันสกฤต รุ่นพุทธศตวรรษที่ 13 มีข้อความว่า "ศรีทวาราวดี ศวรปุณยะ" แปลว่า "บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวาราวดี" อันแสดงว่าอาณาจักรทวาราวดีนั้นมีจริงในประเทศไทย
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>อาณาจักรทวารวดีเป็นอาณาจักรประวัติศาสตร์สมัยแรกในประเทศไทย อาณาจักรนี้มีเมืองอู่ทองอาจเป็นราชธานีอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง มีการค้นพบแผ่นทองแดง ของพระเจ้าหรรษาวรมันที่เมืองอู่ทอง ซึ่งมีจารึกใช้ตัวอักษรอยู่ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 12 ก็อาจหมายความว่า พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้เป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์แรก ที่ทราบพระนามสำหรับอาณาจักรทวารวดี เมืองอู่ทองจึงเป็นเมืองสำคัญในอาณาจักรทวารวดีในพุทธศตวรรษที่ 11-12
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>ประวัติของไทยนั้นเก่าแก่มาก จดหมายเหตุจีนเมื่อประมาณ 300 ปีก่อนพุทธกาลกล่าวถึงภูมิลำเนาเดิมของไทยว่าอยู่ในลุ่มน้ำตอนกลางของแม่น้ำเหลือง ซึ่งอยู่ในท้องที่มณฑลฮูเป และโฮนานในบัดนี้ ในสมัยเดียวกันนั้น จีนก็ได้มาตั้งภูมิลำเนาอยู่ตามที่ราบสูง ในลุ่มน้ำเหลืองตอนบน คือ มณฑลกังซูในบัดนี้ ซึ่งเห็นจะเป็นเพราะถูกพวกต้นตระกูลตาดรุกราน จึงได้ร่นลงมาและปะทะกับไทยเข้า ไทยมีจำนวนน้อยจำต้องร่นลงมาทางใต้หลายทิศหลายทาง
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>พวกไทยส่วนมากร่นลงมาตามแม่น้ำแยงซีเข้าไปในยูนนาน ต่อสู้ชนะพวกพื้นเมืองเดิมและได้ตั้งอาณาจักรน่านเจ้า โดยมีตาลีฟูเป็นเมืองหลวง ต่อมาเมืองหลวงก็ได้ย้ายไปตั้งอยู่ ปูเออฟู อาณาจักรน่านเจ้าครอบครองท้องที่มณฑลยูนนานปัจจุบัน พม่าเหนือและภาคเหนือของสิบสองปันนาประวัติของไทยในสมัยที่กล่าวนี้ รุ่งเรืองที่สุดและอำนาจอยู่อย่างนี้ 4 ศตวรรษ
    เมื่อจีนรุกรานหนักเข้า ไทยก็จำต้องอพยพร่นลงมาอีก และกว่าจะต่อสู้เอา ชัยชนะขอมเจ้าของถิ่นเดิมได้ ก็เป็นเวลาตั้งหลายศตวรรษ แล้วจึงได้ตั้งอาณาจักรใหม่ ณ เชียงแสน บนฝั่งแม่น้ำโขง อาณาจักรใหม่นี้มีประวัติรุ่งเรืองเหมือนอาณาจักรเดิมต่อมานั้นได้ย้ายจากเชียงแสนไปทางตะวันตกเฉียงใต้ และตั้งอาณาจักรขึ้นใหม่ที่ลุ่มแม่น้ำสาลวิน มีภุกามเป็นเมืองหลวง แต่อาณาจักรนี้ไม่ยั่งยืนเพราะอยู่ใกล้ขอมมาก จึงถูกขอมขับกลับไปเลยไปสร้างเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองหลวงใหม่ขึ้นที่ แม่น้ำปิง
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>การอพยพลงมาทางใต้ยังคงดำเนินไปอยู่เรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเรียกกันว่าดินแดนแหลมทองหรือสุวรรณภูมิ อันเป็นที่ตั้งประเทศไทยปัจจุบันนี้ ได้มีชนชาติอื่นอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ได้แก่พวกละว้า ซึ่งได้ตั้งภูมิลำเนาอยู่ 3 แคว้นด้วยกัน คือ
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>1. แคว้นโยนก อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย คือ ดินแดนที่เป็นมณฑลพายัพ และลานนาไทยปัจจุบัน มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองเชลียง (สวรรคโลก) ขึ้นไปจนตลอดหัวเมืองลานนา และลานช้าง ได้ตั้งราชธานี อยู่ที่เมืองเงินยาง (เชียงแสน)
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>2. แคว้นทวารวาดี อยู่ตรงตอนกลางของประเทศไทย คือ ดินแดนบริเวณจังหวัดนครปฐม อยุธยา พิษณุโลก นครสวรรค์ ปราจีนบุรี รวมทั้งแหลมมลายู ตั้งราชธานีอยู่ที่นครปฐม
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>3. แคว้นโคตรบูร อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยปัจจุบัน มีราชธานีอยู่ที่สกลนคร
    <SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>สำหรับแคว้นทวารวดีนั้น ต่อมาได้ถูกพวกมอญขยายอาณาเขตเข้ามาทางแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าครอบครองกลายเป็นอาณาจักรหนึ่งของชนชาติมอญ สันนิษฐานว่า พวกมอญคงจะได้ตั้งอาณาจักรนี้ขึ้น เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 10 และสิ้นสุดลงตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 16 เนื่องจากอำนาจของขอมได้แผ่เข้ามายังภาคกลางของประเทศไทย อาณาจักรทวารวดี ก็เปลี่ยนมาเป็นอาณาจักรของขอม ซึ่งเรียกเป็นเฉพาะว่าอาณาจักรลพบุรี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width=420 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=420 bgColor=#ff8000>ประวัตศาสตร์-ความเป็นมา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=420>
    (หน้า 3)


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width=420><SMALL><SMALL><SMALL></SMALL></SMALL></SMALL>สมัยทวารวดีนั้น มีศูนย์กลางอาณาจักรอยู่ที่นครปฐม ได้มีการขุดค้นพบหลักฐานต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบทวารวดีอย่างชัดเจน และได้มีการขุดค้นพบโบราณสถาน และหลักฐานต่าง ๆ สมัยทวารวดี ที่ภาคกลางของประเทศไทย เช่นที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และบ้านโคกไม้เดน อำเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค์ และที่บ้านคูเมือง อ.อินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี โดยเฉพาะที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ได้ค้นพบเหรียญเงินมีตัวอักษร ในพุทธศตวรรษที่ 13 จารึก มีข้อความว่า
     
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มาศึกษาดูซิว่า"รายพระนามของพระมหาอุปราชวังหน้า"ตั้งแต่สมัยอยุธยามาจนถึงรัตนโกสินทร์เป็นผู้ใดกันบ้าง
    กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
    <H1 class=firstHeading>กรมพระราชวังบวรสถานมงคล</H1><H3 id=siteSub>จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ วังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาขึ้น เทียบได้กับตำแหน่งพระมหาอุปราช มีความสำคัญรองลงมาจากพระมหากษัตริย์ และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติพระองค์ต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชหรือพระมหาอุปราชกรมพระราชวังนั้น ปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมา สมเด็จพระเพทราชาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศให้ดำรงที่สยามมกุฎราชกุมาร ดังนั้น ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงสิ้นสุดลงนับตั้งแต่นั้นมา
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ประวัติ

    ตำแหน่งพระมหาอุปราชนั้น เริ่มปรากฏหลักฐานในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นนั้น ยังไม่การการแต่งตั้งตำแหน่งพระมหาอุปราช เพียงแต่มีแต่งตั้งเจ้านายเพื่อไปครองเมืองต่าง ๆ เท่านั้น อย่างไรก็ตาม การแต่งตั้งเจ้านายเพื่อไปครองเมืองนั้น ได้ยุติลงภายหลังการแต่งตั้งพระมหาอุปราชประทับภายในพระนคร
    ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนั้น พระองค์ทรงมีพระราชดำริว่า เมื่อมีการผลัดแผ่นดินมักจะเกิดการแย่งชิงราชสมบัติจนอาจเป็นศึกภายในพระนครได้ เนื่องจากเจ้านายที่ไปครองหัวเมืองต่าง ๆ นั้น มีกำลังและอำนาจเสมอกัน และเจ้านายที่อยู่ในกรุงก็มียศบรรดาศักดิ์และกำลังเสมอกัน ดังนั้น พระองค์จึงพระราชทานอุปราชาภิเษกสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระอินทราชาให้ดำรงที่พระมหาอุปราชกรมพระราชวัง รับพระบัณฑูรเป็นปฐม
    ตำแหน่งพระมหาอุปราชเริ่มปรากฏเด่นชัดยิ่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา เมื่อสมเด็จพระนเรศวรเสด็จไปครองเมืองพิษณุโลก และทรงสร้าง "วังจันทรเกษม" ขึ้นในพระนคร เพื่อเป็นที่ประทับเวลาเสด็จมายังกรุงศรีอยุธยา ซึ่งวังจันทรเกษมนี้ตั้งอยู่ที่หน้าวังหลวง ดังนั้น จึงเป็นที่มาของคำว่า "วังหน้า" ต่อมา เมื่อสมเด็จพระนเรศวรขึ้นครองราชย์ โปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระเอกาทศรถ เป็น สมเด็จพระเอกาทศรถ ที่พระมหาอุปราช รับพระราชโองการ มีพระเกียรติยศเสมอพระเจ้าแผ่นดิน หลังจากนั้น จึงมีการสถาปนาพระมหาอุปราชขึ้นอีกหลายพระองค์
    ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชานั้น พระองค์โปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาหลวงสรศักดิ์เป็นพระมหาอุปราช ประทับ ณ วังหน้า พร้อมทั้งบัญญัติศัพท์นามวังหน้าว่า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯ สถาปนานายจบคชประสิทธิ์ให้ดำรงพระยศเป็นวังหลัง พระราชทานวังหลังเป็นที่ประทับ พร้อมทั้งบัญญัติศัพท์นามวังหลังว่า กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
    หลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลอีก จนกระทั่ง พ.ศ. 2429 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นพระองค์แรกที่ทรงดำรงตำแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร ทำให้ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลถูกยกเลิกตั้งแต่นั้นมา

    [แก้] พระบัณฑูร

    พระบัณฑูร คือ คำสั่งของพระมหาอุปราช มาจากภาษาเขมร แปลว่า "สั่ง" สำหรับคำสั่งของพระมหากษัตริย์นั้นใช้คำว่า "พระราชโองการ" ในการสถาปนาพระมหาอุปราชตั้งแต่อดีตนั้น มักเรียกว่า "วังหน้ารับพระบัณฑูร" โดยมีวังหน้ารับพระบัณฑูรมาแล้วทั้งสิ้น 16 พระองค์ ส่วน "วังหน้ารับ(บวร)ราชโองการ" นั้น เป็นพระมหาอุปราชที่พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ที่ 2 เสมอกับพระองค์ มีเพียง 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเอกาทศรถ พระอนุชาของสมเด็จพระนเรศวร และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<SUP class=reference id=_ref-0>[1]</SUP><SUP class=reference id=_ref-1>[2]</SUP>

    </H3>

    <!-- end content -->
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    รายพระนามพระมหาอุปราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล<TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TD bgColor=#f0e68c colSpan=6><CENTER><BIG>สมัยอยุธยา</BIG></CENTER></TD></TR><TR><TD bgColor=#b0c4de colSpan=6><CENTER>ราชวงศ์สุพรรณภูมิ</CENTER></TD></TR><TR><TH>พระมหากษัตริย์</TH><TH>พระมหาอุปราชกรมพระราชวัง</TH><TH>ระยะเวลา</TH></TR><TR><TD>สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ</TD><TD>พระอินทราชา</TD><TD>พ.ศ. - พ.ศ. 2031</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3</TD><TD>พระบรมราชา</TD><TD>พ.ศ. - พ.ศ. 2034</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2</TD><TD>พระอาทิตยวงศ์</TD><TD>พ.ศ. - พ.ศ. 2072</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมาร</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระไชยราชาธิราช</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระยอดฟ้า</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระมหินทราธิราช</TD><TD>-</TD><TD>-</TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...