พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://thai.cri.cn/1/2005/08/16/21@51115.htm

    เครื่องหยกของจีน
    <!--Audio --><!--Video -->​


    <HR width="90%" SIZE=1>cri <!--Reporter -->

    [​IMG] [​IMG]

    <TABLE width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=FontStyle5>
    [​IMG]ในวัฒนธรรมที่มีประวัติศาสตร์หลายพันปีของจีนนั้น ความนิยมชมชอบเครื่องหยกนับเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของวัฒนธรรมแห่งประชาชาติจีน เครื่องหยกไม่เพียงแต่เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของอารยธรรมโบราณของจีนเท่านั้น หากยังเป็นผลิตภัณฑ์ศิลปกรรมที่มีมาแต่ดั้งเดิมของจีนอีกด้วย



    เมื่อปีค.ศ.1968 ในหลุมฝังศพโบราณแห่งหนึ่งในมณฑลเหอเป่ยทางภาคเหนือของจีนได้ขุดพบเสื้อตัวหนึ่งที่เย็บขึ้นด้วยเส้นด้ายทองคำกับแผ่น หยก เจ้าของหลุมฝังศพแห่งนี้เป็นเจ้าครองแีคว้นเมื่อประมาณศตวรรษที่หนึ่งก่อนคริสต์กาล เสื้อหยกตัวนี้แบ่งได้เป็น ๖ ส่วนด้วยกัน คือ เครื่องคลุมศีรษะ ส่วนท่อนบน ถุงแขน ถุงมือ ถุงขาและรองเท้่า ซึ่งล้วนประกอบขึ้นด้วยแผ่นหยกทั้งสิ้น ใช้แผ่นหยกรวม 2?498 แผ่น ความยา่วของเสื้อ 188 เซนติเมตร เสื้อหยกตัวนี้ทำได้ประณีตมาก การร้อยเรียงแผ่นหยกมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย รอยเชื่อมต่อเข้ารูปและเรียบราบ มีสีสันกลมกลืน สะท้่อนให้เห็นถึงฝีมือช่างอันยอดเยี่ยมของช่างฝีมือชาวจีนและชีวิตอันฟุ้งเฟ้อหรูหราของบรรดาขุนนางผู้ดีในสมัยนั้น

    [​IMG] [​IMG]

    ตามการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการจีน เึครื่องหยกของจีนมีประวัติพัฒนาการนานเกือบหมื่นปีแล้ว ตามโบราณสถานยุคหินใหม่เมื่อ 7 พันปีก่อนโน้น ผู้ทำงานโบราณคดีของจีนเคยขุดพบเครื่องหยกที่มีรูปทรงวิจิตรตระการตาจำนวนมาก เช่น ขวานหยกและพลั่วหยก เป็นต้น เนื่องด้วยในแต่ละยุคสมัย ชาวจีนมีความเข้าใจและใช้ประโยชน์เครื่องหยกที่แตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้ จึงมีเครื่องหยกที่มีลักษณะต่างๆกันเกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย กล่าวโดยรวมแล้ว เริ่มแรกเดิมที เครื่องหยกต่างๆจะถูกนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเป็นหลัก ต่อมาค่อยๆกลายเป็นเครื่องประดับประดา จนกลายเป็นสัญญลักษณ์ของทรัพย์สินและอำนาจในที่สุด อีกทั้งยังถูกนำไปใช้ในพิธีบวงสรวงเซ่้นไหว้ของราชวงศ์ในสมัยสังคมศักดินา ทำให้มีความหมายในทางไสยศาสตร์ที่งมงายต่างๆ เช่น นิยมสวมใส่เครื่องหยกเป็นเครื่องคุ้มกันให้พ้นจากความชั่วร้าย หรือนิยมรับประทานหยกเพื่อหวังให้่ชีวิตเป็นอมตะ หรือคาดหวังว่้า เมื่อสวมใส่เสื้อหยกและเสียชีวิตแล้ว ศพจะไม่เน่าตลอดกาล ผู้คนทั้งหลายถือเครื่องหยกเป็นสิ่งสวยงาม เป็นของมีเกียรติและมีคุณค่้า ด้วยเหตุนี้ เครื่องหยกจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของชาวจีนสมัยโบราณ


    ยุคแรกที่เครื่องหยกจีนมีความเจริญรุ่งเรืองคือสมัยราชวงศ์ฮั่นเมื่อประมาณศตวรรษที่หนึ่งก่อนคริสต์กาล เครื่องหยกที่เหลือตกทอดมาจนถึงปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่เป็นเครื่องเซ่นของพวกขุนนางผู้ดี เมื่อวิวัฒนาการถึงประมาณศตวรรษที่ 9 ชาวบ้า่นทั่วไปก็เริ่มเก็บรักษาเครื่องหยกเืพื่อไว้ชื่นชมหรือใช้ประโยชน์เ้หมือนพวกเจ้าขุนมูลนาย เครื่องหยกถูกใช้ในความหมายสิริมงคล ขับไล่ความชั่วร้ายและความหมายทางศาสนาตลอดจนเครื่องหยกที่ใช้ประโยชน์หรือใช้เป็นเครื่องประดับประดานั้นได้ถูกผลิตขึ้นมาเป็นจำนวนมาก ช่างฝีมือแกะสลักเครื่องหยกกลายเป็นกลุ่มคนที่เป็นตัวของตัวเองในชนชั้นของสังคม รูปแบบของเครื่องหยกนั้นมีหลากหลาย อาทิ เป็นเครื่องประดับ เป็นเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำวัน เป็นอุปกรณ์เครื่องเขียน ความสิริมงคล เป็นของฝากหรือของที่ระลึกที่มีความหมายเป็นสิริมงคลตลอดจนเึครื่องใช้ทางศาสนา เป็นต้น ลวดลายบนเครื่องหยกมีทั้งเรื่องราวที่เป็นนิทานพื้นเมืิอง และภาพสิริมงคลต่างๆเป็นจำนวนมาก


    [​IMG] [​IMG]
    สมัยราชวงศ์ชิงตั้งแต่ปี 1679 ถึงปี 1911 ซึ่งเป็นราชวงศ์ศักดินาสุดท้ายของจีนนั้นเป็นอีกสมัยหนึ่งที่เครื่องหยกจีนได้รับการพัฒนาจนถึงขีดสูงสุด ศิลปะการแกะสลักเครื่องหยกในวังในยุคนี้ถือเป็นตัวแทนของศิลปะการแกะสลักเครื่องหยกระดับสูงสุดของจีน ยกตัวอย่างเช่น บนเครื่องหยก"หรูอี้"ซึ่งเป็นเครื่องประดับเล็กๆชิ้นหนึ่ง เมื่อใช้ิวิธีการแกะสลักนูนแล้ว สามารถสะท้อนให้เห็นถึงสภาพชีวิตที่ซับซ้อน แฝงไว้ด้วยความหมายแห่งความสิริมงคลและความดีงาม เนื้อหยกของจีนมีมากมายหลายชนิด เนื่องจากมีส่วนประกอบสารโลหะและเกิดในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน ทำให้มีลวดลายและสีสันที่หลากหลาย ในจำนวนนี้ หยก"เหอเถียน"นับเป็นเครื่องหยกที่ทรงคุณค่าและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด หยก"เหอเถียน"ผลิตขึ้นในเขตเหอเถียนและเขตมู่อยี้ที่อยู่ทางด้านเหนือของเืทืิอกเขาเทียนซานในเขตซินเกียงทางภาคเหนือของจีน สภาพอากาศที่นั่นเลวร้ายมาก ผู้คนอาศัยอยู่เบาบางมาก แต่หยกที่นั่นมีความแข็งสูง เนื้อหยกมีคุณภาพดีและมีสีสันที่สวยงาม จึงได้รับการยกย่องให้เป็นวัตถุล้ำค่ามาตั้งแต่โบราณกาล

    [​IMG] [​IMG]
    ปัจจุบัน เครื่องหยกเป็นสัญญลักษณ์แห่งความประเสริฐ ความบริสุทธิ์ ความมีิมิตรไมตรี ความเป็นสิริมงคล สันติภาพและความสวยงาม และยังคงเป็นผลิตภัณฑ์ศิลปหัตกรรมที่ขาดเสียมิได้ในชีวิตประจำวันของประชา่ชนจีน บ้างอาจถูกใช้เป็นเครื่องประดับในบ้าน บ้างอาจถูกใช้เป็นสิ่งยืนยันความรักหรือบ้างอาจเป็นของฝากหรือของที่ระลึกเล็กๆชิ้นหนึ่งเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม เครื่องหยกดังกล่าวล้วนแผงไว้ด้วยนัยทางวัฒนธรรมที่"ถือหยกเป็นสิ่งวิเศษ"ของจีน
    <TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><!--diaocha0b --><!--diaocha0 --><!--diaocha0e --><!--diaocha1b --><!--diaocha1 --><!--diaocha1e --><!--diaocha2b --><!--diaocha2 --><!--diaocha2e --><!--diaocha3b --><!--diaocha3 --><!--diaocha3e --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 ธันวาคม 2007
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja2.htm

    ประวัติเครื่องเบญจรงค์
    <TABLE width="87%" border=0><TBODY><TR><TD width="93%" height=142>การทำเครื่องเบญจรงค์ถือได้ว่าเป็นงา นด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที ่มีมา ตั้งแต่สมัยโบราณ และเป็นงานของช่างฝีมือที่ทำขึ้นเพื่อใช้ในราชวงศ์ชั้นสูงเท่านั้น เป็นงานศิลปหัตถกรรมที่แสดง ถึงลักษณะเฉพาะของไทย ในปัจจุบันมีการทำกันในหลายพื้นที่ทั่ว ทุกภาคของประเทศไทย และสามารถใช้ได้กับบุคคลทั่วไป
    [​IMG]

    </TD><TD width="7%"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องถ้วยที่มีการลงสีที่พื้นและลวดลาย เป็นเครื่องปั้นดินเผาประเภท เซรามิคส์ (Ceramics) ใช้เนื้อดิน ประเภทพอร์ซเลน (Porcelain ware) โดยเป็นเครื่องปั้นดินเผาเคลือบที่เขียนลายด้วยวิธีลงยา หรือสีผสมเคลือบ (Enamel) เป็นง านที่มีต้น กำเนิดในประเทศจีน ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยพระเจ้าซวนเต๊อะ (พ.ศ. 1969-1978) สมัยราชวงศ์หมิง มีการผลิตครั้งแรก ในแคว้นกังไซ มณฑลเจียงซี (หรือที่คนไทยเรียกว่า กังไส) และพัฒนาต่อมาจนเป็นที่นิยมอย่างมากในสมัยพระเจ้าเฉิงฮั่ว (พ.ศ. 2008-2030) การเขียนลายตามแบบของจีนจะใช้ตั้งแต่ 3 สีขึ้นไป มีชื่อเรียกในภาษาจีนต่างๆกัน เช่น อู๋ไฉ่ โต้วไฉ่ เฝินไฉ่ และฝาหลั่งไฉ่ ส่วนที่เป็นของไทยนั้น จะนิยมลง 5 สีด้วยกัน คือ ขาว เหลือง ดำ แดง เขียว (คราม) จึงเรียกว่า เครื่องเบญจรงค์ หรือ 5 สี โดยทั้ง 5 สีนี้จัดได้ว่าเป็นแม่สีเครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทย
    <TABLE width="95%" border=0><TBODY><TR><TD width="22%">[​IMG]</TD><TD width="78%">และในบางครั้งอาจมีการใช้สีมากกว่า 5 สีด้วย เช่น ชมพู ม่วง แสด และน้ำตาล ในอดีตใช้การสั่งทำ ที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปล ักษณะที่เป็นแบบไทย เริ่มตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ยุคที่ 3 ช่วงประมาณรัชสมัย พระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2173-2198)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช(พ.ศ. 2199-2231) ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์หมิงตอนปลาย โดยเฉพาะใน สมัยพระเจ้าวั่นลี่ และต่อเนื่องจนถึงสมัยราชวงศ์ชิง การสั่งทำจากประเทศจีนในสมัยนั้นได้สั่งทำเป็นโถปริก และโถฝาขนาดกลาง เขียน เป็นลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพนม ลายนรสิงห์ และยังมีที่เป็นลวดลายของจีน เช่น ลายเทพนมจีน (เทวดาท้องพลุ้ย) มีพื้นสี ต่างๆ เช่น เหลือง ชมพู ม่วงอ่อน เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยมีทั้งสั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและ กวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมี ฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม
    <TABLE width="96%" border=0><TBODY><TR><TD width="70%">ส่วนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จะเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เขียนลายด้วยวิธีลงยาเช่น เดียวกันกับเครื่องเบญจรงค์ แต่จะใช้สีทองที่ทำจากทองคำ ในอดีตเริ่มต้นมาจากการสั่งทำจากประ เทศจีนเช่นเดียวกัน โดยลายน้ำทองนี้ นิยมในประเทศจีน ในสมัยราชวงศ์ชิง ใน รัชสมัยของพระเจ้า คังซี (พ.ศ. 2205-2266) และพระเจ้าหย่งเจิ้น (พ.ศ. 2266-2279) ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชจนถึงรัชสมัยพระเจ้าท้ายสระ </TD><TD width="30%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ซึ่งในสมัยนี้มีการสั่งทำเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จากประเทศญี่ปุ่นด้วย เครื่องถ้วยลายน้ำทองได้รับความนิยมมากในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตน โกสินทร์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • t1.gif
      t1.gif
      ขนาดไฟล์:
      21.6 KB
      เปิดดู:
      1,599
    • t2.jpg
      t2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.8 KB
      เปิดดู:
      1,790
    • t3.gif
      t3.gif
      ขนาดไฟล์:
      18.5 KB
      เปิดดู:
      1,824
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja3.htm

    วิธีการทำเครื่องเบญจรงค์
    [​IMG] กรรมวิธีการผลิต หรือการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่องเบญจรงค์ มีความสำคัญอย่างยิ่ง ผู้ผลิตต้องมี ความชำนาญ มีความรู้ความสามารถ เข้าใจในเทคนิคต่างๆ อย่างเพียงพอ ในการผลิตเครื่องเบญจรงค์ แต่ละชนิด รวมไปถึงอุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ ที่ช่วยในการผลิต กระบวนการผลิตจนได้เครื่องเบญ จรงค์มีสองงขั้นตอนหลักๆคือการผลิตเซรามิคของขาว หรือเครื่องขาว และกระบวนการเขียนลา ยเครื่องเบญจรงค์
    <TABLE width="95%" border=0><TBODY><TR><TD width="96%" height=268>เครื่องขาว หรือของขาว ที่นำมาผลิตเป็นเครื่องเบญจรงค์ เครื่องขาว หรือของขาว จะเป็นภาชนะรูปทรงต่างๆ มีสี ขาว อาทิเช่น โถประดับ จาน ชาม แก้วน้ำ หม้อ ข้าว ขันข้าว แจกัน ชุดน้ำชา และกาแฟ เป็นต้น ลักษณะการเคลือบของของขาวนั้นมี 2 ลักษณะ คือ เคลือบ เงา และเคลือบด้าน ซึ่งเมื่อนำมาผลิตเป็นเครื่องเบญจรงค์แล้ว จะให้ความสวยงามที่แตก ต่างกันไป เครื่องขาว หรือของขาวนี้ สามารถซื้อได้จากโรงงานในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุ ทรสาคร จังหวัดสระบุรี ราคารับซื้อขึ้นอยู่กับแบบ และขนาดของเครื่องขาวที่ใช้
    [​IMG]
    </TD><TD width="4%"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    วัตถุดิบ และเนื้อดินที่ใช้ในการผลิตเครื่องขาวเพื่อทำเครื่องเบญจรงค์ ; วัตถุดิบมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการผลิต ในการตอบสนองให้งานที่ผลิตขึ้นเป็น ไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน และเป็นไปตามความต้องการของผู้ผลิต รวมทั้งมี ประสิทธิภาพสูง ความเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ในเรื่องของวัตถุดิบที่นำมาใช้งาน ก่อให้ เกิดการพัฒนากรรมวิธีการผลิต การออกแบบ และการสร้างผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ขึ้นได้ วัตถุดิบที่นำมา ใช้ทำเครื่องเบญจรงค์ จะประกอบด้วย วัตถุดิบที่มีความเหนียว วัตถุดิบที่ไม่มีความเหนียว และวัตถุดิบอื่นๆ มีดังนี้
    1.วัตถุดิบที่มีความเหนียว วัตถุดิบประเภทนี้ได้แก่ดิน ชนิดต่างๆ ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างกัน แต่ที่เหมาะแก่การนำมาผลิตเครื่องปั้น และเครื่องเบญจรงค์ ได้แก่
    ดินเกาลิน (Kaolin หรือ China Clay) ดินชนิดนี้บางแห่ง เรียกว่า ดินขาว เกิดจากจากการแปรสภาพของ หินแกรนิตเป็นหินฟันม้า มีความบริสุทธิ์สูง เนื้อดินหยาบ สีขาวหม่น มีความเหนียว น้อย หดตัวน้อย ทนความร้อนได้สูง ระหว่าง 1,400-1,500 องศาเซลเซียส
    ดินเหนียว (Ball clay) ดินชนิดนี้บางแห่งเรียกว่า ดินดำ เป็นดินที่เกิดจากการ ชะล้างดินเกาลิน โดยธรรมชาติ มีแร่เหล็กปนอยู่ค่อนข้างสูง กับมีสารอินทรีย์ปนอยู่บ้าง เนื้อดินละเอียด สีคล้ำ มีควา ม เหนียว จุดหลอมละลายระหว่าง 1,300-1,400 องศาเซลเซียส เมื่อเผาสุกแล้วผลิตภัณฑ์จะมีสีขา วหม่นหรือสีเนื้อ เหมาะแก่การทำเครื่องปั้นประเภทเนื้อดิน และเนื้อแกร่ง หรือใช้ผสมกับดินเกาลินใ ห้เนื้อดินแข็งและเหนียวขึ้น เพื่อใช้ทำเครื่องปั้นประเภทเครื่องกระเบื้อง
    <TABLE width="104%" border=0><TBODY><TR><TD width="94%">ดินขาวเหนียว (Plastic clay) เกิดจากการผุกร่อนของหิน เนื้อดิน ละเอียด สีเนื้อ หรือสีเทา มีความเหนียว มักใช้ผสมกับดินชนิดอื่น เพื่อให้ขึ้นรูปทรงได้ง่าย
    ดินแดง (Red clay หรือ Surface clay) เป็นดินที่มีความเหนียวมาก มีเหล็ก และแอลคาไล (alkali) ผสมอยู่ในเนื้อดินค่อนข้างสูง เนื้อดินสีเทาแก่ สีน้ำตาลแก่ สีน้ำ ตาลอ่อน มักนำไปทำกระเบื้อง มุงหลังคา โอ่ง ไห ครก หม้อดิน กระถางต้นไม้ เป็นต้น เมื่อ นำไปทำผลิตภัณฑ์อาจต้องผสมทรายเพื่อป้องกันการแตกตัว
    [​IMG]


    </TD><TD width="6%"></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ดินสีเทา หรือดินสโตนแวร์ (Stoneware clay) เป็นดินที่มีความ เหนียว เนื้อดินเป็นสีเทาอ่อน สีเทาแก่ หรือสีน้ำตาลเข้ม เมื่อนำไปทำผลิตภัณฑ์ สามารถ ขึ้นรูปได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขึ้นรูป โดยใช้แป้นหมุน ทนความร้อนสูง ระหว่าง 1,200-1,500 องศาเซลเซียส ดินชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ทำผลิตภัณฑ์ประเภทเคลือบไฟแรงสูง
    ดินทนไฟ (Fire clay) เป็นดินเนื้อค่อนข้างหยาบ มีซิลิกา และอะลูมินาผสมอยู่มาก ดินมีสีน้ำตาลอ่อน สีเทา หรือสีคล้ำ มีความเหนียวมาก ทนความร้อนสูงถึง 1,500 องศาเซลเซียส โดยไม่เปลี่ยนสภาพ ส่วนใหญ่จึงนำไปใช้ทำวัสดุทนไฟ เช่น ทุ่นทนไฟสำหรับวัดอุณหภูมิในเตาเผา อิฐทนไฟ ชิ้นส่วนของเตาเผา เป็นต้น
    2.วัตถุดิบที่ไม่มีความเหนียว เป็นวัตถุที่นำมาใช้ผสมลงไปในเนื้อดินที่นำมาปั้นผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็นส่วนผสมของน้ำเคลือบ ซึ่งได้แก่ หินประเภทต่างๆ หินที่นำมาใช้งานดังกล่าว ได้แก่
    หินฟันม้า (Flespar) เกิดจากการแปรสภาพของหินแกรนิต เป็นหินแข็ง ทึบแสง มีสีขาว สีชมพู มีความแตกต่างกันแยกได้หลายชนิด มักนำมาใช้ผสมในเนื้อดินเพื่อปั้นผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็นส่วนผสมในน้ำเคลือบ
    หินเขี้ยวหนุมาน (Quartz) เป็นผลึกของซิลิกา มีความแข็งย่อยสลายมาก มีความบริสุทธิ์สูง เมื่อนำมาบดละเอียดหรือเผาใช้ผสมในเนื้อดินเพื่อปั้นผลิตภัณฑ์จะทำให้เนื้อดินลดการหดตัวทนไฟสูง ทำให้ผลิตภัณฑ์โปร่งใส ทั้งยังใช้ผสมในน้ำเคลือบ ทำให้เคลือบเป็นมัน ทนการกัดกร่อนได้ดี
    หินไฟโรฟิลไลท์ (Pyrophylite) เป็นหินไม่แข็งมากนัก มีสีเทา สีเทาปนแดง เมื่อนำไปผสมในเนื้อดินปั้นผลิตภัณฑ์ทำให้มีความทนไฟสูง และลดการบิดเบี้ยวของตัวผลิตภัณฑ์ได้ดี ทั้งยังใช้ผสมในน้ำเคลือบเพื่อเพิ่มความหนืด และความทนไฟด้วย ทราย (Sand) ทรายส่วนมากประกอบไปด้วยแร่ซิลิกา เมื่อนำไปผสมในเนื้อดินปั้นผลิตภัณฑ์ จะทำให้เพิ่มความแข็งแรงแก่ตัวผลิตภัณฑ์ยิ่งขึ้น
    3.วัตถุดิบอื่น ในการทำผลิตภัณฑ์เครื่องปั้น ยังได้ใช้วัตถุดิบอื่นผสมลงในเนื้อดินปั้นหรือน้ำเคลือบ เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่ใช้งานของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด วัตถุดิบดังกล่าวมีดังนี้
    เถ้ากระดูก (Bone Ash) ได้จากการเผากระดูก มีส่วนผสมของแคลเซียมฟอสเฟต และแคลเซียมคาร์บอเนต นำไปผสมในเนื้อดินปั้นเป็นตัวช่วยในการหลอมละลาย ทำให้ผลิตภัณฑ์มีความโปร่งแสง
    ทัลค์ (Talc) เมื่อนำไปผสมในเนื้อดินปั้นผลิตภัณฑ์ จะทำให้เนื้อดินลดความเหนียวลง มีผลให้ขึ้นรูปยาก แต่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ทนไฟสูง ทนต่อด่าง เพิ่มความต้านทานกระแสไฟฟ้าได้ดี จึงมักใช้ผสมในเนื้อดิน เพื่อทำลูกถ้วยไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ฉนวนไฟฟ้า กระเบื้องเคลือบห้องน้ำ เป็นต้น
    เซอร์คอน (Zircon) มีคุณสมบัติทนความร้อนได้สูงระหว่าง 1,500-1,800 องศาเซลเซียส จึงมักใช้ผสมในเนื้อดินเพื่อใช้ทำวัตถุทนไฟ ทำหรือผสมในน้ำเคลือบทำให้เป็นเคลือบสีขาวทึบแสง
    สารประกอบอะลูมินา (Alumina) หมายถึงสารที่มีส่วนประกอบของอะลูมินาสูง ได้แก่ คอรันดัม บอกไซท์ กิบไซท์ และไดอะทอไมท์ เป็นต้น อะลูมินาเป็นสารที่ทนความร้อนได้ถึงอุณหภูมิ 2,050 องศาเซลเซียส ดังนั้นในการผลิตวัตถุทนไฟ จึงมักนำเอาสารที่มีส่วนประกอบของอะลูมินามาผสมใช้ทำผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
    กระบวนการผลิตและเขียนลายเครื่องเบญจรงค์ ในการผลิตจะเริ่มเขียนวนทองเพื่อเป็นเส้นนำลาย ส่วนในลวดลายที่มีรายละเอียดสูง เช่นลายประเพณีไทย หรือลวดลายที่เป็นเรื่องราวในวรรณคดี ต้องมีการลอกลาย หรือร่างเส้นบนพื้นผิว ของขาว ก่อนจะลงลายน้ำทอง หรือตัดเส้นหลักก่อน แล้วเริ่มเขียนลายตามต้องการด้วยน้ำทอง
    ทิ้งไว้ให้แห้ง เมื่อแห้งดีแล้ว จะนำมาลงสีตามลายที่เขียนทองไว้จนครบ การลงสีต้องไม่หนาจนเกินไป เพราะจะทำให้สีหลุดง่าย และต้องไม่บางจนเกินไป เพราะจะทำให้สีจางได้ง่ายอความเร็วในการทำงาน การลงสีนี้ อาจจำเป็นต้องใช้ช่างฝีมือหลายคน หากชิ้นงานมีรายละเอียดมากๆ ต้องมีการจัดแบ่งส่วนในการลงสีกัน ต่อมาจะทำการเก็บรายละเอียดต่างๆ และวนทองตามส่วนต่างๆ อีกครั้ง เช่น หูแก้ว ขอบโถ เป็นต้น

    ในบางกลุ่มผู้ผลิต อาจมีเทคนิคพิเศษ ด้วยการลงสีพื้น ก่อน การตัดเส้นหลักและลงสีลาย ทำให้ได้ชิ้นงาน ที่มีความสวยงามแปลกออกไป ส่วนผสมบางอย่างนี้ อาจเป็นส่วนผสมเฉพาะตัวของกลุ่มผู้ผลิตบางกลุ่มเท่านั้น จากนั้น นำเข้าเตาเผา โดยเผาในอุณหภูมิประมาณ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลาเผาประมาณ 4 -5 ชั่วโมง เมื่อเตาเย็น จึงนำเครื่องเบญจรงค์ออกมา และวางรอไว้จนอุณหภูมิเย็นลงในอุณหภูมิปกติ
    ในส่วนของการควบคุมอุณหภูมิในการเผาก็ มีความสำคับเช่นกัน เพราะสีบางสี ที่ใช้ในการเขียนลาย อาจซีดหรือจางลง หรืออาจมีการผิดเพี้ยนไปได้ หาก ควบคุมอุณหภูมิได้ไม่คงที่ เช่นมาก หรือสูงเกินไป ส่วนนี้ มีการทดลองเก็บข้อมูลจากหลากหลายประสบการณ์ของกลุ่มผู้ผลิต
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm

    ประเภทเครื่องเบญจรงค์
    เครื่องเบญจรงค์หมายถึงเครื่องปั้นดินเผาเคลือบ เขียนลายโดยลงยาด้วยสีต่างๆ นอกจากสีหลักทั้ง 5 อันมีสีดำ ขาว เหลือง แดง และเขียว(หรือคราม) ยังมีสีรองอย่างชมพู ม่วง น้ำตาล แสด มาเสริมสวย เป็นเครื่องถ้วยที่ต้องใช้ฝีมือสูง ต้องละเอียด ประณีต จากเครื่องใช้ในรั้วในวังถึงปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ยังได้รับความนิยมโดยเฉพาะในแง่เป็นตัวแทนแสดงความเป็นไทย (แม้รากฐานจะเป็นของจีนก็ตาม) ลายยอดนิยมคือลายกระหนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพนม นรสิงห์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      40.7 KB
      เปิดดู:
      95
    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      17.5 KB
      เปิดดู:
      81
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33 KB
      เปิดดู:
      78
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.9 KB
      เปิดดู:
      76
    • d.jpg
      d.jpg
      ขนาดไฟล์:
      18.1 KB
      เปิดดู:
      89
    • dfg.jpg
      dfg.jpg
      ขนาดไฟล์:
      42.1 KB
      เปิดดู:
      78
    • eer.jpg
      eer.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.9 KB
      เปิดดู:
      95
    • ffh.jpg
      ffh.jpg
      ขนาดไฟล์:
      21.4 KB
      เปิดดู:
      71
    • ffn.jpg
      ffn.jpg
      ขนาดไฟล์:
      61.5 KB
      เปิดดู:
      77
    • ggd.jpg
      ggd.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.9 KB
      เปิดดู:
      63
    • ggh.jpg
      ggh.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.2 KB
      เปิดดู:
      77
    • iiig.jpg
      iiig.jpg
      ขนาดไฟล์:
      42.1 KB
      เปิดดู:
      68
    • kky.jpg
      kky.jpg
      ขนาดไฟล์:
      37.7 KB
      เปิดดู:
      70
    • ld001.jpg
      ld001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      26.3 KB
      เปิดดู:
      85
    • ld007.jpg
      ld007.jpg
      ขนาดไฟล์:
      19.1 KB
      เปิดดู:
      73
    • mjn.jpg
      mjn.jpg
      ขนาดไฟล์:
      26.8 KB
      เปิดดู:
      65
    • mmj.jpg
      mmj.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.4 KB
      เปิดดู:
      72
    • ok.jpg
      ok.jpg
      ขนาดไฟล์:
      42.4 KB
      เปิดดู:
      75
    • rrt.jpg
      rrt.jpg
      ขนาดไฟล์:
      58.6 KB
      เปิดดู:
      60
    • s.jpg
      s.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.7 KB
      เปิดดู:
      78
    • tth.jpg
      tth.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.2 KB
      เปิดดู:
      90
    • ty.jpg
      ty.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.8 KB
      เปิดดู:
      60
    • yyh.jpg
      yyh.jpg
      ขนาดไฟล์:
      21.1 KB
      เปิดดู:
      66
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm

    เครื่องเบญจรงค์ลายคราม
    <TABLE width="105%" border=0><TBODY><TR><TD width="27%">
    [​IMG]
    จานลายครามลายเกล็ดเต่า

    </TD><TD width="31%">
    [​IMG]
    ชามลายครามลายกวางดาว

    </TD><TD width="42%">[​IMG]
    จานลายครามลายดอกเบญจมาสก้านขด

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    จานลายครามลายนกไก่ฟ้า

    </TD><TD>
    [​IMG]
    ตลับพร้อมฝาลายคราม

    </TD><TD>
    [​IMG]
    ไหทรงก่วนลายครามลายดอกโบตั๋น

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm

    เครื่องเบญจรงค์เครือบสีเดียว
    <TABLE width="75%"><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    ไหทรงสูง

    </TD><TD>
    [​IMG]
    คนโทเขียวลายสีดำใต้เคลือบ

    </TD><TD>
    [​IMG]
    คนทีเขียนลายสีดำใต้เคลือบ

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    ไหเคลือบสองสี

    </TD><TD>
    [​IMG]
    คนโทเคลือบสีเขียว

    </TD><TD>
    [​IMG]
    กลุ่มกระปุกเขียนลายสีดำใต้เคลือบ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ก็ก๋วยเตี๋ยวเขาน่าทานไปหมดจริงๆ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คุณnongnooo เป็นยังไงบ้างครับ ผมว่าแพงมากนะครับ

    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    คุณเพชรแอบไปท่องร้านก๋วยเตี๋ยวมาครับ ผมไม่ค่อยอยากไปซักเท่าไร ไปครั้งไหนก็หิวววววววววววววววววววววววว ทุกครั้งไป

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width="100%">palungjit.org > ทั่วไป </TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG] ท่องเที่ยว - อาหารการกิน </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder id=threadslist cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY id=threadbits_forum_76><TR><TD class=alt1 id=td_threadtitle_29074 title="<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=5 width=641 align=center border=0><TBODY><TR><TD height=96><a href=" target="_blank" href="http://www.manager.co.th" <a Travel images>www.manager.co.th http: ? h_noodle.gif><A href="http://www.manager.co.th/Travel/images/h_noodle.gif" target=_blank>http://www.manager.co.th/Travel/images/h_noodle.gif <A href="http://www.manager.co.th/Travel/Travel_Food1.aspx" target=_blank>http://www.manager.co.th/Travel/Travel_Food1.aspx </TD></TR><TR><TD style="CURSOR: default" background='images/noodle_bg.jpg..."'>แนะนำ <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074" target=_blank>รวมก๋วยเตี๋ยว ที่ไม่ธรรมดา ([​IMG] <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074" target=_blank>1 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=2" target=_blank>2 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=3" target=_blank>3 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=4" target=_blank>4 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=5" target=_blank>5 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=6" target=_blank>6 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=7" target=_blank>7 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=8" target=_blank>8 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=9" target=_blank>9 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=10" target=_blank>10 <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=11" target=_blank>11)
    [​IMG] sithiphong
    </TD><TD class=alt2 title="จำนวนตอบ: 217, จำนวนอ่าน: 16,597">วันนี้ 07:10 AM
    โดย <A href="http://palungjit.org/member.php?find=lastposter&t=29074" target=_blank>:::เพชร::: <A href="http://palungjit.org/showthread.php?p=884876#post884876" target=_blank>[​IMG]

    </TD><TD class=alt1 align=middle><A href="http://palungjit.org/forumdisplay.php?f=76#" target=_blank>217</TD><TD class=alt2 align=middle>16,597</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=11" target=_blank><A href="http://palungjit.org/showthread.php?t=29074&page=11" target=_blank>http://palungjit.org/showthrea...=29074&page=11
    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มาทำให้อยาก(กิน)แล้วก็จากไป แต่เช้าเลยน๊ะคุณเพชร

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นี่ก็มาทำให้อยาก(ได้)แล้วก็จากไปเหมือนกันเลย

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่าน ผมได้ลายแทงสัญญลักษณ์มาบางส่วนแล้วครับ


    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post886714 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 12:08 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #12996 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>:::เพชร:::<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_886714", true); </SCRIPT>
    สมาชิก
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 10:26 AM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 42 ปี
    ข้อความ: 2,210 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 15,175 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 22,337 ครั้ง ใน 2,269 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 2469 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_886714 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->งานบุญส่งท้ายปีเก่านี้ ท่านใดสนใจร่วมบุญธรรมทานกันก็ขอเชิญนะครับ ผมจะพิมพ์หนังสือ"พระราชประวัติกรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาท" ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ท่านผู้ใหญ่ท่านหนึ่งได้จัดพิมพ์ถวายไว้ที่ศาลวังหน้า และได้หมดลงในเวลาอันรวดเร็ว ขณะนี้มีบล๊อกพิมพ์อยู่ที่โรงพิมพ์ซึ่งพี่ท่านหนึ่งได้ติดต่อไว้ได้ในราคาพิเศษสุดคือเล่มละ ๒๐ บาท ภายในเล่มจะกล่าวถึงเรื่องราวของกรมพระราชวังบวรทั้ง ๕ พระองค์ แต่เน้นมหาอุปราชวังหน้าองค์แรก เสียดายที่ผมยังอ่านไม่จบ หนังสือก็สูญหายไป ดังนั้นจึงคิดจะพิมพ์ถวายศาลวังหน้า หรือที่รู้จักกันว่า ศาลเทพารักษ์ หากเพื่อนท่านใดยังไม่เคยได้ไปกราบสักการะบูชาก็สามารถไปได้นะครับ อยู่ถนนเศรษฐศิริ ศาลนี้แปลกมากครับ บางท่านขับรถผ่านไปมา อาจไม่ได้สังเกตุ ภายในเป็นที่สถิตย์ดวงพระวิญญาณของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลทั้ง ๕ พระองค์ หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร(รูปที่ตั้งภายในจะเป็นรูปหล่อของหลวงปู่อิเกสาโร) ซึ่งผมจะปิดรับการสั่งพิมพ์หนังสือในวันที่ ๒๘ นี้เท่านั้นหลังจากนี้ขอสงวนสิทธิ์การรับจองสั่งพิมพ์แล้วนะครับ และจะสรุปยอดสั่งพิมพ์ทั้งหมดกับทางโรงพิมพ์ในวันที่ ๒๙ ธ.ค. ๒๕๕๐ นี้เท่านั้น เพื่อทางโรงพิมพ์สามารถดำเนินการประมาณ ๒ อาทิตย์ หนังสือทั้งหมดจะถวายไว้ที่ศาลวังหน้าทั้งหมดช่วงกลางเดือนม.ค.หรือต้นเดือนก.พ. ๒๕๕๑ ครับ...


    สามารถร่วมบุญตามความสบายใจ จำนวนตามความต้องการได้ โดยการโอนเข้าบัญชีของผมไว้ก่อนที่บัญชีอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ ไทยพาณิชย์ สาขาซอยไชยยศ ออมทรัพย์ เลขที่ 040-2-25999-6 และจะโอนออกทั้งหมดไปที่โรงพิมพ์อีกครั้ง ข้อมูลการรับโอนเงินจะถูกลบทิ้งหมดในช่วงค่ำของวันที่ ๒๘ ธ.ค. นี้ครับถือว่าจบกิจของธรรมทานก่อนสิ้นปีได้ทันอีกงานหนึ่ง ผู้ร่วมบุญธรรมทานนี้รบกวนช่วยแจ้งชื่อ-นามสกุล และจำนวนเล่มที่สั่งพิมพ์ทาง PM ด้วยนะครับ เพื่อสามารถบันทึกไว้ท้ายเล่ม หลังจากถวายทั้งหมดแล้ว ผมจะขอ รับมอบจากทางศาลวังหน้า มามอบให้ท่านละ ๑ เล่มเพื่อเป็นความรู้ และเป็นที่ระลึกการร่วมบุญกันครับ...
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    โมทนาสาธุครับคุณเพชร

    .
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%...B8%B5%E0%B8%99)

    ตำนาน 12 นักษัตร (จีน)

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    Jump to: navigation, ค้นหา
    <!-- start content -->ตำนาน 12 นักษัตร เป็นตำนานที่เล่าขานกันมาช้านานตั้งแต่โบราณกาลของจีน โดยเล่าความเป็นมาของปีนักษัตร ซึ่งเป็นแนวคิดการนับปีของหลายเชื้อชาติ รวมทั้งจีน ไทย เวียดนาม เป็นต้น ตำนานของจีนเรื่องเล่าเรื่องนี้ไว้ว่า
    กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว เทวดาพูดกับสัตว์ทั้งหลายว่า
    "ใกล้ปีใหม่แล้ว รุ่งเช้าวันชิวอิก ( คือ วันที่ 1 เดือน 1 ตามจันทรคติของจีน) เชิญท่านทั้งหลายมาอวยพรปีใหม่ ข้าพเจ้าจะกำหนด 12 นักษัตรตามลำดับ จากท่านที่เดินทางมาถึงอันดับที่ 1 ถึง 12 ตั้งแต่นี้ไป ในแต่ละปีก็จะมีสัตว์ 1 ตัวเป็นนักษัตร"
    สัตว์ทั้งหลายต่างจดจำวันดังกล่าวไว้ได้อย่างแม่นยำ มีแต่แมวขี้เกียจเท่านั้นที่จำไม่ได้จึงไปถามหนู
    "เป็นวันชิวยี่จ๊ะ ( วันที่ 2 เดือน 1 ) "
    ซึ่ง วันส่งท้ายตรุษจีนมาถึงอย่างรวดเร็ว เจ้าวัวรู้ตัวว่าเดินช้า จึงออกเดินท่างตั้งแต่เที่ยงคืน พอเจ้าหนูเห็น ก็เลยกระโดดขึ้นหลังวัว เมื่อมาถึงเช้าวันชิวอิก วัวก็เดินทางไปถึงก่อนใครๆ และเมื่อวัวส่งเสียงเรียก เทวดาก็ออกมาเปิดประตูให้ เจ้าหนูรีบกระดดดลงมาจากหลังวัวและวิ่งไปหาเทวดา
    "เจ้าหนู ยินดีต้อนรับ เจ้ามาถึงเช้าที่สุด นักษัตรที่ 1 คือเจ้า"
    ด้วย เหตุนี้ หนู (ชวด) ถึงถูกจัดให้อยู่นอันดับแรกของนักษัตร วัว (ฉลู) อยู่ในอันดับ 2 แล้วตามด้วยเสือ (ขาล) กระต่าย (เถาะ) มังกร (มะโรง) งู (มะเส็ง) ม้า (มะเมีย) แพะ (มะแม) ลิง (วอก) ไก่ (ระกา) สุนัข (จอ) และหมู (กุน) ซึ่งก็ว่ากันว่ากามรลำดับ 12 นักษัตร เป็นอันสิ้นสุด

    ในวัน ที่ 2 เจ้าแมวจึงตามมา แต่ก็สายไปแล้ว เพราะถูกหนูหลอก จึงแค้นใจมาก นับแต่นั้นเป็นต้นมา เมื่อแมวเห็นหนูก็จะไล่จับทันที เทวดาก็เลยสั่งให้เจ้าหนูมักหลบซ่อนในถ้ำหรือซอกรูเล็กๆ ตั้งแต่นั้นมา

    http://palungjit.org/showthread.php?t=80127

    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%...B8%95%E0%B8%A3

    ปีนักษัตร

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    Jump to: navigation, ค้นหา
    <!-- start content -->ปีนักษัตร (ออกเสียง นัก-สัด) เป็นปีตามปฏิทินสุริยคติไทย โดยการนับรอบละ 12 ปี อันเป็นคติการนับปีที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภูมิภาคเอเชีย ทั้งชาวไทย จีน และเวียดนาม เป็นต้น ปีนักษัตร 12 ปีนั้น มีดังนี้

    <DL><DD>ชวด, ฉลู, ขาล, เถาะ, มะโรง, มะเส็ง, มะเมีย, มะแม, วอก, ระกา, จอ, และ กุน โดยเริ่มต้นนับที่ปีชวด </DD></DL>

    [แก้] สัตว์ประจำปีนักษัตร

    ปีนักษัตรจะมีสัตว์ประจำปี (อันเป็นความหมายของชื่อปีนั้น ๆ นั่นเอง) สัตว์ประจำปีนักษัตรที่นิยมใช้ในหมู่ชาวไทย มีดังนี้
    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TD>ปี</TD><TD>ชวด</TD><TD>ฉลู</TD><TD>ขาล</TD><TD>เถาะ</TD><TD>มะโรง</TD><TD>มะเส็ง</TD><TD>มะเมีย</TD><TD>มะแม</TD><TD>วอก</TD><TD>ระกา</TD><TD>จอ</TD><TD>กุน</TD></TR><TR><TD>สัตว์</TD><TD>หนู</TD><TD>วัว</TD><TD>เสือ</TD><TD>กระต่าย</TD><TD>งูใหญ่</TD><TD>งูเล็ก</TD><TD>ม้า</TD><TD>แพะ</TD><TD>ลิง</TD><TD>ไก่</TD><TD>สุนัข</TD><TD>สุกร</TD></TR></TBODY></TABLE>หมายเหตุ : สำหรับปีกุนนั้น บางชาติใช้ช้างแทนสุกร ก็มี

    [แก้] ปีนักษัตรในภาษาต่างๆ

    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TH>ภาษาไทย</TH><TH>ภาษาบาลี</TH><TH>ภาษาไทยยวน</TH><TH>ภาษาไทลื้อ</TH><TH>ภาษาไทใหญ่</TH><TH>ภาษาจีน</TH><TH>ภาษาเวียดนาม</TH></TR><TR><TD>ชวด</TD><TD>มุสิก</TD><TD>ใจ้</TD><TD>ใจ้</TD><TD>เจ้อ-อี</TD><TD>จื๋อ</TD><TD>ตี๊</TD></TR><TR><TD>ฉลู</TD><TD>อุสุภ, อุสภ</TD><TD>เป้า</TD><TD>เป้า</TD><TD>เป้า</TD><TD>โฉว</TD><TD>สือ-ว</TD></TR><TR><TD>ขาล</TD><TD>พยาฆร, พยัฆะ, วยาฆร, พยคฆ</TD><TD>ยี</TD><TD>ยี</TD><TD>ยี</TD><TD>เหย็น</TD><TD>เหยิ่น</TD></TR><TR><TD>เถาะ</TD><TD>สะสะ, สัศ</TD><TD>เม้า</TD><TD>เหม้า</TD><TD>เหม้า</TD><TD>เหมา</TD><TD>หม่าว</TD></TR><TR><TD>มะโรง</TD><TD>มังกร, นาค, สงกา</TD><TD>สี</TD><TD>สี</TD><TD>สี</TD><TD>เฉิน</TD><TD>ถิ่น</TD></TR><TR><TD>มะเส็ง</TD><TD>สัป, สปปก</TD><TD>ใส้</TD><TD>ใส้</TD><TD>เส้อ-อื</TD><TD>ซื่อ</TD><TD>ติ</TD></TR><TR><TD>มะเมีย</TD><TD>ดุรงค, อัสส, อัสดร</TD><TD>สง้า</TD><TD>สะงะ</TD><TD>สีงะ</TD><TD>อู๋</TD><TD>หง่อ</TD></TR><TR><TD>มะแม</TD><TD>เอฬกะ, อัชฉะ</TD><TD>เม็ด</TD><TD>เม็ด</TD><TD>โมด</TD><TD>วี่</TD><TD>หมุ่ย</TD></TR><TR><TD>วอก</TD><TD>มกฏะ, กปิ</TD><TD>สัน</TD><TD>แสน</TD><TD>สัน</TD><TD>เซิน</TD><TD>เทิน</TD></TR><TR><TD>ระกา</TD><TD>กุกกุฎ, กุกกุฏ</TD><TD>เล้า</TD><TD>เล้า</TD><TD>เฮ้า</TD><TD>โหยว</TD><TD>เหย่า</TD></TR><TR><TD>จอ</TD><TD>โสณ, สุนัข</TD><TD>เส็ด</TD><TD>เส็ด</TD><TD>เม็ด</TD><TD>โก่ว</TD><TD>ต๊วด</TD></TR><TR><TD>กุน</TD><TD>สุกร, วราห, กุญชร</TD><TD>ใก๊</TD><TD>ใก๊</TD><TD>เก้อ-อื</TD><TD>ฮ่าย</TD><TD>เห่ย</TD></TR></TBODY></TABLE>ชาวไทยนิยมนับปีด้วยปีนักษัตรมาช้านาน แต่เนื่องจากปีนักษัตรมีรอบเพียง 12 ปี ซึ่งสั้นเกินไป จึงมักจะใช้เลขท้ายปีจุลศักราชมาประกอบด้วย (อ่านเพิ่มเติม ที่ ปฏิทินสุริยคติไทย)

    [แก้] ดูเพิ่ม <TABLE class=toccolours style="POSITION: relative" cellPadding=3 rules=cols align=center border=1><TBODY><TR><TD style="BACKGROUND: lightskyblue" align=middle colSpan=12>ปีนักษัตร</TD></TR><TR align=middle><TD>ชวด</TD><TD>ฉลู</TD><TD>ขาล</TD><TD>เถาะ</TD><TD>มะโรง</TD><TD>มะเส็ง</TD><TD>มะเมีย</TD><TD>มะแม</TD><TD>วอก</TD><TD>ระกา</TD><TD>จอ</TD><TD>กุน</TD></TR><TR align=middle><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- / message --><!-- sig -->


    ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ติดตามได้ในกระทู้หยก 12 นักษัตร อีกหนึ่งงานฝีมือของช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า

    http://palungjit.org/showthread.php?t=80127

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ปีใหม่นี้จะถ่ายภาพใหม่อีกครั้ง ทำให้อยากแล้วจากไป หากอยู่ถึง ๑๐๘ ปีได้ รับรองได้ใช้หยก ๑๒ ชิ้นนี้ครบทุกชิ้นอย่างแน่นอน..
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.youyim.com/dspimgread.asp?id=2358

    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เทศกาลตรุษจีน</B>[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]" ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดใช้"

    ในช่วงเทศกาลตรุษจีน ประโยคหนึ่งที่เราได้ยินกันอยู่จนชินนั้นก็คือ "ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดใช้" ซึ่งเป็นคำอวยพรที่แปลเป็นไทยได้ว่า "ขอให้โชคดีปีใหม่" นั่นเอง

    ตามความเชื่อ ชาวจีนจะถือเอาวันที่ 1 เดือน 1 ทางจันทรคติของจีนเป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งวันนี้จะตรงกับวันแรกของฤดูใบไม้ผลิทำให้วันตรุษจีนมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันชุงเจ๋" อีกด้วย

    ตามธรรมเนียม ก่อนถึงวันสิ้นปี ชาวจีนจะทำความสะอาดบ้านของตนขนานใหญ่และพอถึงช่วงเทศกาล ก็จะหยุดทำงาน ทำกิจการการค้าเพื่อทำพิธีไหว้เจ้าที่ โดยต้องไหว้กันถึง 2 วันซ้อน (ซึ่งมีไหว้กลางดึกด้วย) และนอกจากนี้ยังใช้ช่วงเวลานี้ไปเยี่ยมไหว้คารวะญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือและเที่ยวผักผ่อนกันด้วย โดยเรียกวันต่างๆ ในช่วงเทศกาลดังนี้

    วันจ่าย คือ วันก่อนวันสิ้นปี 1 วันซึ่งชาวจีนจะต้องหาซื้อของต่างๆ เตรียมไว้ให้เสร็จในวันนี้ก่อนที่ร้านค้าจะหยุดยาว

    วันไหว้ คือ การไหว้ในวันสิ้นปี โดยในตอนเช้าจะเป็นการไหว้เจ้าที่ ต่อมาในตอนสายจะเป็นการไหว้บรรพบุรุษ และบางบ้านอาจมีการไหว้ผีไม่มีญาติในตอนบ่ายอีกด้วย นอกจากนี้สำหรับผู้ที่เคร่งครัดธรรมเนียมมากๆ จะมีการไหว้ในวันตรุษจีนอีกซึ่งเรียกว่า การไหว้วันชิวอิด ซึ่งจะเป็น การไหว้ตามฤกษ์ยามที่ระบุไว้ใน "แหล่ยิกเท้า" ว่าจะต้องไหว้ "ไช้ซิ้งเอี๊ย" (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ในเวลาอะไร ตั้งโต๊ะ อย่างไรด้วยทั้งนี้เพื่อขอพรจากเทพเจ้าเพื่อให้ครอบครัวประสบโชคดีตลอดปี

    ั วันถือ คือ วันตรุษจีน โดยในวันนี้ทุกคนจะพูดและทำแต่ในสิ่งที่ดีๆ ที่เป็นมงคล ในวันนี้ยังถือเป็นวันเที่ยว มีการแจกแต๊ะเอีย และมีการพากันไปไหว้คารวะญาติผู้ใหญ่เรียกว่า "ไป๊เจีย" มีการนำส้ม 4 ผลมาแลกกันด้วยเนื่องจากชาวจีนถือว่า การแลกส้มเป็นการเอาโชคดีมามอบให้แก่กัน และบางบ้านอาจเตรียมขนมอี๊ (บัวลอยของจีน) ไว้เลี้ยงแขกที่มาเยี่ยมด้วย โดยขนมอี๊นี้มีความหมายว่า ขอให้โชคดี คิดทำสิ่งใดก็ให้ง่ายและราบรื่น

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    ความเป็นมาของเทศกาลตรุษจีน

    ถึงวันปีใหม่จีนเมื่อไร หลายคนคิดถึง อั่งเปา เป็นอันดับหนึ่ง บางคนนึกถึงการเชิดสิงโตที่เร้าใจ ขณะที่อีกหลายคนนึกถึงเป็ดไก่และหัวหมู ยังมีขนมเข่งขนมเทียนและอีกสารพัดขนมที่เรามักจะนึกถึงเมื่อวันตรุษจีนเวียนมา อาหารการกินทั้งหลายที่นำมาเซ่นไหว้ในเทศกาลนี้มีที่มาที่ไป ใช่เพียงซื้อหากันตามใจชอบ ที่สำคัญยังแฝงความหมายบางอย่างอยู่ในนั้นอีกด้วย


    จีนโบราณแบ่ง ฤดูกาล ออกเป็นสี่ฤดู คือ ชุง แห่ ชิว และ ตัง ฤดูชุงหรือฤดูต้นปีคือ ฤดูใบไม้ผลิ เป็นการเริ่มต้นในสังคมเกษตรกรรมของจีนโบราณ กล่าวคือ หลังจากนี้อีก 15 วันในเทศกาลห่วงเซียวจะมีการเริ่มต้นทำนาทำไร่ การไหว้ในเทศกาลตรุษจีนในวันแรกโดยเนื้อแท้ก็คือ การไหว้ขอพรกับเทพเจ้า เพื่อให้การทำไร่ทำนา หรือการดำเนินชีวิตประสบความสำเร็จ และเทพเจ้านั้นคือเทพเจ้าแห่งโชคลาภนาม ไฉ่สิ่งเอี้ย

    " ตามความเชื่อของชาวจีนถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งโชคลาภ และคนจีนโดยทั่วไปจะไหว้รับเสด็จท่านเป็นเทพองค์แรกที่เสด็จลงมาอวยพรแก่คนจีนในวันตรุษจีน เพราะว่า เทศกาลตรุษจีนถือว่าเป็นการเริ่มต้นปีใหม่วันที่หนึ่ง เดือนหนึ่ง ตามปฏิทินจันทรคติ การจัดโต๊ะไหว้ก็จะประกอบไปด้วยของไหว้ซึ่งเป็นผลไม้มงคลสามอย่างหรือห้าอย่าง ขนมมงคลสามอย่างหรือห้าอย่าง และก็อาหารเจ เพราะว่าเทพไฉ่สิ่งเอี้ยท่านถือเป็นเทพชั้นสูง การสักการบูชาจะไม่ใช้ของคาวในการไหว้"

    สำหรับเป็ดไก่หรือหัวหมูที่ขายดีเป็นพิเศษในเทศกาลนี้ เป็นการไหว้สิ้นปี ไหว้บรรพบุรุษ ซึ่งอยู่ใน 8 เทศกาลสำคัญของจีน ถือเป็นเทศกาลสุดท้ายของปีเรียกว่า ก้วยนี่โจ่ย คือการไหว้เพื่อข้ามปี ในตอนเช้าจะมีการไหว้เทพเจ้า หลังจากนั้นในตอนสายจะไหว้บรรพบุรุษ บางบ้านจะไหว้บรรพบุรุษของคนจีนและผีไม่มีญาติ ซึ่งอาจจะไม่มีคนสักการะให้ในตอนบ่ายด้วย

    ตอนสายอาจจะไหว้เจ้าด้วย อาจจะเอาเป็ดไก่ซึ่งเรียกว่า ซาแซหรือโหงวแซเป็นอาหารคาวสามอย่างหรือห้าอย่างไหว้เจ้าด้วยได้ ถ้าจัดสามอย่างก็จะต้องมีเป็ด ไก่ หมู แต่ถ้ามีห้าอย่างก็อาจจะเป็นเป็ด ไก่ หมู ตับ ปลา ถ้าจัดสามอย่าง ผลไม้ก็ควรจะเป็นสามอย่าง ถ้าจัดห้าอย่าง ผลไม้และขนมก็ควรจะเป็นห้าอย่าง...

    วันถัดมานั่นคือวันตรุษจีน การไหว้ในวันตรุษจีนจะมีการไหว้เฉพาะเทพเจ้าและบรรพบุรุษในตอนเช้า แต่ว่าการจัดไหว้ในวันตรุษจีนก็จะไหว้แค่เป็นเครื่องสักการะเล็กๆ เช่นอาจจะมีแค่ส้มกับขนมอี๊" ส้ม เป็นผลไม้มงคลที่มีคำเรียกในภาษาจีนว่า กิก หรือ ไต่กิก แปลว่า มหาสิริมงคล เป็นผลไม้ที่ใช้ไหว้ได้ในทุกเทศกาล และใช้ในการไหว้เทพองค์ต่างๆ ในเทศกาลตรุษจีนยังนิยมนำส้มไปอวยพรญาติผู้ใหญ่ด้วย

    สำหรับขนมที่ใช้ในการไหว้นั้นมีหลายชนิดและใช้ในการไหว้เจ้าได้ทุกเทศกาล คนจีนในไทยจะนิยมไหว้รวมกันเป็นขนมมงคลห้าอย่างเรียกว่า จับกิ้น หรือ แต่เหลียว เป็น ข้าวพอง ถั่วตัด ขนมเคลือบ ขนมงาต่างๆ รวมถึงขนมที่คนไทยเรียกว่า จันอับ

    " เมล็ดถั่วเมล็ดงา ไม่ว่าจะโรยที่ไหนก็เจริญเติบโตเร็ว ข้าวกล้องก็มาจากธัญพืชธัญหาร ให้มีข้าวที่อุดมสมบูรณ์ ฟักทองความหมายคือไหว้แล้วเกิดการกำเนิด เป็นจุดกำเนิดของเงินทองที่มั่งคั่งและเจริญรุ่งเรือง ที่สำคัญคือ ทั้งหมดมีรสหวาน คนจีนเชื่อว่าความหวานสามารถสมานฉันท์ความสามัคคีกันในครอบครัวได้ สังเกตว่าขนมอี๋เกิดจากแป้งข้าวเหนียวเติมน้ำตาล ใส่สีแดงเข้าไปคือสีมงคลของจีน มีความหวาน มีธัญพืชธัญหารมาเกี่ยวข้อง คือให้มีความหวานชื่น มีความเหนียวคือมีการยืดหยุ่น มีความสมานฉันท์ในสถาบันครอบครัวให้มีความแน่นแฟ้น มีความกลมเกลียว คนจีนจะถือว่าความกลมเป็นสัญลักษณ์มงคล คือความกลมเกลียวซึ่งกันและกัน โต๊ะก็ตั้งโต๊ะกลม ชามก็ชามกลม ตะเกียบก็คือคู่ การประนีประนอมการอยู่ร่วมกัน การอยู่ร่วมกันของครอบครัว การอยู่ด้วยกันของสังคมถือว่าเป็นธีมอันนึงที่สอดแทรกในประเพณีให้มีความสงบสุขในแต่ละเทศกาล... ส่วนฮกก้วยคือขนมถ้วยฟูความหมายคือไหว้แล้วให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองและเฟื่องฟู"
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.youyim.com/dspimgread.asp?id=2358

    แล้ว ขนมเข่ง ขนมเทียน มาจากไหน ?

    ขนมเข่ง-ขนมเทียนจริงๆ แล้วจะใช้ไหว้เฉพาะ เทศกาลสารทจีน แต่โบราณตรุษจีนที่ประเทศจีนไม่ได้ไหว้ด้วยขนมเข่งขนมเทียน แต่จะไหว้ด้วยขนมโบราณห้าอย่างที่เรียกว่า ตัง เปี้ย หมี่ หมั่ว กี แต่เนื่องจากมาในประเทศไทยหาส่วนผสมที่ทำขนมเหล่านั้นไม่ได้ จึงปรับมาไหว้ด้วยขนมเข่งขนมเทียน

    " วันหยี่สี่คือวันเจ้าขึ้นสวรรค์ นิยมเอาขนมเข่งขนมเทียนมาไหว้ก่อน เพื่อมีความเชื่อกันว่า เจ้าขึ้นไปรายงานสวรรค์ต่อเง็กเซียนฮ่องเต้ เจ้าของบ้านจะเอาขนมเข่งขนมเทียนมาไหว้เพื่อแปะปากท่านให้พูดในสิ่งที่ดี เพราะว่ามันเหนียวท่านเคี้ยวแล้วเหนียวจะชมว่าครอบครัวนี้ทำความดี ประสบโชคดี ไปรายงานกับเง็กเซียนฮ่องเต้ ไปรายงานข้างบนบัญชีสวรรค์"

    นอกจากการไหว้เทพเจ้าและบรรพบุรุษ ยังมีความอบอุ่นที่แฝงอยู่ในเทศกาลนี้ " ลูกหลานจะอยู่ไกลแค่ไหนจะกลับมากินข้าวพร้อมกันทั้งครอบครัว พ่อแม่ก็จะทำอาหารที่ดีที่สุดของวันนั้นให้กับลูกหลานกิน อะไรที่ดีที่สุดความอุดมสมบูรณ์ที่สุด กินเพื่อข้ามศักราชใหม่ วันรุ่งขึ้นก็จะไปเที่ยวทั้งครอบครัว อาจจะเริ่มจากการไปขอพรญาติผู้ใหญ่แล้วก็ไปเที่ยว"

    สิ่งดีๆ ที่มีอยู่ในวัฒนธรรมประเพณี หากรอให้สูญหายไป ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะฟื้นคืนกลับมา ร่วมกันรักษาสิ่งที่ดีงามเหล่านี้เอาไว้เพื่อคนรุ่นหลังบอกเล่าเรื่องราวความดีงามที่แฝงอยู่ในวัฒนธรรมประเพณี ให้ตรุษจีนปีนี้และปีต่อๆ ไปมีรอยยิ้มและความอบอุ่นในครอบครัว มีสิริมงคลต่อชีวิต และมีอั่งเปาเรียกรอยยิ้มของลูกหลานสืบไป


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    ธรรมเนียมตรุษจีน

    วันตรุษจีน คือวันขึ้นปีใหม่ของจีน (วันที่ 1 เดือน 1 ของวันจีน) ถือเป็นเทศกาลใหญ่ ที่ประหนึ่งรวมเทศกาลวันตรุษ และอาจรวมเทศกาลไหว้สิ้นปี เข้ากับเทศกาลวันตรุษ ซึ่งจะต่างกับวันไทย และวันสากล ในขณะที่วันของไทย เป็นวันข้างขึ้น และข้างแรม เดือนหนึ่งมี 30 วัน ของจีนจะเป็นเดือนสั้น และเดือนยาว เดือนสั้นมี 29 วัน เดือนยาวมี 30 วัน

    วันจีนจะช้ากว่าวันข้างขึ้น ข้างแรม ในปฏิทินอยู่ 2 เดือน ยกตัวอย่าง วันไหว้พระจันทร์ ตรงกับวันที่ 15 เดือน 8 เมื่อดูในปฎิทินจะเป็นขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 หรือสมมติว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2535 ตรงกับวันขึ้น 8 ค่ำ เดือน 2 ก็คิดกลับเป็นวันจีนจะเป็นวันที่ 8 เดือน 12 จากนั้นนับต่อจากวันที่ 8 ไปเป็นวันที่ 9 เดือน 12 ของจีน คือ วันที่ 1 มกราคม 2536 นับไปเรื่อยๆ จนครบวันที่ 30 เดือน 12 ของจีน ซึ่งจะตรงกับวันที่ 22 มกราคม 2536 ของไทย ดังนั้นวันตรุษจีน คือ วันที่ 1 เดือน 1 ของจีน ก็จะตรงกับวันที่ 23 มกราคม 2536 เป็นต้น

    วันสิ้นปีจะมีการไหว้ หลายอย่าง นิยมเรียกว่า "วันไหว้" มักเรียกวันก่อนหน้าวันไหว้ว่า "วันจ่าย" เพราะเป็นวันสุดท้ายที่จะจับจ่ายซื้อของไหว้ของใช้ต่างๆ ก่อนที่ร้านค้าจะปิดธุรกิจหลายวัน

    การไหว้ตรุษจีนจะนิยมเรียกกันว่า "วันชิวอิด" แปลว่า วันที่ 1 มีความน่าสนใจตรงที่ว่า คนจีนจะไหว้ "ไช้ซิ้งเอี๊ย" หรือเทพเจ้าแห่งโชคลาภ"ในเวลากลางดึก

    เมื่อเวลาย่างเข้าวันตรุษหรือวันชิวอิดไช้ แปลว่า โชคซิ้ง และเอี๊ย แปลว่า เจ้า นอกจากนี้เวลาไหว้ยังมีฤกษ์ยาม และทิศที่จะตั้งโต๊ะไหว้ ยังเป็นทิศ และเวลาเฉพาะในแต่ละปี เพื่อความเป็นสิริมงคล ของไหว้จะไหว้ง่ายๆ ด้วยส้ม และโหงวเส็กทึ้งกับน้ำชา

    ส้ม คนจีนเรียกว่า กา หรือ "ไต้กิก" แปลว่า โชคดี เพื่ออวยพรให้ลูกหลานโชคดี และใช้ให้เป็นของขวัญ...นำโชคมามอบให้แก่กัน

    โหงวเส็กทึ้ง แปลว่า ขนม 5 สี ได้แก่ ถั่วตัด งาตัด ข้าวพอง ถั่วเคลือบน้ำตาล และฟักเชื่อม บางทีก็เรียกว่า "ขนมจันอับ" หรือ "แต่เหลียง"

    บางบ้านมีการไหว้อาหารเจแห้ง ให้แก่บรรพบุรุษด้วย บางบ้านนิยมเปิดไฟไว้ที่ศาลเจ้าที่ "ตี่จู่เอี๊ย" เพื่อรอรับวันที่เจ้าที่จะเสด็จกลับลงมาจากสวรรค์ในวันที่ 4 เดือน 1 ของจีน

    ในวันตรุษจีน หรือวันชิวอิด ในหมู่คนจีนจะทราบกันว่า นี่คือ "วันถือ" ถือที่จะทำในสิ่งที่ดี และไม่ทำในสิ่งที่ไม่ดี ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่สวยงาม ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดแต่ "หออ่วย" แปลว่า คำดีๆ ไม่อารมณ์เสียหงุดหงิด ไม่ทำงานหนัก เพื่อที่ว่าตลอดปีจะได้ไม่ต้องทำงานหนักนัก ไม่กวาดบ้าน เพราะอาจปัดสิ่งดีๆ มีมงคลออกไป แล้วกวาดความไม่ดีเข้ามา

    เริ่มต้นเช้าวันตรุษ คนในบ้านก็จะทักทายกันด้วยคำอวยพร "ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้" หมายถึง เวลาใหม่ให้สมใจ ปีใหม่ให้สมปรารถนา

    "อั้งเปา" ในวันตรุษจีน มีคำจีนโบราณเรียกว่า "เอี๊ยบซ้วยจี๊" เป็นเงินสิริมงคลที่ผู้ใหญ่ให้แก่ลูกหลาน เพื่ออวยพรให้มีสุขภาพแข็งแรง และเจริญก้าวหน้า

    ธรรมเนียมหนึ่งในวันตรุษจีนคือการไป "ไป๊เจีย" หรือการไปไหว้ขอพร และอวยพรผู้ใหญ่ หรือญาติมิตร โดยส้มสีทอง 4 ผลห่อด้วยผ้าเช็ดหน้าผู้ชาย ที่นิยมใช้กันแต่ส้มสีทอง ไม่ใช้ส้มเขียว เพราะสีทองเป็นสีมงคล ทองอร่ามเรืองจะอวยพรให้รุ่งเรือง

    เช่นเดียวกับส้ม ที่คนจีนเรียกว่า ไต้กิก แปลว่า โชคดี ส้มสีทองที่มอบแก่กันคือ นัยอวยพรให้ "นี้นี้ไต้กิก" แปลว่า ทุกๆ ปีให้โชคดีตลอดไป ส้มสีทอง 4 ใบ เมื่อเจ้าบ้านรับไป จะเป็นการรับไปเปลี่ยนว่าเปลี่ยนส้ม 2 ใบของแขกกับ 2 ใบของที่บ้าน แล้วคืนส้ม 4 ใบคืน ให้แขกนำกลับไป 2 ใบของที่บ้าน แล้วคืนส้ม 4 ใบ คืนให้แขกนำกลับไป หมายถึง การที่ต่างฝ่าย ต่างให้โชคดีแก่กัน

    การติดฮู้ เป็นธรรมเนียมที่นิยมถือทำในวันตรุษจีน เช่น การติด "ฮู้" หรือยันต์แผ่นใหม่ เพื่อคุ้มครองบ้าน ติด "ตุ้ยเลี้ยง" หรือแผ่นคำอวยพรที่ปากทางเข้าบ้าน


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    คำอวยพรภาษาจีน

    ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดใช้ แปลว่า "สวัสดีปีใหม่ ขอให้เจริญรุ่งเรือง "

    ซินเจียยู่อี่ ซินนี้เกียงคง แปลว่า "สวัสดีปีใหม่ ขอให้มีสุขภาพแข็งแรง"

    ซินเจียยู่อี่ ซินนี้เพ่งอัง แปลว่า "สวัสดีปีใหม่ ขอให้ปลอดภัยจากอันตราย และโรคภัยไข้เจ็บ "

    ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ตั่วถั่ง แปลว่า "ขอให้ธุรกิจก้าวหน้า กำไรงดงาม "
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.youyim.com/dspimgread.asp?id=2358

    " การไหว้เจ้า"

    " การไหว้เจ้า"

    เป็นประเพณีที่ชาวจีนประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมากว่า 3,000 ปี ( สมัยราชวงศ์โจว) เพื่อให้เกิดความสิริมงคล และนำมาซึ่งความสุขความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเองและครอบครัว ทั้งกิจการงานธุรกิจที่ประกอบอยู่ ชาวจีนจึงมีความเชื่อสืบต่อๆ กันมาว่า ในปีหนึ่งๆ มักจะมีสิ่งเลวร้าย เรื่องไม่ดีงาม เรื่องอัปมงคลมากระทบกระทั่ง หรือรบกวนการดำเนินชีวิตของคนเราจนทำให้เกิดอุปสรรคต่างๆ เช่น การเจ็บไข้ได้ป่วย การงานติดขัดไม่ราบรื่น เงินทองไม่คล่อง ทำอะไรก็พบแต่ความยุ่งยาก ค้าขายลำบากมีแต่อุปสรรค บุตรบริวารก่อเรื่องวุ่นวาย นำความยุ่งยากลำบากใจมาให้ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่ผิดปกติ ทำให้รู้ได้ว่า "ดวงชะตาชีวิต" ไม่ดีนัก จึงจะต้องมีการขวนขวายหาที่พึ่ง จึงทำให้ก่อกำเนิดประเพณี การไหว้เจ้า ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ ไหว้บรรพบุรุษ ขึ้น

    " การไหว้เจ้า" นอกจากจะเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ยังเป็นการวิงวอนต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยดลบันดาลให้พบแต่ความสุขความเจริญทำมาค้าขึ้น ธุรกิจเจริญรุ่งเรือง มีสุขภาพแข็งแรง ครอบครัวลูกหลานเป็นคนดีงาม

    ดังนั้นเพื่อความไม่ประมาท และเสริมสร้างความมั่นใจ ที่จะช่วยให้ผ่านพ้นอุปสรรคและปัญหาต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในแต่ละปี นอกจากการแก้ไขด้วยสติปัญญาและความสามารถแล้ว โบราณาจารย์ยังได้แนะนำให้ "ไหว้เจ้า" เพื่อเสริมสิริมงคลและพลังแห่งชีวิตพิชิตอุปสรรคให้เกิดกำลังใจ โดยเทพเจ้าองค์สำคัญของชาวจีนที่จะต้องไหว้ช่วงปีใหม่หรือเทศกาลตรุษจีนก็คือ เทพเจ้าแห่งโชคลาภ ความมั่งคั่ง และ การค้าขาย หรือ เทพเจ้าไฉ่เซ่งเอี้ย เพื่อขอพรให้คุ้มครองดวงชะตาชีวิต คุ้มครองปีเกิด ทุกนักษัตรซึ่งชะตาชีวิตของคนเราย่อมมีขึ้นมีลง มีดีมีร้าย หมุนเวียนเปลี่ยนกันไป

    ฉะนั้น การไหว้เทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตา จึงเป็นเรื่องสำคัญ ชาวจีนจะให้ความสำคัญกับ "เทพเจ้าไท้ส่วยเอี้ย" อย่างมาก ดังจะเห็นได้จากโหราศาสตร์หรือดวงจีนที่ผูกพันกับเรื่องนักษัตรปีเกิด หรือดวงชะตาชีวิตของมนุษย์ทุกผู้ทุกนาม

    ความสำคัญของเทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตา (ไท้ส่วยเอี้ย) ตามหลัก "โป๊ยยี่สี่เถี่ยว" หรือ โหราศาสตร์จีน ในแต่ละปี ดวงชะตาชีวิตของแต่ละคนก็จะเปลี่ยนแปลงไป ดวงชะตาของคนเกิดปีนักษัตรต่างๆ ทั้ง 12 นักษัตร จะมีความสัมพันธ์กับนักษัตรในปีนั้นๆ มีทั้ง "ดี" คือส่งเสริม คนจีนเรียก " ฮะ" และ "ไม่ดี" คือ "ชง"

    ถ้าปีใดส่งเสริมกัน ก็จะทำให้เจ้าชะตาชีวิตมีความเจริญรุ่งเรือง ทำอะไรก็จะประสบความสำเร็จ แต่ถ้าปีใดเป็นปีปฏิปักษ์ต่อกัน หรือ"ชง" ก็จะทำให้เจ้าชะตาชีวิตมีแต่อุปสรรค ติดขัด การดำเนินชีวิตไม่ราบรื่น

    ไม่ว่าชะตาชีวิตจะดีหรือไม่ดี อย่างไรก็ตาม ชาวจีนจะต้องไหว้ "เทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตา" (ไท้ส่วยเอี้ย) เพื่อให้คุ้มครอง หากดวงชะตาชีวิตดีอยู่แล้ว ก็จะช่วยส่งเสริมให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ถ้าชะตาชีวิตไม่ดีก็จะช่วยให้หนักเป็นเบา คุ้มครองป้องกันจากอุปสรรคทั้งปวงให้ผ่านพ้นไปดี จนผ่านปีนักษัตรนั้นไปได้ด้วยความราบรื่น

    การไหว้ " เทพเจ้าไท้ส่วยเอี้ย" เป็นความเชื่อ และประเพณีปฏิบัติของชาวจีนทั่วโลก โดยเฉพาะคนที่มีดวงชะตาตกต่ำ หรือ "ชงปี"

    วิธีแก้ไขดวงชะตา จะมีการทำพิธี นำซึ้งปักเต๋าเก็ง หรือ พิธีสวดมนต์เสริมดวงชะตา แต่ผู้ไม่ "ชงปี" ก็สามารถทำได้ เพื่อให้อยู่เย็นเป็นสุข หนุนส่งดวงชะตาให้ดียิ่งๆ ขึ้น

    หลักวิธีดูปีที่ "ชง"หรือ"ฮะ" (ไม่ถูกโฉลกกัน)

    ปีชวด ไม่ถูกโฉลกกับ ปีมะเมีย

    ปีฉลู ไม่ถูกโฉลกกับ ปีมะแม

    ปีขาล ไม่ถูกโฉลกกับ ปีวอก

    ปีเถาะ ไม่ถูกโฉลกกับ ปีระกา

    ปีมะโรง ไม่ถูกโฉลกกับ ปีจอ

    ปีมะเส็ง ไม่ถูกโฉลกกับ ปีกุน

    ปีที่ส่งเสริมกัน (ถูกโฉลก)

    ปีชวด ถูกโฉลกกับ ปีฉลู

    ปีขาล ถูกโฉลกกับ ปีกุน

    ปีเถาะ ถูกโฉลกกับ ปีจอ

    ปีมะโรง ถูกโฉลกกับ ปีระกา

    ปีมะเส็ง ถูกโฉลกกับ ปีวอก

    ปีมะเมีย ถูกโฉลกกับ ปีมะแม

    วิธีไหว้เจ้าเสริมดวงชะตา สะเดาะเคราะห์

     

แชร์หน้านี้

Loading...