โชคเหนือเมฆ-กำไลเหนือดวง- มูลนิธิเทียนฟ้า 2497 - วัตถุมงคล หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bat119, 20 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ขอบคุณครับที่เข้ามาแจ้งให้ทราบ
     
  2. jewthana

    jewthana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    534
    ค่าพลัง:
    +1,063
    สวัสดีครับ...พี่บัติ
    ได้รับพัสดุแล้วครับ
    ขอบคุณมากครับ
     
  3. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ถ้าได้ของมาจะนำมาลงให้ดูครับ

    เหรียญพระแก้วมรกต พระแก้วมรกตหมดห่วง รุ่น 2 สุดยอดเหรียญดีแห่งปัจจุบัน คุณสุธันย์ สุนทรเสวี สร้าง พ.ศ. 2540 เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นพุทธานุสสติหนึ่งในกรรมฐาน 40 กอง ตามพุทธฎีกา และเป็นมหากุศลสืบต่ออายุพระศาสนาต่อไปในอนาคต 2. เพื่อต้องการสร้างเหรียญพระแก้วมรกตที่ถูกต้อง สมบูรณ์และเพียบพร้อมด้วยพิธีกรรมแต่โบราณ พุทธลักษณะ เป็นเหรียญกลม ไม่มีห่วง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.3 ซ.ม.ด้านหน้า เป็นรูปจำลองพระแก้วมรกต ทรงเครื่องฤดูฝนประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์บัว 2 ชั้น อยู่ภายในซุ้มเรือนแก้วและรายล้อมด้วยดอกไม้ โดยเลียนแบบจากรูปลักษณ์จากเหรียญพระแก้ว มรกต รุ่นฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ด้านหลัง เป็นยันต์มหาจักร ซึ่งผูกจากพระคาถาจักรแก้วพระพุทธเจ้า “ อิติปิโสภควา เอกจกกํ มารเปตวา พุทธจกโก เวหาสคนตวา” หมุนออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร (หมุนวนขวามือ) พิธีกรรมการจัดสร้าง ได้ยึดรูปแบบที่พระโบราณจารย์ ถือปฏิบัติสืบต่อมาคือ ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ วัน เริ่มเวลา ๐๘.๐๙ น. ตั้งแต่การบวงสรวงครูบาอาจารย์สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพยดาอารักษ์ หลอมทองชนวน การรีดแผ่นโลหะ และการปั๊มเหรียญ ทั้ง ๓ ชนิด คือ เนื้อทองคำ เนื้อเงิน และเนื้อนวโลหะกลับดำ แล้วเสร็จในเวลา ๒๓.๐๙ น. ได้เหรียญรวมทั้งสิ้นรวม ๒,๒๒๒ เหรียญ แยกเป็นเนื้อทองคำ ๕ เหรียญ เนื้อเงิน ๑๘๑ เหรียญ และเหรียญนวโลหะกลับดำ ๒,๐๓๖ เหรียญ จำนวนการสร้าง รวมทั้งสิ้น 2,222 เหรียญ แยกตามเนื้อโลหะดังนี้ * เนื้อโลหะทองคำ 5 เหรียญ * เนื้อเงิน 181 เหรียญ * เนื้อนวโลหะ 2,036 เหรียญ การดำเนินการสร้าง เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า เนื้อนวโลหะนี้ โดยคณะผู้จัดสร้างได้รวบรวมโลหะทองชนวน พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ สำนักวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ หลายวาระ ทองชนวนพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ และครอบน้ำมนต์ที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก,ตะกรุดและแผ่นยันต์ของพระอริย สงฆ์ และพระอภิญญาจารย์เจ้าทุกภาคทั่วประเทศและโลหะบริสุทธิ์ 9 ชนิดได้แก่ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ 108 ดวง และนะปัถมัง 14 พุทธาภิเษกนั้นมีรายการดังนี้ 1. พิธีมหามังคลาภิเษกพระบรมรูปพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2540 2. พิธีพุทธาภิเษกพระรุ่นทรัพย์เพิ่มพูน ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 3. พิธีพุทธาภิเษกพระเศรษฐีนวโกฏ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 4. พิธีเทวาภิเษกเทวรูปพระพิฆเณศวร กรมศิลปากร ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2541 5. พิธีมังคลาภิเษกเหรียญพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 ณ วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2541 6. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธปัญญา ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 7. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งอัตตรักโข ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2542 8. พิธีมังคลาภิเษก 100 ปี อ.ปากท่อ ณ วัดยางงาม ราชบุรี วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2542 9. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธสุขสิริ ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 10. พิธีเสาร์ 5 ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2542 11. พิธีเสาร์ 5 ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2542 12. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ สาธารณสุข ณ วัดช้าง นครนายก วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2543 13. พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธนิรามัย ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2543 14. พิธีมังคลาภิเษกสมโภชรูปเหมือนเท่าองค์จริง หลวงพ่อจ่าง อเชยโย ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2543 15. พิธีวันเพ็ญ เดือน 12 ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 16. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งเพชรกลับวชิรเวท ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2543 17. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธยอดฟ้า ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 18. พิธีมังคลาภิเษกรูปเหมือนสะดุ้งกลับ หลวงพ่อพูล อัตตรักโข ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2544 19. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งจอมไทย ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 19 – 27 มกราคม พ.ศ. 2544 20. พิธีมหามังคลาภิเษกมงคลอายุวัฒน์ 90 ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 21. พิธีชัยมังคลาภิเษก ณ วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2545 22. พิธีพุทธาภิเษก ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2545 23. พิธีมังคลาภิเษกหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด กระทรวงกลาโหม ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 24. พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธนิรโรคันตรายและเหรียญท่านท้าวหิรัญพนาสูร (ฮู) ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 25. พิธีพุทธาภิเษก ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 26. พิธีมังคลาภิเษกวัตถุมงคลหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด ณ วัดประสาทบุญญาวาส กรุงเทพ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ทั้งหมดนี้คือการนำเสกชนิดพุทธาภิเษกหรือที่นักเลงพระชอบเรียกกันว่า พิธีหมู่ ซึ่งในแต่ละพิธีที่คุณสุธันย์นำไปเสกบอกได้เลยว่าศักดิ์สิทธิ์และสมบูรณ์แบบ ครบเครื่องจริง ๆ แม้วัตถุมงคลในพิธีเองบางแห่งก็มีราคาพุ่งขึ้นสูงและกลายเป็นของหายากไปแล้ว ต่อไปคือการเสกแบบ บินเดี่ยว ที่บอกได้คำเดียวว่าทำยากแท้ ๆ 1. พระครูภัทรธรรมรัติ (พ่อท่านภัทร ภัทธิโย) วัดโคกสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา วันที่ 6 – 7 กันยายน พ.ศ. 2540 2. พระครูสุวรรณวิสุทธิ์ (หลวงพ่อเจริญ) วัดธัญญวารี อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2540 3. พระครูวิทิตพัฒนาการ (หลวงพ่อจ้อย พุทธสโร) วัดหนองน้ำเขียว อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2540 4. พระครูปราสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ) วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เสกครั้งแรกวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เสกครั้งที่สอง วันที่ 10 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2540 5. พระธรรมมุนี (หลวงพ่อแพ เขมังกโร) วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2541 6. พระครูสังวรสมณกิจ (หลวงปู่ทิม อัตตสันโต) วัดพระขาว อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 4 มกราคม ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 รวม 86 วัน 7. พระภาวนานุสิชฌ์เถร (หลวงพ่อหรุ่ม) วัดบางจักร อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง เสกครั้งแรก วันที่ 12 เมษายน ถึง วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2544 เสกครั้งที่สาม วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2544 8. พระนิมมานโกวิท (หลวงปู่ทองดำ ฐิตวัณโณ) วัดท่าทอง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เสกครั้งแรก วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 13 – 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 9. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 10. พระครูมงคลคุณาทร (ครูบาคำปัน) วัดหม้อคำตวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 11. พระครูวรวุฒิคุณ (ครูบาอิน อินโท) วัดฟ้าหลั่ง อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฦษภาคม พ.ศ. 2541 12. พระครูพิศิษฐสังฆการ (ครูบาผัด) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 13. พระครูสิริสีลสังวร (ครูบาน้อย) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 14. พระครูชัยวงศ์วิวัฒน์ (ครูบาน่อย ชยวังโส) วัดบ้านปง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 15. ครูบาเทือง นาถสีโล วัดบ้านเด่น อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 16. พระราชพฤฒาจารย์ (หลวงพ่อห้อม) วัดคูหาสุวรรณ อ.เมือง จ.สุโขทัย วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 17. พระครูสีลสัมปัน (หลวงปู่อ่อน) วัดเนินมะเกลือ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก วันที่ 8 พฤษภาคม ถึง วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2541 รวม 51 วัน 18. พระครูสุนทรวชิรเวท (หลวงพ่อจ่าง อเชยโย) วัดเขื่อนเพชร อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี อธิษฐานจิต-ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2541 ตั้งแต่ วันที่ 8 กรกฎาคม ถึง วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2541 19. พระราชอุดมมงคล (หลวงพ่ออุตตมะ อุตตมรัมโภ) วัดวังก์วิเวการาม อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เสกครั้งแรก วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เสกครั้งที่สาม วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2542 20. พระครูสถิตย์โชติคุณ (หลวงพ่อไสว ฐิตวัณโณ) วัดปรีดาราม อ.สามพราน จ.นครปฐม วันที่ 3 – 21 มิถุนายน พ.ศ. 2542 21. พระครูสุนทรจริยวัตร (หลวงพ่อม่วง) วัดยางงาม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2542 ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน ถึง วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2542 22. พระครูสังวรานุโยค (หลวงพ่อช่อ) วัดโคกเกตุ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เสกครั้งแรก วันที่ 11 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2542 เสกครั้งที่สอง วันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เสกครั้งที่สาม วันที่ 1 มกราคม ถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2547 23. พระครูปุริมานุรักษ์ (หลวงพ่อพูล อัตตรักโข) วัดไผ่ล้อม อ.เมือง จ.นครปฐม อธิษฐานจิต-ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2543 ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม ถึง วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2543 24. พระอาจารย์ธรรมนูญ ฐิตวัฑฒโน (พระอาจารย์ติ๋ว) วัดมณีชลขัณฑ์ อ.เมือง จ.ลพบุรี เสกตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม ถึง วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2544 รวม 35 วัน 25. หลวงพ่อลำใย สัญญโม วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา เสกตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ถึงวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 รวม 64 วัน 26. หลวงปู่ชื้น พุทธสโร วัดญาณเสน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา อธิษฐานจิต 3 วาระ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2544 , วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 , วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2545 27. พระครูวินัยวัชรกิจ (หลวงพ่ออุ้น สุขกาโม) วัดตาลกง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2544 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึง วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544 28. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์ (หลวงพ่อสมโภช) วัดจุฬามณี อ.อัมพวา จ.สมุทรสาคร วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2545 รวม 35 วัน 29. พระราชวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ) วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2545 ตั้งแต่วันที่ 22 กรกฎาคม ถึง วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2545 และถวายเสกพิเศษในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2545 30. พระครูวิชัยกิจอารักษ์ (หลวงพ่ออุดม) วัดพิชัยสงคราม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 17 มีนาคม ถึง วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 รวม 5 เดือน 31. หลวงพ่อเมือง พลวัฑโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ อธิษฐานจิตตลอดไตรมาสปี 2546 ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 32. หลวงพ่อสมบูรณ์ กันตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก อธิษฐานจิตตลอดไตรมาสปี 2547 ตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2547 รวมเวลา 6 เดือน นี่คือรายนามพระอาจารย์เจ้าผู้ทรงอภิญญาและชำนาญในกีฬาทางจิตต่าง ๆ กันไป นับแล้วได้พุทธาภิเษก 26 พิธี เสกเดี่ยวอีก 32 พระเถระเท่าจำนวนอาการ 32 ที่ยังบุคคลให้เต็มบริบูรณ์ได้พอดี แม้ทุกองค์จะมีดีต่างกัน หากที่แน่ ๆ คือเป็นพระที่ทรงจิตตานุภาพล้นเหลือ และทุกองค์ก็ตั้งใจเพ่งจิตลงสู่ของสิ่งเดียวกัน เชื่อเถอะว่าเหรียญพระแก้วหมดห่วงรุ่น 2 นี้จะเป็นภาชนะเก็บพลานุภาพของครูบาอาจารย์ได้อย่างวิเศษสุด
     
  4. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ขอบคุณครับที่เข้ามาแจ้งให้ทราบ
     
  5. pee_slipknot

    pee_slipknot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +109
    ได้รับของแล้วนะครับ ยังไม่ได้ดูของเลยครับพอดีน้องชายรับให้ครับ ขอบคุณครับ
     
  6. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    รับทราบครับผมถึงกรุงเทพแล้วหรือครับ
     
  7. pee_slipknot

    pee_slipknot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +109
    เดินทางแต่เช้าครับ ถึงกรุงเทพ แต่ยังไม่ถึงที่พักครับเดี๋ยวรายละเอียดจะติดต่อไปนะครับ อิอิ
     
  8. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    รับทราบครับผม
     
  9. yellowest

    yellowest เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2013
    โพสต์:
    355
    ค่าพลัง:
    +2,475
    ได้รับแล้วครับ
    วันนี้ยังไม่ได้โอนเลยครับ ยุ่งมากครับ ต้องขอโทษด้วยนะครับ เดี๋ยวโอนให้พรุ่งนี้นะครับ
    ขอบคุณครับ
     
  10. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    รับทราบครับผม
     
  11. Tnature

    Tnature เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2013
    โพสต์:
    168
    ค่าพลัง:
    +1,179
    ได้รับพระลป.แล้ว ขอบคุณมากครับ อนุโมทนาบุญอีกครั้งครับ
     
  12. yellowest

    yellowest เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2013
    โพสต์:
    355
    ค่าพลัง:
    +2,475
    โอนแล้วครับ
    ขออนุโมทนาบุญด้วยครับ
     
  13. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,196
    ค่าพลัง:
    +14,323
    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  14. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    โมทนา สาธุครับ
     
  15. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ได้รับแล้วครับ โมทนา สาธุครับ
     
  16. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    โมทนา สาธุครับ
     
  17. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    หวัดดีครับเสี่ยเฟริส์ท พอมีแรงทำงานได้บ้างแล้วนะครับ
     
  18. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    น้องเค้าเพิ่งส่งข้อมูลมาให้ศึกษา พระแก้วหมดห่วงรุ่น2หรือพระแก้วมรกตจักรแก้วพระพุทธเจ้า ยังมีอีกพิมพ์นึงด้านหลังเป็นยันต์เหมือนกับพระแก้วมรกตปี2475 ซึ่งผูกจากหัวใจพระคาถามัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง8ประการ ได้แก่ วา ละ ลุ กัง สัง ลา ตัง วา หมุนเป็นรูปจักรออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร(หมุนวนขวามือ) จำนวนการสร้างน้อยกว่ามากครับ สร้างทั้งสิ้น 333เหรียญ เนื้อโลหะทองคำ 5เหรียญ เนื้อเงิน 108เหรียญ เนื้อนวโลหะ 220เหรียญ สร้างพร้อมกันปลุกเสกพร้อมกัน เอาไว้ลงรูปให้ดูครับ ของคงจะมาถึงวันนี้

    เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า
    การถวายนาม
    เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า
    วัตถุประสงค์
    1.เพื่อเป็นพุทธานุสสติหนึ่งในกรรมฐาน 40 กอง ตามพุทธฎีกา และเป็นมหากุศลสืบต่ออายุพระศาสนาต่อไปในอนาคต
    2. เพื่อต้องการสร้างเหรียญพระแก้วมรกตที่ถูกต้อง สมบูรณ์และเพียบพร้อมด้วยพิธีกรรมแต่โบราณ
    พุทธลักษณะ
    เป็นเหรียญกลม ไม่มีห่วง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.3 ซ.ม.ด้านหน้า เป็นรูปจำลองพระแก้วมรกต ทรงเครื่องฤดูฝนประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์บัว 2 ชั้น อยู่ภายในซุ้มเรือนแก้วและรายล้อมด้วยดอกไม้ โดยเลียนแบบจากรูปลักษณ์จากเหรียญพระแก้ว มรกต รุ่นฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี
    ด้านหลัง เป็นยันต์มหาจักร ซึ่งผูกจากพระคาถาจักรแก้วพระพุทธเจ้า
    “ อิติปิโสภควา เอกจกกํ มารเปตวา พุทธจกโก เวหาสคนตวา”
    หมุนออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร (หมุนวนขวามือ)

    พิธีกรรมการจัดสร้าง ได้ยึดรูปแบบที่พระโบราณจารย์ ถือปฏิบัติสืบต่อมาคือ ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ วัน เริ่มเวลา ๐๘.๐๙ น. ตั้งแต่การบวงสรวงครูบาอาจารย์สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพยดาอารักษ์ หลอมทองชนวน การรีดแผ่นโลหะ และการปั๊มเหรียญ ทั้ง ๓ ชนิด คือ เนื้อทองคำ เนื้อเงิน และเนื้อนวโลหะกลับดำ แล้วเสร็จในเวลา ๒๓.๐๙ น. ได้เหรียญรวมทั้งสิ้นรวม ๒,๒๒๒ เหรียญ แยกเป็นเนื้อทองคำ ๕ เหรียญ เนื้อเงิน ๑๘๑ เหรียญ และเหรียญนวโลหะกลับดำ ๒,๐๓๖ เหรียญ

    จำนวนการสร้าง รวมทั้งสิ้น 2,222 เหรียญ
    แยกตามเนื้อโลหะดังนี้
    * เนื้อโลหะทองคำ 5 เหรียญ
    * เนื้อเงิน 181 เหรียญ
    * เนื้อนวโลหะ 2,036 เหรียญ

    เหรียญพระแก้วมรกตหมดห่วงรุ่น ๒ | พระเครื่องศักดิ์สิทธิ์....PraSakSit Blog
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2013
  19. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    นำข้อมูลมาให้ชมกันครับ



    [​IMG]

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2013
  20. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,582
    ค่าพลัง:
    +30,871
    พระแก้วมรกตมหาจักร(หมดห่วงรุ่น2) 1ใน220องค์ นวะโลหะ ใช้เวลาปลุกเสกถึง7ปีครับ

    DSC_0070.JPG DSC_0071.JPG

    เหรียญพระแก้วมรกต พระแก้วมรกตหมดห่วง รุ่น 2 สุดยอดเหรียญดีแห่งปัจจุบัน คุณสุธันย์ สุนทรเสวี สร้าง พ.ศ. 2540 เหรียญพระแก้วมรกต มหาจักร วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นพุทธานุสสติหนึ่งในกรรมฐาน 40 กอง ตามพุทธฎีกา และเป็นมหากุศลสืบต่ออายุพระศาสนาต่อไปในอนาคต 2. เพื่อต้องการสร้างเหรียญพระแก้วมรกตที่ถูกต้อง สมบูรณ์และเพียบพร้อมด้วยพิธีกรรมแต่โบราณ พุทธลักษณะ เป็นเหรียญกลม ไม่มีห่วง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.3 ซ.ม.ด้านหน้า เป็นรูปจำลองพระแก้วมรกต ทรงเครื่องฤดูฝนประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์บัว 2 ชั้น อยู่ภายในซุ้มเรือนแก้วและรายล้อมด้วยดอกไม้ โดยเลียนแบบจากรูปลักษณ์จากเหรียญพระแก้ว มรกต รุ่นฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ด้านหลัง เป็นยันต์มหาจักร ซึ่งผูกจากหัวใจพระคาถามัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง8ประการ ได้แก่ วา ละ ลุ กัง สัง ลา ตัง วา หมุนเป็นรูปจักรออกจากแกนกลางวนแบบทักษิณาวัตร(หมุนวนขวามือ) พิธีกรรมการจัดสร้าง ได้ยึดรูปแบบที่พระโบราณจารย์ ถือปฏิบัติสืบต่อมาคือ ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ วัน เริ่มเวลา ๐๘.๐๙ น. ตั้งแต่การบวงสรวงครูบาอาจารย์สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพยดาอารักษ์ หลอมทองชนวน การรีดแผ่นโลหะ และการปั๊มเหรียญ ทั้ง ๓ ชนิด คือ เนื้อทองคำ เนื้อเงิน และเนื้อนวโลหะกลับดำ แล้วเสร็จในเวลา ๒๓.๐๙ น. ได้เหรียญรวมทั้งสิ้นรวม ๓๓๓ เหรียญ แยกเป็นเนื้อทองคำ ๕ เหรียญ เนื้อเงิน ๑o๘ เหรียญ และเหรียญนวโลหะกลับดำ ๒๒o เหรียญ จำนวนการสร้าง รวมทั้งสิ้น ๓๓๓ เหรียญ การดำเนินการสร้าง เหรียญพระแก้วมรกต จักรแก้วพระพุทธเจ้า เนื้อนวโลหะนี้ โดยคณะผู้จัดสร้างได้รวบรวมโลหะทองชนวน พระกริ่ง – พระชัยวัฒน์ สำนักวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ หลายวาระ ทองชนวนพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ และครอบน้ำมนต์ที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก,ตะกรุดและแผ่นยันต์ของพระอริย สงฆ์ และพระอภิญญาจารย์เจ้าทุกภาคทั่วประเทศและโลหะบริสุทธิ์ 9 ชนิดได้แก่ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ 108 ดวง และนะปัถมัง 14 พุทธาภิเษกนั้นมีรายการดังนี้ 1. พิธีมหามังคลาภิเษกพระบรมรูปพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2540 2. พิธีพุทธาภิเษกพระรุ่นทรัพย์เพิ่มพูน ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 3. พิธีพุทธาภิเษกพระเศรษฐีนวโกฏ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 4. พิธีเทวาภิเษกเทวรูปพระพิฆเณศวร กรมศิลปากร ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2541 5. พิธีมังคลาภิเษกเหรียญพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 ณ วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2541 6. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธปัญญา ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 7. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งอัตตรักโข ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2542 8. พิธีมังคลาภิเษก 100 ปี อ.ปากท่อ ณ วัดยางงาม ราชบุรี วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2542 9. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธสุขสิริ ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 10. พิธีเสาร์ 5 ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2542 11. พิธีเสาร์ 5 ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2542 12. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ สาธารณสุข ณ วัดช้าง นครนายก วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2543 13. พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธนิรามัย ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2543 14. พิธีมังคลาภิเษกสมโภชรูปเหมือนเท่าองค์จริง หลวงพ่อจ่าง อเชยโย ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2543 15. พิธีวันเพ็ญ เดือน 12 ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 16. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งเพชรกลับวชิรเวท ณ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2543 17. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งพุทธยอดฟ้า ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 18. พิธีมังคลาภิเษกรูปเหมือนสะดุ้งกลับ หลวงพ่อพูล อัตตรักโข ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2544 19. พิธีพุทธาภิเษกพระกริ่งจอมไทย ณ วัดสุทัศน์เทพวราราม วันที่ 19 – 27 มกราคม พ.ศ. 2544 20. พิธีมหามังคลาภิเษกมงคลอายุวัฒน์ 90 ณ วัดไผ่ล้อม นครปฐม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 21. พิธีชัยมังคลาภิเษก ณ วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2545 22. พิธีพุทธาภิเษก ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2545 23. พิธีมังคลาภิเษกหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด กระทรวงกลาโหม ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 24. พิธีพุทธาภิเษกพระพุทธนิรโรคันตรายและเหรียญท่านท้าวหิรัญพนาสูร (ฮู) ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 25. พิธีพุทธาภิเษก ณ วัดเลา กรุงเทพ วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 26. พิธีมังคลาภิเษกวัตถุมงคลหลวงพ่อทวด เหยียบน้ำทะเลจืด ณ วัดประสาทบุญญาวาส กรุงเทพ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ทั้งหมดนี้คือการนำเสกชนิดพุทธาภิเษกหรือที่นักเลงพระชอบเรียกกันว่า พิธีหมู่ ซึ่งในแต่ละพิธีที่คุณสุธันย์นำไปเสกบอกได้เลยว่าศักดิ์สิทธิ์และสมบูรณ์แบบ ครบเครื่องจริง ๆ แม้วัตถุมงคลในพิธีเองบางแห่งก็มีราคาพุ่งขึ้นสูงและกลายเป็นของหายากไปแล้ว ต่อไปคือการเสกแบบ บินเดี่ยว ที่บอกได้คำเดียวว่าทำยากแท้ ๆ 1. พระครูภัทรธรรมรัติ (พ่อท่านภัทร ภัทธิโย) วัดโคกสูง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา วันที่ 6 – 7 กันยายน พ.ศ. 2540 2. พระครูสุวรรณวิสุทธิ์ (หลวงพ่อเจริญ) วัดธัญญวารี อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2540 3. พระครูวิทิตพัฒนาการ (หลวงพ่อจ้อย พุทธสโร) วัดหนองน้ำเขียว อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2540 4. พระครูปราสาทพรหมคุณ (หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ) วัดเพชรบุรี อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เสกครั้งแรกวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เสกครั้งที่สอง วันที่ 10 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2540 5. พระธรรมมุนี (หลวงพ่อแพ เขมังกโร) วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2541 6. พระครูสังวรสมณกิจ (หลวงปู่ทิม อัตตสันโต) วัดพระขาว อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 4 มกราคม ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 รวม 86 วัน 7. พระภาวนานุสิชฌ์เถร (หลวงพ่อหรุ่ม) วัดบางจักร อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง เสกครั้งแรก วันที่ 12 เมษายน ถึง วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2544 เสกครั้งที่สาม วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2544 8. พระนิมมานโกวิท (หลวงปู่ทองดำ ฐิตวัณโณ) วัดท่าทอง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เสกครั้งแรก วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 13 – 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 9. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 10. พระครูมงคลคุณาทร (ครูบาคำปัน) วัดหม้อคำตวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 11. พระครูวรวุฒิคุณ (ครูบาอิน อินโท) วัดฟ้าหลั่ง อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฦษภาคม พ.ศ. 2541 12. พระครูพิศิษฐสังฆการ (ครูบาผัด) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 13. พระครูสิริสีลสังวร (ครูบาน้อย) วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 14. พระครูชัยวงศ์วิวัฒน์ (ครูบาน่อย ชยวังโส) วัดบ้านปง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 15. ครูบาเทือง นาถสีโล วัดบ้านเด่น อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 16. พระราชพฤฒาจารย์ (หลวงพ่อห้อม) วัดคูหาสุวรรณ อ.เมือง จ.สุโขทัย วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 17. พระครูสีลสัมปัน (หลวงปู่อ่อน) วัดเนินมะเกลือ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก วันที่ 8 พฤษภาคม ถึง วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2541 รวม 51 วัน 18. พระครูสุนทรวชิรเวท (หลวงพ่อจ่าง อเชยโย) วัดเขื่อนเพชร อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี อธิษฐานจิต-ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2541 ตั้งแต่ วันที่ 8 กรกฎาคม ถึง วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2541 19. พระราชอุดมมงคล (หลวงพ่ออุตตมะ อุตตมรัมโภ) วัดวังก์วิเวการาม อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เสกครั้งแรก วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2541 เสกครั้งที่สอง วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เสกครั้งที่สาม วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2542 20. พระครูสถิตย์โชติคุณ (หลวงพ่อไสว ฐิตวัณโณ) วัดปรีดาราม อ.สามพราน จ.นครปฐม วันที่ 3 – 21 มิถุนายน พ.ศ. 2542 21. พระครูสุนทรจริยวัตร (หลวงพ่อม่วง) วัดยางงาม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2542 ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน ถึง วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2542 22. พระครูสังวรานุโยค (หลวงพ่อช่อ) วัดโคกเกตุ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เสกครั้งแรก วันที่ 11 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2542 เสกครั้งที่สอง วันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เสกครั้งที่สาม วันที่ 1 มกราคม ถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2547 23. พระครูปุริมานุรักษ์ (หลวงพ่อพูล อัตตรักโข) วัดไผ่ล้อม อ.เมือง จ.นครปฐม อธิษฐานจิต-ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2543 ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม ถึง วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2543 24. พระอาจารย์ธรรมนูญ ฐิตวัฑฒโน (พระอาจารย์ติ๋ว) วัดมณีชลขัณฑ์ อ.เมือง จ.ลพบุรี เสกตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม ถึง วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2544 รวม 35 วัน 25. หลวงพ่อลำใย สัญญโม วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา เสกตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ถึงวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 รวม 64 วัน 26. หลวงปู่ชื้น พุทธสโร วัดญาณเสน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา อธิษฐานจิต 3 วาระ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2544 , วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 , วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2545 27. พระครูวินัยวัชรกิจ (หลวงพ่ออุ้น สุขกาโม) วัดตาลกง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2544 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึง วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544 28. พระครูโสภิตวิริยาภรณ์ (หลวงพ่อสมโภช) วัดจุฬามณี อ.อัมพวา จ.สมุทรสาคร วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2545 รวม 35 วัน 29. พระราชวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ) วัดบ้านไร่ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา ปลุกเสกตลอดไตรมาสปี 2545 ตั้งแต่วันที่ 22 กรกฎาคม ถึง วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2545 และถวายเสกพิเศษในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2545 30. พระครูวิชัยกิจอารักษ์ (หลวงพ่ออุดม) วัดพิชัยสงคราม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 17 มีนาคม ถึง วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 รวม 5 เดือน 31. หลวงพ่อเมือง พลวัฑโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ อธิษฐานจิตตลอดไตรมาสปี 2546 ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 32. หลวงพ่อสมบูรณ์ กันตสีโล วัดป่าสมบูรณ์ธรรม อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก อธิษฐานจิตตลอดไตรมาสปี 2547 ตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม ถึง วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2547 รวมเวลา 6 เดือน นี่คือรายนามพระอาจารย์เจ้าผู้ทรงอภิญญาและชำนาญในกีฬาทางจิตต่าง ๆ กันไป นับแล้วได้พุทธาภิเษก 26 พิธี เสกเดี่ยวอีก 32 พระเถระเท่าจำนวนอาการ 32 ที่ยังบุคคลให้เต็มบริบูรณ์ได้พอดี แม้ทุกองค์จะมีดีต่างกัน หากที่แน่ ๆ คือเป็นพระที่ทรงจิตตานุภาพล้นเหลือ และทุกองค์ก็ตั้งใจเพ่งจิตลงสู่ของสิ่งเดียวกัน เชื่อเถอะว่าเหรียญพระแก้วหมดห่วงรุ่น 2 นี้จะเป็นภาชนะเก็บพลานุภาพของครูบาอาจารย์ได้อย่างวิเศษสุด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 สิงหาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...