ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. mzbot

    mzbot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2012
    โพสต์:
    235
    ค่าพลัง:
    +963
    อุณหภูมิใต้น้ำเปลี่ยน เกิดแผ่นดินไหวต่อเนื่อง (แรงสะเทือนบนผิวดินส่งผลไปยังน้ำ เพราะพื้นที่น้ำ เชื่อมต่อหากันทั้งหมด) เลยทำให้พวกมันหนี เลยไปเกยตื้นไม่รู้ตัว
     
  2. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    เอาภาพรวมแบบนี้ไปก่อนนะครับ
    จุดไหนน่าสนใจจะขยายความให้ครับ
    หรือใครสนใจจุดไหนก็ลองเข้าไปดู
    ที่ USGS โดยตรงได้เลยครับ
    :boo:
     
  3. Thaveechai

    Thaveechai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2012
    โพสต์:
    33
    ค่าพลัง:
    +112
    ใต้น้ำมันร้อน มันเลยขึ้นมาสูดโอโซน
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    วัน-เวลา *ประเทศไทย ขนาด Lat. Long. ลึก(km.) Phase บริเวณที่เกิด
    2012-11-04 22:41:58
    2012-11-04 15:41:58 UTC 3.7 22.21 98.54 - 11 พรมแดนพม่า-จีน
     
  5. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    ที่น่าสนใจคือที่มินดาเนา ฟิลิปปินส์ และทิศใต้ของหมู่เกาะฟิจิ ที่ไหวแรง M4.7
    แต่ความลึกถึง 201 และ 353 กม.ตามลำดับ
    เกิดอะไรขึ้นบริเวณนี้ ?
    :boo:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 พฤศจิกายน 2012
  6. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]
     
  7. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    SE of Modayag, Indonesia

    Magnitude 5.2
    Location 142km SE of Modayag, Indonesia
    Time UTC 2012-11-0500:29:57
    Lat Lon 0.184°S 125.306°E
    Deep(km) 28.9

    [​IMG]

    Nearby Cities
    142km (88mi) SE of Modayag, Indonesia
    170km (106mi) SSE of Tondano, Indonesia
    175km (109mi) SSE of Tomohon, Indonesia
    180km (112mi) S of Bitung, Indonesia
    926km (575mi) N of Dili, East Timor

    Tectonic Summary


    Seismotectonics of the New Guinea Region and Vicinity

    The Australia-Pacific plate boundary is over 4000 km long on the northern margin, from the Sunda (Java) trench in the west to the Solomon Islands in the east. The eastern section is over 2300 km long, extending west from northeast of the Australian continent and the Coral Sea until it intersects the east coast of Papua New Guinea. The boundary is dominated by the general northward subduction of the Australia plate.

    Along the South Solomon trench, the Australia plate converges with the Pacific plate at a rate of approximately 95 mm/yr towards the east-northeast. Seismicity along the trench is dominantly related to subduction tectonics and large earthquakes are common: there have been 13 M7.5+ earthquakes recorded since 1900. On April 1, 2007, a M8.1 interplate megathrust earthquake occurred at the western end of the trench, generating a tsunami and killing at least 40 people. This was the third M8.1 megathrust event associated with this subduction zone in the past century; the other two occurred in 1939 and 1977.

    Further east at the New Britain trench, the relative motions of several microplates surrounding the Australia-Pacific boundary, including north-south oriented seafloor spreading in the Woodlark Basin south of the Solomon Islands, maintain the general northward subduction of Australia-affiliated lithosphere beneath Pacific-affiliated lithosphere. Most of the large and great earthquakes east of New Guinea are related to this subduction; such earthquakes are particularly concentrated at the cusp of the trench south of New Ireland. 33 M7.5+ earthquakes have been recorded since 1900, including three shallow thrust fault M8.1 events in 1906, 1919, and 2007.

    The western end of the Australia-Pacific plate boundary is perhaps the most complex portion of this boundary, extending 2000 km from Indonesia and the Banda Sea to eastern New Guinea. The boundary is dominantly convergent along an arc-continent collision segment spanning the width of New Guinea, but the regions near the edges of the impinging Australia continental margin also include relatively short segments of extensional, strike-slip and convergent deformation. The dominant convergence is accommodated by shortening and uplift across a 250-350 km-wide band of northern New Guinea, as well as by slow southward-verging subduction of the Pacific plate north of New Guinea at the New Guinea trench. Here, the Australia-Pacific plate relative velocity is approximately 110 mm/yr towards the northeast, leading to the 2-8 mm/yr uplift of the New Guinea Highlands.

    Whereas the northern band of deformation is relatively diffuse east of the Indonesia-Papua New Guinea border, in western New Guinea there are at least two small (<100,000 km²) blocks of relatively undeformed lithosphere. The westernmost of these is the Birds Head Peninsula microplate in Indonesia's West Papua province, bounded on the south by the Seram trench. The Seram trench was originally interpreted as an extreme bend in the Sunda subduction zone, but is now thought to represent a southward-verging subduction zone between Birds Head and the Banda Sea.

    There have been 22 M7.5+ earthquakes recorded in the New Guinea region since 1900. The dominant earthquake mechanisms are thrust and strike slip, associated with the arc-continent collision and the relative motions between numerous local microplates. The largest earthquake in the region was a M8.2 shallow thrust fault event in the northern Papua province of Indonesia that killed 166 people in 1996.

    The western portion of the northern Australia plate boundary extends approximately 4800 km from New Guinea to Sumatra and primarily separates Australia from the Eurasia plate, including the Sunda block. This portion is dominantly convergent and includes subduction at the Sunda (Java) trench, and a young arc-continent collision.

    In the east, this boundary extends from the Kai Islands to Sumba along the Timor trough, offset from the Sunda trench by 250 km south of Sumba. Contrary to earlier tectonic models in which this trough was interpreted as a subduction feature continuous with the Sunda subduction zone, it is now thought to represent a subsiding deformational feature related to the collision of the Australia plate continental margin and the volcanic arc of the Eurasia plate, initiating in the last 5-8 Myr. Before collision began, the Sunda subduction zone extended eastward to at least the Kai Islands, evidenced by the presence of a northward-dipping zone of seismicity beneath Timor Leste. A more detailed examination of the seismic zone along it's eastern segment reveals a gap in intermediate depth seismicity under Timor and seismic mechanisms that indicate an eastward propagating tear in the descending slab as the negatively buoyant oceanic lithosphere detaches from positively buoyant continental lithosphere. On the surface, GPS measurements indicate that the region around Timor is currently no longer connected to the Eurasia plate, but instead is moving at nearly the same velocity as the Australia plate, another consequence of collision.

    Large earthquakes in eastern Indonesia occur frequently but interplate megathrust events related to subduction are rare; this is likely due to the disconnection of the descending oceanic slab from the continental margin. There have been 9 M7.5+ earthquakes recorded from the Kai Islands to Sumba since 1900. The largest was the great Banda Sea earthquake of 1938 (M8.5) an intermediate depth thrust faulting event that did not cause significant loss of life.

    More information on regional seismicity and tectonics
     
  8. UncleGee

    UncleGee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    4,116
    ค่าพลัง:
    +10,246
    แผ่นดินไหวที่ KEPULAUAN SANGIHE, INDONESIA
    ขนาด : 5.2 ริกเตอร์
    จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : KEPULAUAN SANGIHE, INDONESIA
    วันที่ : 05 พฤศจิกายน 2555 07:55 น.
    ละติจูด : 4° 31' 12'' เหนือ
    ลองจิจูด : 125° 21' 00'' ตะวันออก
    ความลึกจากระดับผิวดิน : 60 กิโลเมตร
    กรมอุตุนิยมวิทยา - รายงานแผ่นดินไหว
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=tZDEyhEGa_A&]Results of a planetary pole shift? You decide... - YouTube[/ame]
     
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    M5.7 - 218km ESE of Ishinomaki, Japan
    2012-11-05 04:30:29 UTC


    [​IMG]
     
  11. UncleGee

    UncleGee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    4,116
    ค่าพลัง:
    +10,246
    แผ่นดินไหวที่ KEPULAUAN SANGIHE, INDONESIA
    ขนาด : 4.7 ริกเตอร์
    จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : KEPULAUAN SANGIHE, INDONESIA
    วันที่ : 05 พฤศจิกายน 2555 11:06 น.
    ละติจูด : 4° 37' 12'' เหนือ
    ลองจิจูด : 125° 05' 24'' ตะวันออก
    ความลึกจากระดับผิวดิน : 10 กิโลเมตร
    กรมอุตุนิยมวิทยา - รายงานแผ่นดินไหว
     
  12. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    เหตุการณ์ : M 4.7, Halmahera, Indonesia
    ความลึก : 46.00 km
    เมื่อ : 05 พฤศจิกายน 2012 17:36:17 PM (ตามเวลาท้องถิ่น)

    เหตุการณ์ : M 4.8, Halmahera, Indonesia
    ความลึก : 72.50 km
    เมื่อ : 05 พฤศจิกายน 2012 18:59:27 PM(ตามเวลาท้องถิ่น)

    สองครั้งซ้อนในเวลาไม่ห่างกันมากนัก คอยดูต่อว่าจะมีตามมาอีกไหม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 พฤศจิกายน 2012
  13. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    แผ่นฟิลิบปินสืและแปซิฟิกรุมกินโต๊ะปลายแผ่น Sunda Plate

    [​IMG]

    5.2, 4.4, 4.7, 4.8, 5.2 ในเวลาใกล้เคียงกัน....อย่างนี้แล้วที่ไหนเลย ปลาย Sunda Plate จะทนทานไหว....แผ่นแปซิฟิกและแผ่นฟิลิบปินส์รุกหนักข้อขึ้นทุกวัน...ลองดูกันต่อๆไป

    แถมแผ่นอาฟริกายังมากระแทกขอบแผ่น อินดด-ออสเตรเลีย อีก ส่งแรงโดมิโน มายังขอบแผ่นตะวันตกของ อินโดนีเซีย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 พฤศจิกายน 2012
  14. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    งั้นไปสำรวจสภาพใต้ท้องทะเลลึกกัน

    Attantic rift rip - Google Search

    ลาวาใต้ท้องทะเลผุดมากขึ้น จนน้ำในแอตแลนติคร้อนมากขึ้นทุกวัน จึงเกิดเฮอริเครนทางภาคตะวันออกของสหรัฐฯ และจะเกิดมากขึ้นเมื่อน้ำในทะเลร้อนมากขึ้นต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ก้นมหาสมุทรแห่งนี้จะเปิดอ้าตั้ง 250 ไมล์นี่เพิ่งจะเริ่มๆเท่านั้น

    เอาละร้อนทั้งในทะเลและบนแผ่นดินทางภาคตะวันตก ร้อนต่อร้อนมาชนกัน แล้วพายุจะใหญ่ขนาดไหน ท่านลองนึกๆเอาแล้วอย่างนี้เศรษฐกิจของแยงกี้จะไปอย่างไรกัน อดข้าวอดน้ำกันกระมัง....[ame="http://www.youtube.com/watch?v=L_ruDE87wWQ&feature=youtube_gdata_player"]หลังแซนดี้ไปแล้ว[/ame] 66 พันล้านแล้วจะยังมาอีกกี่มากน้อย...สินค้าก็ผลิตไม่ได้แล้วจะเอาเงินที่ไหนมาจ่ายเงินเดือน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 พฤศจิกายน 2012
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ช่วงเวลาที่รอคอย .. หาอะไรมาให้ดูแก้เหงา ..

    เมื่อวานดูยูทูปเรื่อง 188 Ley-Lines แนวเส้นพลังงานทางธรรมชาติใต้พื้นโลก
    เขาบอกว่า แผ่นดินไหวใหญ่ๆ จะอยู่บนแนวเส้นหรือใกล้ๆกับแนวเส้นนี้ ( ไม่รู้ว่าพยายามลากเส้นให้ไปโดนตำแหน่งที่เคยเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในอดีตรึปล่าว )


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    มีการคาดการณ์ว่าจะเกิดแผ่นดินไหว จุดใดจุดหนึ่งตามแนวเส้น ในวันที่ดังนี้


    [​IMG]
    [​IMG]

    และใหญ่สุดๆ 21 มีค 2013 (+/- 11 วัน)


    [​IMG]

    โปรดใช้วิจารณญาณในการรับชมครับ

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=mP92bouRnWI&feature=relmfu]188 LEY-LINE MERKABA DISCOVERED INSIDE EARTH REVEALS POLESHIFT March 2013 - YouTube[/ame]


    .
     
  16. UncleGee

    UncleGee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    4,116
    ค่าพลัง:
    +10,246
    แผ่นดินไหวที่ KEPULAUAN TALAUD, INDONESIA
    ขนาด : 4.9 ริกเตอร์
    จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : KEPULAUAN TALAUD, INDONESIA
    วันที่ : 06 พฤศจิกายน 2555 01:43 น.
    ละติจูด : 3° 52' 12'' เหนือ
    ลองจิจูด : 126° 06' 36'' ตะวันออก
    ความลึกจากระดับผิวดิน : 64 กิโลเมตร
    กรมอุตุนิยมวิทยา - รายงานแผ่นดินไหว
     
  17. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    แผ่น อินโด-ออสเตรเลียเคลื่อนตัวเพิ่มขึ้น

    [​IMG]

    บริเวณเหนือประเทศอินเดีย ไหวในเวลาใกล้เคียงกันค่อนข้างแรง และล้วนแต่ลึกๆทั้งนั้น การปะทะกันของแผ่นยูเรเซี่ยนและแผ่น อินโด-ออสเตรเลีย เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

    ตามดูเหตุการณ์และฟังรายงานต่างๆจากรอบโลก เพื่อการพิจารณาของแต่ละคน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 พฤศจิกายน 2012
  18. saksitI

    saksitI เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,702
    ค่าพลัง:
    +10,609
    ดาวแดงเจ้าเก่ามาในมาดใหม่

    [​IMG]

    PX Tail Elements Revealed, Again. 2012/11/05 12:58

    ในภาพขยายของบริวารดวงจันทร์แต่ละดวงนอกจากเต็มแน่นไปด้วยฝุ่นสีแดงแล้ว ยังมีขยะขนาดต่างๆอยู่อย่างหนาแน่นอีกด้วย...สิ่งเหล่านี้จะถูกขั้วเหนือของ PX ยิงตรงมายังโลกที่ไหนอย่างไร ต้องรอดูกันต่อไป...ส่วนการกระตุ้นแกนพลังงานของโลกนั้นจะเพิ่มดีกรีมากขึ้นไปตามระยะทางที่ PX เคลื่อนใกล้โลกเข้ามามากยิ่งขึ้น...ลองติดตามดูมาดของเขาในระยะต่อๆไป ที่ต้องอาศัยภาพถ่ายไปพลางก่อนที่จะปรากฏต่อสายตาของชาวโลก เมื่อกลุ่มดาวแดงได้เคลื่อนตัวออกห่างจากดวงอาทิตย์มากขึ้นในมุมที่เหมาะสม ส่งแสงสะท้อนจากดวงอาทิตย์ลงมาให้เห็นด้วยตาเปล่า

    ฝุ่นออกหนาแน่นอย่างนี้ พวกอนูนาคีอยู่กันได้อย่างไร บนพื้นผิวดาวหางดวงนี้น่าจะเป็นพื้นดินสีแดงไปทั่วทุกแห่ง และเต็มไปด้วยความหนาวเย็น เมื่อโคจรกลับออกไปห่างจากดวงอาทิตย์ที่ลุกโชน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 พฤศจิกายน 2012
  19. UncleGee

    UncleGee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    4,116
    ค่าพลัง:
    +10,246
    แผ่นดินไหวที่ MINAHASA, SULAWESI, INDONESIA
    ขนาด : 5.4 ริกเตอร์
    จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : MINAHASA, SULAWESI, INDONESIA
    วันที่ : 06 พฤศจิกายน 2555 08:42 น.
    ละติจูด : 1° 20' 24'' เหนือ
    ลองจิจูด : 122° 07' 12'' ตะวันออก
    ความลึกจากระดับผิวดิน : 60 กิโลเมตร
    กรมอุตุนิยมวิทยา - รายงานแผ่นดินไหว
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    M 5.8 และ M 5.4 2012-11-06 MINAHASA, SULAWESI, INDONESIA


    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...