เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  2. apichayo

    apichayo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    488
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,936
    https://www.facebook.com/KongpopUyen (ข้อมูลจาก Fb ดร.ก้องภพ อยู่เย็น)



    เรามาทดลองสังเกตการเปลี่ยนแปลงของโลกเราเมื่อถูกกระตุ้นจากปฏิกริยาดวงอาทิตย์กันอีกครั้งครับ

    โดยวันที่ 14 ตุลาคม เวลาประมาณ 8:45 UT พบว่าเกิดพายุสุริยะเป็นมุมกว้าง (ในมุมมองจากโล

    CACTus Diagostics และจาก http:...//spaceweather.com/images2012/14oct12/cme_anim.gif)


    แต่ทิศทางหลักออกไปทางด้านหลังที่ไม่โดนโลก นอกจากนั้นยังพบการขยายตัวของปริมาณจุดดับอย่างฉับพลัน

    (ซึ่งดูได้จากการเลือกเมนู HMI Intensitygram จากเวป SDO - Solar Dynamics Observatory )


    จากโมเดลการแพร่กระจายของอนุภาคพบว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 17 ตุลาคม เวลาประมาณ

    12 UT +/- 7 ชั่วโมง ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถติดตามสถานการณ์ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 18 ตุลาคม ครับ

    http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=458666186


     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 16 ตุลาคม 2012
  3. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]
    กราฟแสดงค่าดัชนี kp ทุก 3 ชั่วโมง กรณีมีค่ามากกว่า 5 แสดงว่าเริ่มเกิดพายุแม่เหล็กในบรรยากาศโลก ผลกระทบที่ระดับสูงคือดาวเทียม การสื่อสารวิทยุ หรือในขั้นรุนแรงอาจเหนี่ยวนำให้หม้อแปลงระเบิดเกิดไฟฟ้าดับ
     
  4. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]
     
  5. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ข่าวลือ!!

    1) พบดาวมีดวงอาทิตย์ 4 ดวง
    โดยโคจรรอบดวงอาทิตย์ 2 ดวง
    และดวงอาทิตย์ 2 ดวงโคจรรอบดาว
    ฟังแล้วงงเอาเรื่องเลยทีเดียวครับ

    2) พบดาวมีขนาด 8 เท่าของโลก
    มีอุณหภูมิผิวดาวพันกว่าองศา C
    มีเพชรถึง 3 ใน 4 ส่วนของมวล
    โคจรรอบดวงอาทิตย์ รวยแล้วเรา
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    พระอาทิตย์ทรงกลด ขนาดมหึมา และมีบ่อยขึ้น

    SUN HALOS: As the northern hemisphere heads deeper into autumn, and ultimately winter, icy clouds become more commonplace. In other words, 'tis the season for sun halos. Charles Yeager photographed this specimen over Cleveland, Minnesota on Oct. 15th:

    [​IMG]
    "This halo looked extremely large over the farm land of southern Minnesota," says Yeager.

    In fact, it was 22 degrees in radius. That's how much hexagonal ice crystals in cirrus clouds bend the light of the sun overhead. Related crystals can also create sun pillars, sundogs, and a variety of other luminous halos. Look around the sun; you never know what you might see.​
     
  7. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ทีมนักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่ ซึ่งมีดวงอาทิตย์ถึง 4 ดวง นับเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่เคยมีใครเจอมาก่อน


    [​IMG]


    ทีมนักดาราศาสตร์สมัครเล่น 2 ราย ได้แก่ นายเคียน เจ็คจากซานฟรานซิสโก และนายโรเบิร์ต กากลิอาโน จากเมืองคอตตอนวู้ด รัฐอริโซนา เป็นผู้ค้นพบดาวเคราะห์ดังกล่าว โดยใช้เว็บไซต์ Planethunters.org ร่วมกับทีมนักสังเกตการณ์จากสหรัฐฯและอังกฤษ และมีการติดตามผลร่วมกับหอดูดาวดับเบิลยู เอ็ม เค็ก ที่รัฐฮาวาย

    ทั้งสองคนสังเกตเห็นแนวแสงจางๆที่เกิดจากการเคลื่อนผ่านด้านหน้าดาวดวงแม่ต่อมาทีมนักดาราศาสตร์มืออาชีพ จึงได้ยืนยันการค้นพบดังกล่าวโดยใช้กล้องโทรทรรศน์เค็ก ที่ตั้งอยู้บนยอดเขามุยนา คี ในรัฐฮาวาย

    ดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่ห่างจากโลก 5,000 ปีแสง ถูกตั้งชื่อว่า พีเอช 1 ตามชื่อเว็บไซต์ของกลุ่มนักล่าดาวเคราะห์ "Planet Hunters" พีเอช 1 เชื่อกันว่าเป็นดาวแก๊สยักษ์ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดาวเนปจูนเล็กน้อย หรือราว 6.2 เท่าของรัศมีของโลก โคจรรอบดาวคู่ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 1.5 เท่าและ 0.41 เท่า โดยใช้เวลาในแต่ละรอบ 138 วัน

    ระบบดาวคู่ (binary star system) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มดาวถึง 2 คู่เช่นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยปรากฏให้เห็นนัก มีเพียงแต่ดาวเคราะห์นอกระบบจำนวนหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันแล้ว ที่พบว่าโคจรในลักษณะคู่เช่นนี้ และไม่เคยพบว่าระบบดาวคู่ใดมีกลุ่มดาวคู่อีกกลุ่มโคจรรอบตัวมัน ทั้งนี้ ระบบดาวคู่หมายถึงการมีดาวฤกษ์ 2 ดวง ดวงที่มีมวลน้อยกว่าจะโคจรรอบดวงที่มีมวลมากกว่า กระทั่งปัจจุบัน ดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ 2 ดวงนั้น เพิ่งพบแค่ 6 ดวงเท่านั้น และไม่มีดวงไหนที่มีดาวฤกษ์ดวงอื่นๆโคจรโดยรอบในระยะไกล

    เว็บไซต์ PlanetHunters.org ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2010 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชักชวนกลุ่มนักดูดาวสมัครเล่นช่วยกันค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ของนาซา ที่ถูกส่งออกไปในอวกาศเมื่อปี 2009 เพื่อค้นหาดาวนพเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายโลก ที่โคจรรอบดาวดวงอื่น โดยนับตั้งแต่เดือนธ.ค. 2010 มีอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการนี้แล้วกว่า 170,000 คน

    source | matichon.co.th
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ออโรร่า สว่างมากคลุมไปแถมแคนาดาและอเมริกา

    AURORAS FROM ORBIT: Orbiting high above Earth, low-light cameras onboard the US military's fleet of DMSP satellites have captured some magnificant auroras lately. On Oct. 12th, a band of lights cutting across the Hudson Bay in Canada were nearly as bright as the city lights on the continent below:

    [​IMG]
    "This image came from DMSP's F18 satellite," says Paul McCrone who processed the data at the US Navy's Fleet Numerical Meteorology and Oceanography Center in Monterey, CA. "It shows auroras, some wispy clouds, and the brightly-lit urban areas of the northeastern United States."​
    One can only imagine what sky watchers would have seen if this bright band had descended over the populated regions of the United States. We won't find out this week. NOAA forecasters say the chances of a geomagnetic storm at mid-latitudes during the next three days is no more than 1%. Aurora alerts: text, voice.​
     
  9. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616

    ข่าวลือ!!

    2) พบดาวมีขนาด 8 เท่าของโลก
    มีอุณหภูมิผิวดาวพันกว่าองศา C
    มีเพชรถึง 3 ใน 4 ส่วนของมวล
    โคจรรอบดวงอาทิตย์ รวยแล้วเรา


    ------------------------------------------
    ดาวเพชรใหญ่กว่าโลก8เท่า
    <TABLE border=5 borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#ffffcc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD class=A2 vAlign=top><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 bgColor=#f5f5f5 align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    พบดาวเพชรใหญ่กว่าโลก8เท่า


    นักวิจัยจากสหรัฐและฝรั่งเศสพบดาวเคราะห์มีพื้นผิวเป็นเพชร ขนาดใหญ่กว่าโลก 8 เท่า โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์


    การค้นพบและความก้าวหน้าทางวิทยาการและเรื่องราวแปลกๆ ในประวัติศาสตร์โลก ล้วนเกิดจากการออกเดินทางสำรวจของมนุษย์ทั้งสิ้น เช่น การค้นพบความจริงว่าโลกไม่ได้กลมของกัปตันเรือผู้ยิ่งใหญ่ชาวอิตาเลียน คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ผู้ค้นพบทวีปอเมริกาคนแรก
    เหตุการณ์นี้ก็จะเป็นการตอกย้ำความจริงข้างต้น เมื่อคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยชื่อดังจากสหรัฐและฝรั่งเศสค้นพบว่าในห้วงอวกาศมีเพชรขนาดใหญ่กว่าโลก หรือกล่าวให้เข้าใจง่ายก็คือ เป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งที่เป็นเพชรทั้งดวงลอยอยู่ และโคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า “55 แคนคลิ”

    ดาว 55 แคลคลิ เป็นดาวเคราะห์ที่มีเพชรอยู่เกือบทั้งพื้นผิวของดาว โดยมีขนาดรวมแล้วมีขนาดใหญ่กว่าเส้นรัศมีรอบโลกถึง 8 เท่า ขณะที่มวลของความหนาแน่นเท่ากับของโลก ทว่าอุณหภูมิของดาวเคราะห์แสนเลอค่าดวงนี้กับมีอุณหภูมิความร้อนของผิวสูงถึง 1,648 องศา


    “ผิวดาวเคราะห์ดวงนี้เป็นไปได้ที่จะปกคลุมด้วยตะกั่วดำและเพชร มากกว่าน้ำและหินแกรนิต” นิคู แมดฮัสฮัน หนึ่งในสมาชิกคณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐ กล่าว
    ขณะที่ โอลิวิเออร์ มูซิส เพื่อนร่วมทีมวิจัยจากสถาบันวิจัยโลกศึกษาและอวกาศในเมืองตูลูส ของฝรั่งเศส ได้ประเมินว่า พื้นที่ 3 ใน 10 ส่วนของดาวเคราะห์นี้อาจเป็นเพชร
    อย่างไรก็ตาม ทีมผู้วิจัยกล่าวอีกว่า การค้นพบนี้ไม่ใช่ครั้งแรก เพราะเคยสำรวจพบมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่ที่น่าตื่นเต้นกว่าอยู่ที่การได้รู้ว่าดาวเคราะห์ดวงนี้โคจรรอบดวงอาทิตย์เหมือนกับโลก รวมถึงมีระยะเวลาโคจรที่ไวมากเพียงแค่ 18 ชั่วโมงเท่านั้น


    นอกจากนี้ สิ่งที่น่าตื่นเต้นและสร้างความประทับใจแก่ผู้สำรวจก็คือ การได้ทราบถึงรายละเอียดเกี่ยวกับดาวเคราะห์ดวงนี้มากขึ้น


    “ทุกดาวเคราะห์มีความซับซ้อน และนี่คือหนึ่งในตัวอย่างดาวเคราะห์ที่คลาคล่ำไปด้วยเพชรและทรัพยากรมีค่า รอให้มนุษย์ค้นหาต่อไป โดยเฉพาะดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้กับโลก” เดวิด สเปอร์เกิล นักวิจัยด้านอวกาศแห่งมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันจากสหรัฐ กล่าว


    แต่ทั้งนี้และทั้งนั้น ไม่ว่าการค้นพบนี้จะนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีที่จะนำไปสู่การขุดแร่และทรัพยากรจากต่างดาวหรือไม่ ที่แน่ๆ แล้วในขณะนี้ก็คือ การค้นพบดังกล่าวกำลังนำไปสู่การค้นพบสิ่งใหม่ๆ ในอนาคตได้อย่างแน่นอน
    เพราะยิ่งค้นหา ก็ยิ่งได้คำตอบมากขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    คุณ kiatp123 ครับ

    ข่าวลือเจ้า "55 แคนคลิ" นี้เป็นเรื่องกุขึ้นมาสนุกๆหรือเปล่าครับ หรือมีแววว่าจะเป็นเรื่องจริงครับ
     
  11. Vking

    Vking เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 เมษายน 2011
    โพสต์:
    474
    ค่าพลัง:
    +1,555
    โอ๊ววว... น่าตื่นเต้น
    เจ้าของภาพบอกว่าถ่ายได้ที่จังหวัดพิษณุโลก 16 ตค. 55
    มีใครเห็นยัง... ถ้าซ้ำขออภัย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2012
  12. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    ต้องmailไปถามนาซ่าซะหน่อย นี่ข่าวลือหรือเปล่า

    คณะนักดาราศาสตร์ค้นพบ "ดาวเพชร"

    วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม 2555 เวลา 00:45 น.
    [​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->
    <!-- /.images-list-container -->
    <!-- /.images-list-wrapper -->

    <!-- /.featured-img -->คณะนักดาราศาสตร์สหรัฐ-ฝรั่งเศส เผยการค้นพบดาวเคราะห์ขนาดใหญ่กว่าโลก 2 เท่า ซึ่งเต็มไปด้วยเพชร และกำลังโคจรรอบดวงดาวห่างจากโลก 40 ล้านปีแสง แต่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
    <!-- /.content -->
    <!-- /#featured-caption -->วันนี้ (11 ต.ค.) สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานจากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ว่า คณะนักดาราศาสตร์สหรัฐ-ฝรั่งเศส เปิดเผยการค้นพบดาวเคราะห์ ที่เต็มไปด้วยหิน ซึ่งมีชื่อว่า “55 Cancri e” มีขนาดใหญ่กว่าโลกมนุษย์ประมาณ 2 เท่า และโคจรรอบดาวดวงหนึ่งคล้ายดวงอาทิตย์ ซึ่งอยู่ในกลุ่มดาวรูปปูของราศีกรกฏ ห่างจากโลกประมาณ 40 ล้านปีแสง และมันเคลื่อนตัวเร็วมากจนปีของที่นั่นใช้เวลาเพียงแค่ 18 ชั่วโมง

    นายนิคคู มาธุสุธาน นักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะที่ค้นพบ เผยว่า ดาวเคราะห์ 55 แคนครี อี มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เท่าของโลก แต่มีความนาแน่นมากกว่า โดยมีมวลมากกว่าโลก 8 เท่า นอกจากนั้นยังเป็นดาวที่ร้อนอย่างเหลือเชื่อ โดยมีอุณหภูมิที่พื้นผิวสูงถึง 1,6748 องศาเซลเซียส คาดว่าที่พื้นผิวถูกปกคลุมด้วยแร่กราไฟต์และเพชร มากกว่าจะเป็นน้ำหรือแร่แกรนิต

    จากการสึกษาโดย โอลิเวอร์ มูซิส แห่งสถาบันวิจัยดาราฟิสิกส์ ในเมืองตูลูส ประเทศฝรั่งเศส ประเมินว่า อย่างน้อย 1 ใน 3 ของมวลของดาว 55 แคนครี อี หรือเท่ากับประมาณมวลของโลก 3 ดวง เป็นเพชร และว่า อาวดวงนี้เคยมการตรวจพบมาก่อน แต่ครั้งนี้นับเป็นครั้งแรก ที่พบว่ามันโคจรรอบดาวคล้ายดวงอาทิตย์ และทราบรายละเอียดการที่เต็มไปด้วยเพชรของมัน

    NASA - First-of-Its-Kind Glimpse at a Super Earth
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2012
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    METEOR MAKES LANDFALL: A small asteroid that exploded over the San Francisco Bay Area on Oct. 17th, shaking houses with its sonic boom, might have scattered pieces of itself on the ground. That's the conclusion of Peter Jenniskens of the NASA Ames Research Center. He triangulated data from a pair of meteor surveillance cameras to determine the fireball's trajectory, denoted by the black arrow in the map below:

    [​IMG]


    "The asteroid entered at a [relatively slow] speed of 14 km/s. There's a good chance that a fairly large fraction of this rock survived and fell somewhere around the North Bay," says Jenniskens. "Much more accurate results will follow from a comprehensive study of the video records. Now, we hope that someone recovers a meteorite on the ground."​


    In the map, red dots represent the surveillance cameras Jenniskens used to calculate the trajectory. The black arrow traces the asteroid's path; 85 km and 39 km are the altitudes of the asteroid at the two ends of the arrow. Jenniskens adds that "39 km is not the end point, but the final bit captured by the San Mateo video camera." The disintegrating asteroid continued beyond the tip of the arrow for a possible landfall somewhere north of San Francisco. Stay tuned for updates on the meteorite hunt.

    วันที่ 17 ที่ผ่านมามีอุกาบาต ความเร็ว 14km/s (ช้ามาก) แต่ทำให้เกิด sonic boom และ บ้านแถวอ่าวซานฟรานซิโก สั่นสะเทือน และคาดว่ามันก็แตกออกเป็นเสี่ยงๆ และมีความเป็นไปได้ที่ชิ้นส่วนที่ใหญ่จะตกลงทางเหนือของอ่าว

    ปล. นี่ขนาดลูกไม่ใหญ่ และความเร็วต่ำๆ ยังขนาดนี้เลย :boo:


    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2012
  14. Thongkerd

    Thongkerd เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    172
    ค่าพลัง:
    +152
    ดาวของ ซุปเปอร์แมนหรือเปล่า ดาวคริสตัลนะ
     
  15. kittapass

    kittapass เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +257
    ดาวเพชรถ้ามีปัญญาก็ไปเอาตั้ง
    40 ล้านปีแสง
     
  16. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ถ้าใช้วิธีจำศีลอาจไปได้ กลับมาคงจำเครือญาติ ตัวเองไม่ได้เลย :D
     
  17. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2012
  18. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    ถ้าดูจากค่า K เพียงค่าเดียว วันนี้คงเป็นวันสบายๆ อีกวันหนึ่งนะครับ
     
  19. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    X-FLARE: Earth orbiting satellites have just detected an X1-class solar flare (Oct. 23 @ 0322 UT) from big sunspot AR1598. NASA's Solar Dynamics Observatory recorded the extreme ultraviolet flash:​
    [​IMG]

    Radiation from the flare created waves of ionization in the upper atmosphere over Asia and Australia (the daylit side of Earth) and possibly HF radio blackouts at high latitudes. It is too soon to say whether the blast also hurled a coronal mass ejection (CME) into space. Stay tuned for updates. Solar flare alerts: text, voice.

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 ตุลาคม 2012
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    October 21, 2012

    Diagram of the solar flare activity

    X-ray emission of the Sun from 20.10.2012 to 21.10.2012 (GOES-15)
    [​IMG]

    Solar flares today

    Today, 10 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C7.8</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">02:54:00</td> <td class="center">03:08:00</td> <td class="center">03:16:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C5.6</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">05:24:00</td> <td class="center">05:34:00</td> <td class="center">05:46:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.1</td> <td class="center">1596</td> <td class="center">11:06:00</td> <td class="center">11:09:00</td> <td class="center">11:18:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.8</td> <td class="center">1596</td> <td class="center">12:58:00</td> <td class="center">13:16:00</td> <td class="center">13:32:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.1</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">17:52:00</td> <td class="center">18:18:00</td> <td class="center">18:31:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.2</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">18:42:00</td> <td class="center">18:45:00</td> <td class="center">18:48:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class M1.3</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">19:46:00</td> <td class="center">20:03:00</td> <td class="center">20:20:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.1</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">21:45:00</td> <td class="center">21:51:00</td> <td class="center">21:59:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.2</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">22:38:00</td> <td class="center">23:00:00</td> <td class="center">23:08:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.2</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">23:39:00</td> <td class="center">23:48:00</td> <td class="center">23:53:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> </tbody></table>
    Solar flares yesterday

    Yesterday, 4 solar flares were observed:

    <table class="table_4" cellpadding="0" cellspacing="0" width="750"><tbody><tr> <th width="1%"> </th> <th align="left" width="1%"> </th> <th>Active region</th> <th>Begin, UT</th> <th>Max, UT</th> <th>End, UT</th> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C1.8</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">14:29:00</td> <td class="center">14:48:00</td> <td class="center">15:03:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.4</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">17:18:00</td> <td class="center">17:37:00</td> <td class="center">17:46:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class M9.0</td> <td class="center">1598</td> <td class="center">18:05:00</td> <td class="center">18:14:00</td> <td class="center">18:19:00</td> </tr> <tr> <td colspan="6" style="height:8px;">
    </td> </tr> <tr> <td nowrap="nowrap">[​IMG]</td> <td align="left" nowrap="nowrap">Flare of class C2.7</td> <td class="center">1596</td> <td class="center">20:02:00</td> <td class="center">20:10:00</td> <td class="center">20:22:00</td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...