จิ. เจ. รุ. นิ.

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 31 สิงหาคม 2012.

  1. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    พระอภิธรรมสามารถปรากฎขึ้นได้ในโลกนี้
    พระอภิธรรมสามารถปรากฎขึ้นได้ในโลกนี้ ก็ด้วยสัพพัญญุตญาณ
    ธรรมดาสภาวะธรรมทั้งหลาย คือรูปนามทั้ง 2 อย่างนี้มีอยู่แล้วในโลกนี้
    หากแต่ไม่มีใครสามารถแสดงขึ้นมาให้ปรากฎขึ้นได้เท่านั้น
    นอกจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เดียว

    แม้แต่พระปัจเจกพุทธเจ้าก็ยังไม่สามารถจะแสงให้ปรากฎขึ้นได้
    อุปมาเหมือนแสงไฟฟ้า เครื่องรับวิทยุ เครื่องโทรศัพท์ โทรเลข เรือบิน เป็นต้นเหล่านี้
    ในระหว่างที่ยังไม่มีผู้คิดขึ้น ทำขึ้น ย่อมมีอยู่แล้วในโลก
    ต่อมาเมื่อมีผู้สามารถค้นคว้าประดิษฐ์ขึ้นมาให้เป็นประโยขน์แก่มนุษย์ทั้งหลายได้แล้วนั้น
    สิ่งต่างๆเหล่านี้ก็ปรากฎขึ้นในโลกตลอดจนปัจจุบัน

    ข้อนี้ฉันใด พระอภิธรรมก็เช่นเดียวกัน สภาวะมีอยู่แล้วแต่ผู้ที่สามารถทำให้ปรากฎขึ้นไม่มี
    สภาวะธรรมนั้นก็ย่อมไม่ปรากฎ ต่อเมื่อมีผู้ที่สามารถค้นพบและนำมาแสดงให้ปรากฎได้
    ซึ่งก็ได้แก่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเจ้านั้น สภาวะธรรมเหล่านั้นก็ปรากฎขึ้นทันที

    ฉะนั้น พระอภิธรรม อันเป็นธรรมที่เกี่ยวกับสภาวะที่ปรากฎขึ้นได้นั้น ก็ต้องอาศัยญาณอันสูงสุด
    ซึ่งได้แก่พระสัพพัญญุตญาณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นที่พระองค์ทรงค้นพบ
    และนำมาแสดงให้ปรากฎในโลก กับทรงสอนให้บุคคลชั้นหลังๆเข้าใจได้ด้วย

    ดังมีสาธกบาลีแสดงไว้ในปิฎกปริวารพระบาลีว่า

    พุทฺจนฺเท อนุปฺปนฺเน พุทฺธาทิจฺเจ นุคฺคเต
    เตสํ สภาวธมฺมานํ นามมตฺตํ น นายติ

    แปลความว่า พระจันทร์ คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าถ้าไม่อุบัติขึ้น
    พระอาทิตย์ คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าถ้าไม่ปรากฎขึ้น ผู้หนึ่งผู้ใดก็ตาม
    เพียงแต่ชื่อของสภาวธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ก็ไม่สามารถที่จะรู้ได้เลย

    อนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย แม้ว่าจะเป็นผู้ตรัสรู้สภาวธรรมเองก็ตาม
    แต่ความรู้ของพระปัจเจกพุทธเจ้านี้ จะเทียบเท่ากับความรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ไม่
    ฉะนั้น การรู้สภาวธรรมของพระปัจเจกพุทธเจ้า จึงรู้เพียง 1 ในร้อยส่วนของพระอภิธรรมเท่านั้น
    และส่วนหนึ่งที่รู้นั้น ก็รู้เพียงอรรถรส ไม่ใช่เป็นธรรมรส คือไม่สามารถที่จะแสดงให้สัตว์ทั้งลายรู้ตามได้
    ซึ่งถ้าจะเปรียบเทียบกับความรู้แห่งสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว
    สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ยังดีกว่า เพราะรู้ในธรรมรส

    ฉะนั้นท่านพระอรรถกถาจารย์จึงแสดงไว้ในอัฏฐสาลินีอรรถกถา
    ว่า " อภิธมฺโม นาม น อญฺเญสํ วิสโย สพฺพญ์ญุทฺธานํ เยว วิสโย เตสํ เทเสตพฺพเทสนา "
    แปลว่า ที่ชื่อว่า พระอภิธรรม เพราะไม่ใช่เป็นวิสัยของผู้อื่น
    เป็นวิสัยของพระสัพพัญญูสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น และการแสดงที่ปรากฎขึ้นได้
    ก็โดยอำนาจแห่งพระสัพพัญญูพระสัมมาสัมพุทเจ้าทั้งหลายนั้นเอง
     
  2. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=contentheading>วิดีโอ : บรรยายธรรม</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=setblartcllist border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class="sectiontableheader seth_title">รายการหัวเรื่อง </TD><TD class="sectiontableheader seth_hits">ผู้ที่สนใจ </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๑/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>432 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๒/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>196 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๓/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>159 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๔/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>179 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๕/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>160 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๖/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>156 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๗/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>130 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๘/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>130 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๐๙/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>140 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๐/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>167 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๑/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>144 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๒/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>109 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๓/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>108 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๔/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>143 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๕/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>141 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๖/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>122 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๗/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>105 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๘/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>104 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๑๙/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>126 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๐/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>149 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๑/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>142 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๒/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>124 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๔/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>119 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๕/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>99 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๖/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>102 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๗/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>136 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๘/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>107 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๒๙/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>114 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๐/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>129 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๑/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>129 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๒/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>116 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๓/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>120 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๔/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>92 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๕/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>121 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๖/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>150 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๗/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>142 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๘/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>131 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๓๙/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>120 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๔๐/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>136 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๔๑/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>145 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๔๒/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>134 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๔๓/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>125 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรม ตอนที่ ๔๔/๔๔

    </TD><TD class=setd_hits>138 </TD></TR></TBODY></TABLE><INPUT value=28 type=hidden name=sectionid> <INPUT type=hidden name=filter_order> <INPUT type=hidden name=filter_order_Dir>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 2 กันยายน 2012
  3. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=contentheading>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น ที่วัดจากแดง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=setblartcllist border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class="sectiontableheader seth_title">รายการหัวเรื่อง </TD><TD class="sectiontableheader seth_hits">ผู้ที่สนใจ </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๑/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>373 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๒/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>186 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๓/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>150 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๔/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>154 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๕/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>161 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๑ (๖/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>130 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๑/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>121 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๒/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>120 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๓/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>126 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๔/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>116 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๕/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>86 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๒ (๖/๖)
    </TD><TD class=setd_hits>85 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๑/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>106 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๒/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>110 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๓/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>86 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๔/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>90 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๕/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>89 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๖/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>112 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๗/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>105 </TD></TR><TR class=sectiontableentry2><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๘/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>111 </TD></TR><TR class=sectiontableentry1><TD class=setd_title>เรียนพระอภิธรรมระยะสั้น สัปดาห์ที่ ๓ (๙/๙)
    </TD><TD class=setd_hits>131 </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    หากกล่าวว่า ไม่มีใครเสมอเหมือน
    การจำแนกธรรมดั่งพระศาสดา

    น่าฟังกว่าเสียอีก

    ยิ่งหากจะบอกว่า พระอภิธรรมไม่ใช่ วิสัยของผู้อื่น
    เช่นนั้นแล้ว คงไม่มีใครบรรลุธรรม จากจากพระพุทธเจ้า


    อุปมาเหมือนแสงไฟฟ้า เครื่องรับวิทยุ เครื่องโทรศัพท์ โทรเลข เรือบิน เป็นต้นเหล่านี้
    ในระหว่างที่ยังไม่มีผู้คิดขึ้น ทำขึ้น ย่อมมีอยู่แล้วในโลก
    ต่อมาเมื่อมีผู้สามารถค้นคว้าประดิษฐ์ขึ้นมา
    ให้เป็นประโยขน์แก่มนุษย์ทั้งหลายได้แล้วนั้น
    แล้วก็บันทึกกันเป็นตำหรับตำรา วิธีทำ
    แสงไฟฟ้า เครื่องรับวิทยุ เครื่องโทรศัพท์ โทรเลข เรือบิน เป็นต้นฯ
    เมื่อมีผู้ไปทำตามตำราที่ได้เขียนไว้แล้วนั้น ก็ทำให้ มี
    สิ่งต่างๆเหล่านี้ก็ปรากฎขึ้นในโลกตลอดจนปัจจุบัน
    ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย สืบต่อๆมา

    ข้อนี้ฉันใด พระอภิธรรมก็เช่นเดียวกัน

    สภาวะมีอยู่แล้วแต่ผู้ที่สามารถทำให้ปรากฎขึ้นนั้น ก็ต่อเมื่อ
    ทำตามวิธี ที่พระสงฆ์สาวกได้กล่าวคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
     
  5. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    ตามบทความข้างต้นเมื่ออ่านทั้งหมดของบทความ
    สรุปข้อเท็จจริงฟังได้ว่า

    พระอภิธรรม เป็นวิสัยของพระสัพพัญญูพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น
    จะเป็นผู้ค้นพบ และแสดงให้ปรากฎได้ ไม่ใช่วิสัยของผู้อื่น

    หากอ่านด้วยความประมาท
    จับประเ็ด็นได้เพียงบางช่วงบางตอน
    ก็จะไม่สามารถเข้าถึงเจตนาของผู้เขียนบทความ
    และทำให้เข้าใจสาระที่ผู้เขียนบทความต้องการสื่อสาร
    ผิดเพี้ยนไปได้

    บทความจะงดงามได้ ก็ด้วยสาระบริบทที่งดงามของตัวบทความเอง
    ส่วนภาษาที่สละสลวย เป็นเพียงเครื่องปรุงแต่ง
    ให้บทความน่าอ่านและงดงามยิ่งขึ้น
    อุปมาเปรียบคนจิตใจงาม แสดงออกด้วยกิริยาที่งดงาม
    ก็งามทั้งกิริยาภายนอกคือทางกาย และกิริยาภายในคือทางใจ
     
  6. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    อ่านหลายรอบ
    ทั้งคุณปราบเทวดา และ เตชพโล
    ทั้งสองกระทู้นั้น ผมก็เห็นว่ามันไม่ขัดกันตรงไหนเลย
     
  7. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    สองกระทู้นี้ไม่ขัดเพราะไม่ได้เขียนให้มันขัดกัน
    ก็เมื่อเจตนาไม่เขียนให้มันขัดกันมันก็ไ่ม่ขัดกัน

    ถ้าเจตนาเขียนให้มันขัดกัน มันก็รู้ได้นั่นแหละว่าขัดกัน
    แล้วจะเขียนให้มันขัดกันไปทำไม
     
  8. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
     
  9. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    สนทนาด้วยดังนี้ครับ
    การเรียนพระอภิธรรมนั้น ก็ไม่พ้นไปจาก รูปกับนาม ขันธ์ ๕
    [​IMG]
    หรือ จิต เจตสิก รูป นิพพานได้เลย โดยเป็นการศึกษาปรมัตถ์ล้วนๆ
    ซึ่งเป็นการปฏิเสธตัวตน ฉะนั้นการศึกษาพระอภิธรรมนั้นกว้างขวางมาก
    มีถึง ๒๔.๐๐๐ พระธรรมขันธ์ เท่าที่มีการศึกษากันทุกวันนี้ใช้เวลาศึกษากัน ๘ ปี
    ถึงจบในชั้นการศึกษาเท่านั้น โดยแบ่งชั้นการศึกษาออกไปเป็น ๙ ชั้น
    แต่จะให้จบในคำสอนนั้นต้องใช้เวลาเรียนมาก
    ดังที่มีอาจารย์ ปราโมช น้อยวัฒน์กล่าวไว้ว่า อาจารย์ ปราณีต ก้องสมุทร
    ท่านเดียวเท่านั้นที่สอนคำภีร์มหาปัฎฐานจบ ใช้เวลาสอนนานถึง ๓๐ ปี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 กันยายน 2012
  10. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    แนะนำครับ........
    สนใจศึกษาพระอภิธรรมบ้างไหมล่ะ
    ดังมีสมาชิกท่านหนึ่งที่ชื่อว่าหลงเข้ามาได้บวชเป็นพระ
    และได้ศึกษาพระอภิธรรมชั้จูฬตรีชั้นเบื้องต้นอยู่ที่สำนักเรียนวัดมหาธาตุ
    ท่านใดว่างๆ ลองไปกราบหรือทักทายท่านบ้างก็ได้นะครับ ตั้งแต่เวลาบ่ายโมง เป็นต้นไป
    แต่ไม่ทราบว่าท่านจะมาเรียนทุกวันหรือเปล่า หรือจะเฉพาะเสาร์อาทิตย์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 กันยายน 2012
  11. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    ประวัติการศึกษาพระอภิธรรมในประเทศไทย

    สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี

    พญาลิไทซึ่งเป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหง ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือไตรภูมิพระร่วง เมื่อ พ.ศ ๑๘๙๖

    โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษาพระอภิธรรมของพระพุทธเจ้าไว้ และเพื่อโปรดพระราชมารดา รวมทั้งประชาราษฎร์ทั่วไปให้เข้าใจเรื่องกรรมและผลของกรรมของมนุษย์สัตว์ทั้งหลาย

    ในหนังสือ กล่าวถึง จิต เจตสิก และรูป ในคนและสัตว์ที่มีการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน ๓๑ ภูมิ ของกาม ภพ รูปภพ และอรูปภพอยู่ และแสดงถึงว่า นิพพานเป็นสภาวะที่พ้นจากความ ทุกข์ทั้งปวงเหล่านั้น

    ตั้งแต่รัชสมัยของกรุงศรีอยุธยา พอมีหลักฐานอยู่บ้างว่า มีการ สวดพระอภิธรรมเป็นพิธีกรรมในการบำเพ็ญกุศลให้แก่ศพ

    แต่เนื่องจากพระอภิธรรมเป็นธรรมะชั้นสูง ลึกซึ้ง จึงมีความสนใจกันไม่มากนักเมื่อถึง พ.ศ. ๒๓๑๐ ไทยเสียบ้านเมืองกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า บ้านเมืองระส่ำระสาย ขาดผู้นำที่จะทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา พระอภิธรรมซึ่งธรรมดาเป็นเรื่องที่ยากอยู่แล้ว ก็ยิ่งไม่ค่อยมีสนใจขาดการศึกษาไป

    ต่อมาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    เริ่มตั้งแต่รัชกาลที่ ๑

    พระองค์ได้ให้มีการสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้น ทบทวนเนื้อความในพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎกและพระอภิธัมมปิฎก พระพุทธศาสนาจึงได้รุ่งเรื่องต่อไป ถึงรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๓ รัชกาลที่ ๔ รัชกาลที่ ๕ และต่อๆ มาจนถึงรัชกาลที่ ๙ ในปัจจุบันนี้ในประเทศไทย

    ในหนังสือตำนานพระอภิธรรม โดยอาจารย์ธนิต อยู่โพธิ์กล่าวไว้ว่า มีการสวดศพด้วยพระอภิธรรมอย่างจริงจัง เมื่อประมาณต้นรัชกาลที่ ๕ ( เสวยราชย์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓ )

    มีหลักฐานเป็นหนังสือ ๒ เล่ม คือ อภิธัมมัตถสังคหะ แปลร้อยอย่างพิศดาร พิมพ์ครั้งที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๐ และหนังสืออภิธัมฉบับสมบูรณ์ โดยนำเอาเทศนาพิศดารของเก่า พิมพ์ไว้เมื่อปีพ.ศ. ๒๔๗๐ ดังที่ระบุไว้ที่คำนำ มาพิมพ์ใหม่โดยสำนักพิมพ์เลี่ยงเซียงในปี ๒๔๙๔ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการศึกษาพระอภิธรรมและกุศโลบายของบรรพบุรุษไทยในการสืบทอดความรู้พระอภิธรรมได้ทำกันมาอย่างต่อเนื่อง

    ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ พระอาจารย์พม่า ภัททันตวิลาสะ เจ้าอาวาสวัดปรก ตรอกจันทร์ เขตยานนาวา กทม.ได้เริ่มทำการสอนวิปัสสนาภาวนาตามนัยแห่งพระอภิธรรม เกิดได้ลูกศิษย์ที่สำคัญคนหนึ่ง คือ แนบ มหานีรานนท์ ซึ่งเรียนพระอภิธรรมทั้งภาคปริยัติ และปฏิบัติอยู่หลายปี จนพระอาจารย์ให้อาจารย์แนบนี้ทำหน้าที่สอนวิปัสสนาและพระอภิธรรมแทนท่าน

    และท่านได้เชิญอาจารย์ฆราวาสพม่า คืออาจารย์สาย สายเกษม จากจังหวัดลำปาง มาช่วยการศึกษาปริยัติและปฏิบัติธรรมโดยนัยอภิธรรม จึงเริ่มมีการสอนเป็นชั้น เรียนที่แน่นอนขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ทีวัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี โดยมีท่านเจ้าคุณพระภาวนาภิรามเถระ (สุข ปวโร) เป็นอาจารย์ใหญ่ร่วมกับอาจารย์สาย อาจารย์แนบ และพระทิพย์ปริญญา (ซึ่งทั้งหมดเป็นศิษย์ของพระอาจารย์ภัททันตวิลาสะทั้งสิ้น)

    การสอนกระทำโดยใช้ตำราพระอภิธัมมัตถสังคหะ ๙ ปริจเฉท เป็นบันทัดฐาน ในระหว่างนี้ก็มีการเปิดการศึกษาและการสอนปริยัติและปฏิบัติทางพระอภิธรรมขึ้นที่วัดสามพระยา วัดมหาธาตุ ฯ กทม. และต่างจังหวัด เช่น อยุธยา ลพบุรี ฯลฯ อีกหลายจังหวัด

    จากโอวาทหลวงพ่อวัดปากน้ำเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ ก็ได้กล่าวไว้ว่า พระทิพย์ปริญญาสอนอภิธรรมให้กับพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกาที่วัดปากน้ำ หลวงพ่อวัดปากน้ำจึงเทศน์ เรื่องจิตปรมัตถ์เพื่อเกื้อกูลแก่ผู้กำลังศึกษาพระอภิธรรม

    พ.ศ. ๒๔๙๑ ท่านเจ้าคุณพระพิมลธรรม (พระอาสภะเถระ) เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุฯ ได้ติดต่อก้บรัฐบาลประเทศพม่า (ฯพณฯ อูนุเป็นนายกรัฐมนตรี) ขอให้ส่งพระผู้เชี่ยวชาญพระอภิธรรม มาช่วยสอนในประเทศไทย สภาแห่งคณะสงฆ์พม่าจึงส่ง พระอาจารย์สัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ และพระอาจารย์เตชินทะ ธัมมาจริยะ มาจำพรรษาเริ่มแรกอยู่ที่วัดปรก เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๒

    แล้วต่อไปก็ย้ายไปสอนพระอภิธรรม ที่วัดระฆังฯ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้มีการเปิดการสอนพระอภิธรรมขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่ “โรงเรียนบรรยายอภิธรรมปิฏก” ที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ

    อีก ๔ ปีต่อมาก็มีการจัดตั้ง “พระอภิธรรมมูลนิธิ” ขึ้นโดยอาจารย์บุญมี เมธางกูร รับผิดชอบเรื่องการสอนพระอภิธรรมร่วมกับอาจารย์แนบและคุณพระชาญบรรณกิจขยายการสอนให้มีมากขึ้น ซึ่งต่อมาอภิธรรมมูลนิธิ ก็ย้ายตามพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยไปอยู่ที่ถนนพระอาทิตย์

    แล้วแยกตัวออกจากพุทธสมาคมฯ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ไปเปิดการสอนต่อที่โรงเรียนมงคลพิทย์ วัดพระเชตุพลฯ และพอถึงปลายปี พ.ศ. ๒๕๒๙ อภิธรรมมูลนิธิก็ย้ายออกไปจากวัดพระเชตุพลฯ ไปเปิดที่ทำการใหม่อยู่ตรงข้ามกับพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม แล้ววัดพระเชตุพลฯ ก็จัดตั้งมูลนิธิวัดพระเชตุพนฯ ขึ้นทำการสอนพระอภิธรรมต่อไปที่ “โรงเรียนพระอภิธรรมมงคลทิพยมุนี” ทีนั้นพระอภิธรรมจึงได้มีการศึกษาและสอนที่วัดพระเชตุพนฯ เป็นเวลา ๒๖ ปีมาแล้วตราบเท่าทุกวันนี้

    พระอาจารย์เตชินทะ สอนพระอภิธรรมอยู่ไม่นานนักก็เดินทางกลับไปพม่าแล้วไม่ได้กลับมา ส่วนพระอาจารย์สัทธัมมโชติกะ อยู่สอนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ พอถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้ตั้ง “อภิธรรมมหาวิทยาลัย” ขึ้นที่ วัดระฆังฯ มีหลักสูตรอภิธรรมตรี (๑ ปี ๖ เดือน) อภิธรรมโท (๓ ปี) และอภิธรรมเอก (๓ ปี) รวมหลักสูตรอภิธรรมทั้งหมด ๗ ปีครึ่งสำเร็จได้เป็นอภิธรรมบัณฑิต ซึ่งสามารถศึกษาต่อในระดับอาจารย์อีก ๖ ชั้นต่อไป โดยต้องทำการศึกษาค้นคว้าเอง เขียนวิทยานิพนธ์ และมีการสอบอภิธรรมบัณฑิตชั้นสูงทุกปี

    ต่อมาที่วัดมหาธาตุฯ ได้มีการสอนอภิธรรมขึ้นที่โรงเรียน “อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย” ในปีพ.ศ. ๒๕๑๑ ขึ้นและในปีต่อๆ มาก็มีการเปิดสำนักเรียนพระอภิธรรมตามวัดต่างๆ ในต่างจังหวัดอีกไม่ต่ำกว่า ๕๐ แห่ง

    นับว่าเป็นความก้าวหน้าในด้านการศึกษาพระอภิธรรมในประเทศไทยมิใช่น้อยเลย นับได้ว่าเริ่มต้นที่พระอาจารย์พม่าภันทันตะวิลาสะ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ พ.ศ. ๒๔๙๐ ต่อด้วยพระอาจารย์พม่า สัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ ซึ่งเป็นผู้ตั้งต้นวางรากฐานการศึกษาพระอภิธรรม โดยเมื่อท่านมาสอนพระอภิธรรมทั้งภาคปริยัติและภาคปฏิบัติที่วัดระฆังฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓

    ในตอนแรกต้องใช้ล่ามช่วยแปล ต่อมาอีก ๑ ปี เมื่อท่านเรียนภาษาไทยได้แล้ว นอกจากสอนแล้ว ท่านยัง เขียนตำราเรียนเป็นภาษาไทย จัดวางหลักสูตรการศึกษาพระอภิธรรมเป็นชั้นๆ ตามลำดับขั้นตอน ดังกล่าวมาแล้ว ทั้งนี้โดยใช้ตำราอภิธรรมมัตถสังคห ๙ ปริเฉทเป็นบรรทัดฐาน ผู้ที่ศึกษาตำรานี้จบแล้ว ก็อาจไปศึกษาต่อในพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ภาษาบาลีและภาษาไทยต่อไปอีกได้

    จะเห็นได้ว่าการศึกษาพระอภิธรรมในประเทศไทยได้ดำเนินการมาในระยะเวลาไม่นานมานี้คือเป็นระยะเวลาประมาณ ๖๐ ปีเท่านั้น และยังไม่ได้รับความนิยมสนใจจากพระพุทธศาสนิกชน นักศึกษาธรรมะกันมาก

    ผลการศึกษาพระอภิธรรมในปีแรกๆ นั้นมีจำนวนน้อยมาก เพราะยังไม่มีการวัดผลของการศึกษาที่ดี ต่อมา “อภิธรรมมหาวิทยาลัย” ได้จัดให้มีการสอบขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ มีผู้จบหลักสูตรการศึกษาพระอภิธรรมเป็น “ อภิธรรมบัณฑิต ” เป็นรุ่นแรกของการศึกษา เป็นพระภิกษุ สามเณร แม่ชี อุบาสก อุบาสิกาต่างๆ เท่าที่มีการศึกษาและการสอนพระอภิธรรมเป็นเวลา ๖๐ ปี ที่แล้วมานี้ มีนักศึกษาที่สอบไล่สำเร็จอภิธรรมตรี โท เอก ประมาณกว่าหนึ่งพันคน และที่ได้ “อภิธรรมบัณฑิต” ประมาณ ๒๐ ท่าน แม้ปัจจุบันนี้ ก็มีนักศึกษาพระอภิธรรมในกรุงเทพฯ ไม่กี่ร้อยคน รวมกับต่างจังหวัดด้วยแล้วมีประมาณพันกว่าคน สำหรับครูอาจารย์ที่สอนพระอภิธรรมนั้นก็มีเป็นจำนวนไม่ถึงร้อย เนื่องจากเป็นการศึกษาเกี่ยวกับจิต จึงมีคนสนใจน้อยในยุคปัจจุบัน

    ปัจจุบันมีการผนวกเอาอภิธรรมโชติกะ วิทยาลัย เข้าเป็นส่วนหนึ่งของมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัดมหาธาตุฯ ผู้ที่เรียนจบ อภิธรรมบัณฑิต ได้รับการรับรองเท่าจบปริญญาตรี

    เนื้อความโดยมากจาก มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ



    จิรัง ติฏฐตุ สัทธัมโม ขอพระสัทธรรมจงคงอยู่ชั่วกาลนาน
     
  12. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ...................ผมตกข่าว หลวงพี่แฮะ:cool:
     
  13. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    ๕๕๕ ได้แต่เดินเลาะๆอยู่แถวนั้นนั่นแหละ พลาสติก
    ไปทักทายท่านบ้างซิ ท่านบวชอยู่วัดมหาธาตุนั่นแหละ
     
  14. JitJailove

    JitJailove เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    736
    ค่าพลัง:
    +741
    [​IMG]


    มุมมองใหม่
    ถ้าเราอยู่บนดาวอังคาร สิ่งที่เราจะเห็นบนท้องฟ้าคือ
    ดาววีนัส ดาวพฤหัส และ โลก

    ถ้าเป็นเรื่องของคน ก็คง ใจเค้าใจเรา
    บางทีเราก็เดาใจเค้าไม่ได้
    บางทีเค้าก็ไม่เข้าใจในใจเรา

    วุ่นวายหนอ
     
  15. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    ไปอยู่ด้วยซิ ที่นี่วุ่นวายหนอ ๆ
     
  16. GoingMarry

    GoingMarry เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +124
    เอ้า หลวงพี่หลงบวชแล้วเหรอ ถึงว่าไม่ค่อยเจอ
    อนุโมทนานะครับ
     
  17. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ครับลุงหมาน ผมมีเวลาไม่มาก
    ขอ 7วัน 7เดือน 7ปี เท่าที่จะทำได้ก็แล้วกัน
     
  18. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    หาใจให้เจอ ดีกว่าเที่ยวหาวัตถุ
    "สิ่งอันประเสริฐที่มีอยู่เฉพาะหน้าแล้วไม่สนใจ
    กลับไปหวังไกลถึงสิ่งที่เป็นเพียงการกล่าวถึง
    เป็นลักษณะของคนไม่เอาไหนเลย...
    ก็ในเมื่อมรรคผลนิพพานในศาสนาสมณโคดมในปัจจุบันนี้
    ยังมีอยู่อย่างสมบูรณ์ กลับเหลวไหลไม่สนใจ
    เมื่อถึงศาสนาพระศรีอาริย์ก็ยิ่งเหลวไหลมากกว่านี้อีก"

    "คนเราทุกวันนี้ เป็นทุกข์เพราะความคิด"
    ครูบาอาจารย์ที่มีคุณธรรมท่านกล่าวไว้ดีแล้ว ก็ควรน้อมนำมาใส่ตน
    เพื่อสับเปลียนพฤติกรรมที่เลวทรามภายในตนให้หมดไปก่อนเป็นอันดับแรก
    เมื่อเปลียนพฤติกรรมภายในตนได้แล้วดีแล้ว ย่อมจะเห็นผู้อื่นหรือสิ่งอื่นดีหมด

    ที่เป็นทุกข์กันทุกวันนี้เพราะภายในมันเสีย ทำให้มองดูภายนอกเสียไปด้วย
    เพราะเหตุว่าภายในมันเสียนั่นเอง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์
    อันจะต้องกระทบและสัมผัสกับทวารทั้งทั้ง 6 ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้มีทั้งดีและไม่ดี

    ตามผลของกรรมที่กระทำไว้ในอดีต ที่ส่งผลมาเป็นปัจจุบัน อาจถามว่าแก้อย่างไร
    ก็ขอบอกว่าแก้ที่จิตที่ขณะกระทบกับ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คัณทารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์
    ธรรมารมณ์ เหล่านี้เท่านั้น (ไม่ต้องมุ่งหวังจะต้องไปแก้กันที่คน)

    บางคนอาจหยิบยืมคำสอนของครูบาอาจารย์เที่ยวยื่นให้ผู้อื่นทำดี ก็มุ่งหวังว่าจิตใจเราจะได้ดีไปด้วย
    ถ้าเป็นเช่นนี้ก็เท่ากับแก้ที่ สิ่งภายนอกที่จะมากระทบกับจิตเพื่อให้จิตเรารับแต่สิ่งดีๆ
    เพื่อเป็นที่ชอบใจของกิเลสตัณหาภายในนั่นเอง เมื่อถูกใจกิเลสตัณหาก็ยิ่งทวีมากขึ้น
    "เราจะลดหรือเราจะเพิ่ม"

    เป็นความคิดเห็นส่วนตัวที่ได้ศึกษามาจึงเห็นประโยชน์
    นำมาประยุกต์ใช้กับปัจจุบันได้อย่างมีความสุข
    เมื่อปัจจุบันดี อนาคตก็ย่อมดี

    ไม่ต้องคำนึงถึงอดีตมันเป็นสิ่งที่ปวดร้าวเสียมากกว่า
    มิหนำซ้ำก็ยังแก้ไขก็ไม่ได้ด้วย
     
  19. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    มนุษย์ที่เป็นปุถุชนนั้นยังมืดบอด หนาแน่นไปด้วยกิเลส
    ความทุกข์ใจของมนุษย์มีมากมายสารพัด และคอยที่จะบั่นทอนสุขภาพจิตของตนเอง เบียดเบียนจิตใจตนเองให้ผิดปกติแล้วยังไม่พอ
    มนุษย์ผู้มีจิตใจมืดบอดเลวร้ายเป็นทวีคูณ ก็คิดที่จะแก่งแย่งกัน เอาเปรียบกัน กระพือโหมกิเลสตัณหาในใจตนให้หนักยิ่งขึ้น จนเป็นบาป เป็นอกุศล
    เป็นทุกข์ทางใจ เป็นมโนกรรม ความชั่วแผดเผาจิตใจตนเองให้เร่าร้อน จนทะลักออกไปทางปาก เป็นวจีกรรม และทางกายเป็นกายกรรม..ชั่ว..
    ก่อทุกข์ก่อโทษให้สังคม แม้แต่ในครอบครัวตนเอง จนลุกลามใหญ่โตไปทำความเดือดร้อนให้แก่สังคม

    มนุษย์ผู้มืดบอดด้วยโมหะ อวิชชา มิจฉาทิฏฐิ กิเลส ตัณหา จึงหลงมัวเมาไปใน สุขเวทนา อันเป็นอิฏฐารมณ์
    จากกามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส พากันตกเป็นทาสอารมณ์ ทาสวัตถุ อย่างมีปัญญาอันถูกซ่อนเล้นสลับซับซ้อนที่ถูกทับถม

    ก็จะเป็นอะไรกันถึงขนาดนั้น เพื่อหวังยื้อแย่ง ช่วงชิง หวงแหน ลืมทุกสิ่งทุกอย่าง แม้กระทั่งสุขภาพจิตและสุขภาพกายตน
    ใฝ่ฝันที่จะได้มี ได้เป็น ไม่สมหวังก็โกรธ เคียดแค้น อิจฉาริษยา แก่งแย่ง ชิงดีเพื่อเอาลัดเอาเปรียบอย่างไร้ขอบเขต
    ช่างน่าสมเพชเวทนาเป็นยิ่งนัก..... มนุษย์ปกติจะเห็นและเข้าใจ กงจักรว่าเป็นดอกบัว ไม่กำหนดรู้ทุกข์ทางกาย และใจ
    ว่าสาเหตุของทุกข์นั้นมันคืออะไร แล้วจัดการดับทุกข์นั้นลงให้ตรงสาเหตุ ให้ขาดสะบั้นไป.....

    มนุษย์.....เป็นสัตว์ชนิดเดียว ที่สามารถศึกษามหาวิทยาลัยโลก คือ จิตใจที่ควบคุมกายนี้ แต่มักไม่ชอบศึกษา
    เพราะมันไม่สนุกเหมือนกับการได้ศึกษาโลกภายนอก คือ กามคุณทั้ง 5 นั่นเอง จึงถูกกงจักรปั่นอยู่บนศีรษะจนเลือดไหลโทรมแล้วโทรมอีก
    ก็หารู้สึกตัวไม่ เหมือนแมลงเม่าที่หลงผิดไปว่า ไฟนั้นให้ความสุขสนุกสนานแก่ตนได้ จึงพากันบินเข้าสู่กองไฟ ตายไปเสียนักต่อนักแล้ว
    จงเรียนรู้สัจจธรรม ความเป็นจริงของธรรมชาติที่จริงแท้โลกนี้หนาคือ กายอันยาววา หนาคืบ กว้างศอก อันอุดมไปด้วยขันธ์ 5

    เกิดมาแล้ว เมื่อยามจากไป ใยทิ้งไว้ให้เหลือเพียงแต่ซากศพ
    มนุษย์.....พัฒนากายและจิตวิญญาณตนเองเถิดหนา เพื่อจะได้พ้นไปจากอำนาจของโลกียะ และสามารถยกระดับจิตขึ้นสู่ โลกุตตระ
    ใช้พลังศรัทธาวิริยะ และปัญญาศึกษาโลกจนเข้าใจโลกธรรม 8 โดยกระจ่าง และแจ้งในโลกุตตระ แม้มีชีวิตต่อไปเพื่อทำหน้าที่ของมนุษย์
    ก็จะเป็นมนุษย์ที่ได้รับประโยชน์ตนและทำประโยชน์ท่านอย่างดียิ่ง จะมิได้เสียดายชาติที่เกิดมาเป็นมนุษย์เช่นนี้
     
  20. Samarnl

    Samarnl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,287
    ค่าพลัง:
    +4,704
    <TABLE id=pid394 cellSpacing=0 summary=pid394 cellPadding=0><TBODY><TR><TD class=plc><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD id=postmessage_394 class=t_f>เมื่อพระพุทธองค์ได้ตรัสรู้แล้ว ก็ได้นำเอาปริยัติธรรมเพื่อประกาศพระศาสนาให้ชาวโลกรู้
    จึงได้แสดงพระธรรมจักรกัปปวัตนะสูตร แก่ปัจวัคคีย์พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมดวงตาเห็นธรรมเป็นองค์แรกของโลก
    ปริยัติธรรมจึงเป็นเป็นผู้นำทางศาสนา เป็นเหตุแห่งการบรรลุ ฌาน มรรค ผล นิพพาน
    เมื่อไม่มีเหตุ ผลย่อมจะเกิดมาจากที่ใด เมื่อไม่รู้ปริยัติก็ไม่สามารถที่จะไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

    หลายท่านปฏิเสธปริยัตินั่นเป็นหนทางที่เข้าใจผิด
    เช่นว่าศึกษาปริยัติติดตำราบ้าง รู้แต่ชือบ้างคือด้วยสัญญาไม่ทำให้เกิดปัญญา เหมือนทับพีไม่รู้รสน้ำแกงบ้าง
    แล้วแต่จะสรรหาคำพูดมาลบล้างปริยัติให้ได้ว่าไม่มีประโยชน์ สู้ลงมือปฏิบัติเลยไม่ได้ ได้รู้ของจริงทำให้เกิดปัญญา

    จะขอยกตัวอย่างเพื่อเป็นคำถามด้วยว่า ถ้าหากเราจะไปรบกับข้าศึกหรือจะไปปราบข้าศึก
    เราไม่ได้ศึกษาให้ดีว่าข้าศึกมีเท่าไหร่ หน้าตาเป็นอย่างไร มีชื่อว่าอะไร ข้าศึกมีอาวุธอะไร มีกำลังพลเท่าไร
    ใครเป็นหัวหน้า ทางหลบหนีของข้าศึกมีทางไหนบ้าง ทางเข้าปราบข้าศึกมีกี่ช่องทาง ใครเป็นกองทัพสนับสนุนบ้าง
    เมื่อเราได้ข้อมูลในการรบแล้วย่อมเป็นผู้รบชนะแต่ฝ่ายเดียว

    เหมือนสุภาษิตใครไม่ทราบว่า รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง ก็ใช้ได้อยู่
    ถ้าเราไม่ได้ศึกษาศัตรูข้าศึก หรือกิเลส ให้ดีพอ ก็ไม่สามารถที่จะรบหรือปราบกิเลสให้ราบคาบได้
    ข้าศึกมีปืนเป็นอาวุธแต่เราเอาดาบไปปราบข้าศึกย่อมแพ้แน่นอน เสียกำลังพลเสียทั้งเวลา

    ชีวิตแต่ละท่านก็คงมีเหลือไว้ก็คงไม่มากพอที่จะต้องไปเสียเวลาอีก
    ปริยัติกับปฏิบัตินั้นก็ควรควบคู่กันไปจึงจะทำให้เกิดปฏิเวธได้
    แต่ถ้าคิดว่าปริยัติไม่ดีมิต้องทำให้ ท่านมหาเปรียญธรรม ทั้งหลายมิต้องยุ่งกันใหญ่เลย
    หรือมหาวิทยาลัยทั้งหลายคงมิต้องหมดประโยชน์ไปเลยหรือ
    ถ้าไม่ได้ศึกษาไม่เรียนรู้ก็ไม่สามารถที่จะรู้ได้ว่าอะไรดีอะไรไม่ดี ท่านว่าจริงไหม

    นักศึกษาปริยัติมีความรู้ตัวดีว่าเราศึกษามาดีแล้ว และก็พร้อมที่จะเดินทางสู่เส้นทางที่ถูกต้อง
    การที่ได้ศึกษาปริยัตินั้นก็เท่ากับได้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธองค์อยู่แล้ว จะทำให้ไม่คลาดเคลื่อนคลายสงสัยได้
    ว่าจริงหรือไม่จริงถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง

    มิได้ออกมาต่อต้านหากแต่ออกมาพูดให้เห็นความเป็นจริงว่าควรจะเป็นอย่างนั้น

    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD class="plc plm"></TD></TR><TR><TD class=pls></TD><TD class=plc>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...