พระนิพพานคืออะไร ลักษณะที่แท้จริงของพระนิพพาน

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย saksit5455, 27 ตุลาคม 2011.

  1. saksit5455

    saksit5455 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    198
    ค่าพลัง:
    +59
    เมื่อก่อนผมก็คิดว่าพระนิพพานนี่หมายถึงความสูญหาย ดับหมดทั้งร่างกายและจิตใจ แต่หลังจากนั้นมาได้มีโอกาสศึกษาพระธรรมจากแหล่งต่างๆ ทั้งพระไตรปิฏกและในอินเตอร์เน็ต และตอนนี้ก็ได้ข้อสรุปแล้วว่าพระนิพพานคือแดนบรมสุขตลอดกาล ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฎสงสารอีก ในพระอภิธรรมก็บอกไว้ชัดเจนเกี่ยวกับพระนิพพานว่าไม่ใช่ความดับสูญ แต่พระนิพพานเป็นธรรมชาติที่มีมาคู่กับวัฎสงสารนี้ เหมือนกลางวันคู่กับกลางคืน มีมาก่อนพระพุทธเจ้าจะบังเกิดขึ้นแต่ไม่มีใครรู้จักจนกระทั่งโลกนี้มีพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้นจึงมีผู้รู้จัก พระนิพพานมีมาเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของผู้ที่เบื่อหน่ายต่อวัฎสงสารและสามารถละกิเลสตัณหาได้หมดสิ้นแล้ว ในพระอภิธรรมบอกไว้ชัดเจนว่า ถ้าผู้ใดเข้าใจว่าพระนิพพานสูญคือพระนิพพานไม่มีขันธ์แล้ว แสดงว่าพระนิพพานคือ อดีตหรืออนาคต เพราะขันธ์ย่อมไม่มีในอดีตและอนาคต แต่มีอยู่ในปัจจุบันเท่านั้น สิ่งที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งสิ้นย่อมมีขันธ์ทั้งนั้น โดยแบ่งเป็นขันธ์ภายในคือ ตัวเรา และขันธ์ภายนอกคือ สิ่งที่อยู่นอกตัวเรา และพระนิพพานนี้มีอยู่ในปัจจุบันและพระอรหันต์ทั้งหลายย่อมเข้าถึงพระนิพพานในปัจจุบันตั้งแต่มีชีวิตอยู่ทั้งนั้น และผู้จะเข้าถึงพระนิพพานได้ ต้องปล่อยวางคือไม่ยึดติดในทุกสิ่ง และต้องวางใจเป็นกลางในทุกอย่าง ถ้ายึดติดในขันธ์ทั้งภายในและภายนอก ก็ต้องเกิดใน กามภูมิ ถ้ายึดติดเฉพาะขันธ์ภายในก็ต้องเกิดใน รูปภูมิคือพรหมที่มีรูป ถ้ารังเกียจหรือไม่พอใจในร่างกายก็จะต้องเกิดใน อรูปภูมิคือพรหมที่ไม่มีรูป เพราะความไม่พอใจในร่างกาย อันเป็นปฎิฆะกิเลส เป็นวิภวตัณหา ถ้ารังเกียจหรือไม่พอใจใน จิตวิญญาณกต้องเกิดในอสัญญีพรหมคือพรหมที่ไม่มีจิตวิญญาณ สรุปแล้วการยึดติดยึดถือหรือรังเกียจไม่พอใจในขันธ์นั้นล้วนแล้วแต่เป็นกิเลสตัณหาทั้งนั้น ดังนั้นการจะไปพระนิพพานได้ต้องวางใจเป็นกลางในทุกอย่างและปล่อยวางในทุกสิ่ง ส่วนรูปกายในพระนิพพานนั้นมีลักษณะใสเป็นแก้วประกายพฤกษ์ เพราะความปล่อยวางในทุกสิ่ง เพราะร่างกายของสัตว์โลกย่อมมีความหยาบละเอียดต่างกันตามอารมณ์ของใจ ยิ่งยึดติดในขันธ์มากเท่าไรร่างกายก็ยิ่งแต่มีความหยาบมากขึ้นเท่านั้น เช่นสัตว์โลกในอบายภูมิ และยิ่งปล่อยวางได้มากเท่าไรร่างกายก็ยิ่งละเอียดผ่องใสมากขึ้นเท่านั้น เช่นในพรหมโลก แต่ถ้ารังเกียจหรือไม่พอใจในร่างกายก็จะไม่มีร่างกายให้เห็นเหมือนอรูปพรหมมีแต่ดวงจิตล่องลอยอยู่ หรือถ้ารังเกียจไม่พอใจในจิตวิญญาณก็จะไม่มีจิตวิญญาณมีแต่ร่างกายเหมือนอสัญญีพรหมและไม่มีโอกาสได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าเลยจนหมดอายุไขย ส่วนในพระนิพพานนั้น ล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ที่วางใจเป็นกลางในทุกอย่างและปล่อยวางในทุกสิ่ง ไม่วางใจให้ตกไปหรือสุดไปในด้านใดด้านหนึ่ง เหมือนกับดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลก ถ้าอยู่ตำเกินไปก็ตกสู่พื้นโลก ถ้าสูงเกินไปก็หลุดวงโคจร ต้องอยู่ในระดับที่พอดีเท่านั้น แม้การไปพระนิพพานก็เป็นฉันนั้นเหมือนกัน ธรรมมะที่ผมเขียนลงนี้ได้มาจากการศึกษาพระธรรมจากแหล่งต่างๆมาเป็นปี ทั้งจากพระไตรปิฏก จากอินเตอร์เน็ต จากธรรมมะของพระอริยะเจ้านักปฎิบัติทั้งหลาย ดังนั้นจึงมีความถูกต้องค่อนข้างสูง ถ้าใครมีความคิดเห็นอย่างไรก็แลกเปลี่ยนกันนะครับ ขอบคุณครับ
     
  2. พรหมาวตาร

    พรหมาวตาร Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +66
    "ประมาณว่าเจอทุกสิ่งแล้วไม่มีกังวัลใจ และหมดความสงสัยในทุกสิ่งที่เจอ" เอาพอที่รู้ๆตอนนี้นะพอได้มั๊ยครับ เอาไว้ถ้าบรรลุอรหันต์แล้วจะมาต่อนะ
     
  3. telwada

    telwada เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2004
    โพสต์:
    1,606
    ค่าพลัง:
    +1,817
    คำว่านิพพาน หรือ ปรินิพพาน เป็นชื่อเรียกขั้นการฝึกชั้นสูงสุดในทางพุทธศาสนา
    แต่ในทางส่วนตัวของข้าพเจ้า กำลังวิจัยอยู่ว่า ขั้นหรือชั้นที่สูงกว่า นิพพาน หรือปรินิพพานนั้น น่าจะมีอยู่ เหตุอันเนื่องมาจากได้วิเคราะห์ จากการได้อ่านในพระไตรปิฎกตอนหนึ่งมีกล่าวไว้ว่า(ถอดความ)" พระสมณโคดมนั้น มีอายุขัยน้อยที่สุด แต่ยังมีพระพุทธเจ้าองค์อื่นๆที่มีอายุขัยนับได้เป็นหมื่นปี"
    นิพพานหรือปรินิพพาน ไม่ใช่ดินแดนอะไรอย่างที่คุณกล่าวมานะขอรับ และเป็นดังที่ข้าพเจ้าได้อธิบายไปข้างต้น
    อนึ่ง สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใด ล้วนย่อมมี "รูป เวทนา สัญญา สังขาร" แต่จะเป็นสภาพสภาวะใด ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง
    ข้าพเจ้าไม่อยากจะกล่าวว่า คุณไม่ได้รู้เรื่องอะไรเลยเกี่ยวกับนิพพาน เพียงแต่ได้อ่านและเข้าใจเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้
    เมื่อบุคคลฝึกตนบรรลุมรรคผล ก็จะบรรลุโสดาบันตามมา พร้อมกันนั้น ก็จะพัฒนาเป็นขั้นบรรลุ สกทาคามี ,อนาคามี ตามลำดับ เมื่อบรรลุถึง ชั้น อนาคามี กล่าวคือบุคคลนั้นๆมีความเข้าใจในธรรมทั้งหลายอย่างละเอียดยิ่งขึ้น ก็จะบรรลุชั้น อนาคามี และจะคาบเกี่ยวชั้น อรห้นต์ ทุกชั้นหรือทุกขั้นของการบรรลุถึง บุคคลนั้นๆจะสามารถขจัดอาสวะ นั่นหมายถึงขจัดกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง ตั้งแต่ชั้นหยาบสุด ไปจนถึงชั้นละเอียดสุด และขณะขจัดอาสวะ ก็จะเปล่งแสงหรือฉัพพรรณรังสีออกมาจากร่างกาย สามารถมองเห็นได้ด้วยตา เพราะ กิเลส ทั้งหลาย ก็คือ ความคิด ฯลฯ ซึ่งหากอยู่ในร่างกายก็จะอยู่ในสภาพสภาวะของคลื่นไฟฟ้า หากฝึกตนจนถึงชั้นละเอียดสุด ก็จะบรรลุถึงชั้น นิพพาน หรือปรินิพาน สรีระร่างกายจะโปร่งแสง หรือเป็นคล้ายกระจกเงา ไม่รู้ร้อน ไม่รู้หนาว ไม่มีคลื่นความคิดแห่งความโลภ ความโกรธ ความหลง หรือกิเลสอื่นใดหลงเหลืออยู่
    นิพพาน หรือ ปรินิพพาน ไม่ใช่การดับขันธ์ หรือการตาย แต่เป็นชื่อชั้นของการฝึกปฏิบัติธรรมชั้นสูงสุดที่ในทางพุทธศาสนาได้กล่าวไว้
    แต่ข้าพเจ้าปัจจุบันนี้ สัณนิษฐานว่า น่าจะมีชั้นที่สูงกว่าชั้น นิพพาน หรือปรินิพพาน อย่างแน่นอน แต่ไม่รู้เหมือนกันว่า เรียกว่า อะไร กำลังค้นหาอยู่ ขอรับ
     
  4. Hanataro

    Hanataro เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +490
    ++++

    ถ้า เป็น สถานทที่ นิพพาน คือ ทิพย์พิเศษ ที่ปราศจากการเคคลื่อน คือ ไม่ต้องลงมาเกิดอีก

    มีความสวย และสุข กว่า สวรรค์ และพรหม ทั้งหมด เป็น บรมสุข


    เชิญสัมผัส ได้ด้วยตนเอง โดย ฝึกสมาธิ แบบมโนมยิทธิ ที่ วัดท่าซุง ( ตอนนี้น้ำท่วม )

    บ้านสายลม ( เดือนนี้ งดรับ และงดฝึก ลองหาในเน็ตนะครับ ศูนย์พุทธศรัทธา ที่ จ. สระบุรี

    หรือ ฝึก กับคนที่ได้มโนมยิทธิ ครับ

    หลวงพี่เล็ก ลูกศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ท่านออกจากวัดท่าซุง และมาเป็น เจ้าอาวาสวัดท่าขนุน ท่านบอกว่า ไม่จำเป็น ต้องได้มโนมยิทธิ ครับ


    ประโยชน์ ของมโนมยิทธิ คือ รู้ ว่า สภาวะนิพพาน จริงๆแล้ว เป็นยังไง

    โทษ คือ อวดชาวบ้าน

    ตั้งเป้าหมายว่าตายแล้วจะไปไหน

    ถาม : ช่วงนี้ถ้าทำวิปัสสนาให้กายว่าง แต่ทำไม่ค่อยบ่อยนะคะ นาน ๆ จะจับลมหายใจ ส่วนมากจะจับตอนนอน แล้วช่วงกลางวันนึกถึงความตายบ้าง วันหนึ่งประมาณครั้งเดียว ?
    ตอบ : ดีกว่าไม่นึกเลย ริง ๆ แล้วชีวิตของเราอยู่กับลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าไม่หายใจออกก็ตายแล้ว หายใจออกไม่หายใจเข้าไปใหม่ก็ตายเช่นกัน เพราะฉะนั้น..ให้นึกถึงความตายทุกลมหายใจเข้าออก นึกได้เมื่อไหร่ก็ เอ๊ะ...! เราจะตายแล้วหนอ ถ้าหายใจเข้าไม่หายใจออก ก็เสร็จเรียบร้อยไปแล้ว ให้ตั้งเป้าไว้เลยว่าตายแล้วเราจะไปไหน

    ถ้าหากว่าเราคิดว่าเทวดาดี ตายแล้วเราจะไปเป็นเทวดา
    คิดว่าพรหมดี ตายแล้วเราจะเป็นพรหม
    ถ้าคิดว่าพระนิพพานดีตายแล้วเราจะไปพระนิพพาน

    ตั้งเป้าของเราเอาไว้ ลักษณะของกำลังใจจะเหมือนกับจรวดนำวิถี ถึงเวลากำหนดเป้าไว้ ยิงเสร็จแล้วจรวดจะทำงานเอง

    เช้า ๆ ก็ตั้งเป้าว่า "ถ้าหากเราหมดอายุขัย หรือว่าเกิดอุบัติเหตุอันทำให้เราต้องตายไปภายในวันนี้ เราขอไปพระนิพพานที่เดียว" แล้วภาวนาให้กำลังใจทรงตัวสักพักหนึ่ง อาจจะ ๕ นาที ๑๐ นาที ถ้าทำอย่างนี้ได้ วันนั้นทั้งวันต่อให้จิตใจวุ่นวายด้วยเรื่องงานเรื่องการอะไรก็ตาม ถ้าเราตายก็จะไปพระนิพพาน เพราะเราตั้งเป้าเอาไว้ตั้งแต่ตอนเช้าแล้ว สมัยนี้ขีปนาวุธเขาทำได้..ใช่ไหม ? เราก็เลียนแบบบ้าง

    สนทนากับพระอาจารย์เล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    ณ บ้านอนุสาวรีย์ฯ เดือนเมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๕
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 ตุลาคม 2011
  5. Hanataro

    Hanataro เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +490
    ....

    พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริงๆ เหมือนกับเชือกเส้นหนึ่ง
    ที่ประกอบจากเชือกเล้นเล็กอีก 3 เส้น ควั่นเกลียวกันขึ้นมา
    พระพุทธเจ้ามาจากพระธรรม เมื่อรู้ธรรมแล้วนำไปสั่งสอนผู้ปฏิบัติธรรมเป็นพระสงฆ์
    พระสงฆ์คือ สาวกของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ดำเนินตามรอยพระธรรมที่ท่านตรัส
    สั่งสอนมา จริงๆแล้ว 3 อย่างนี้ อันใดอันหนึ่งทิ้งกันไม่ได้
    แต่เนื่องจาก ถ้าหากแยกแยะละเอียดแล้ว

    มีทั้งพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

    พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า

    ถ้าหากว่าปฏิบัติในพุทธานุสติ จะเข้าถึงพระนิพพานได้ง่ายที่สุด
    ที่เข้าถึงได้ง่ายที่สุด คือ พระพุทธเจ้าไม่อยู่ที่ไหนนอกจากพระนิพพาน

    ถ้าใจเราเกาะท่าน ก็คือ เราเกาะพระนิพพาน แต่ต้องคิดให้เป็นนะ...!

    ถ้าคิดไม่เป็นก็พระพุทธเจ้าอยู่ในโบสถ์ พระพุทธเจ้าอยู่บนหิ้งใช่ไหม?

    ต้องพระพุทธเจ้าอยู่บนพระนิพพาน.....

    ที่มา จากหนังสือกระโถนข้างธรรมาสน์ ฉบับที่ 85 เดือน มี.ค. 2554 หน้า39 บรรทัดที่4 หลวงพี่เล็ก วัดท่าขนุน
     
  6. พรหมาวตาร

    พรหมาวตาร Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +66
    ถามว่า "พระนิพพานคืออะไร ลักษณะที่แท้จริงของพระนิพพาน"
    ตอบ "นิพพาน เป็นชื่อของภาวะความรู้สึกที่พระอรหันต์ได้สัมผัสครับ เรื่องความรู้สึกบอกกันให้เข้าใจไม่ได้หากคนๆนั้นไม่เคยรู้สึกมาก่อนอิอิ
    พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์และพระสาวกผู้ปฏิบัติตามทุกองค์ พบอมตธรรมข้อนี้เหมือนๆกัน แต่ต่างเวลากันเท่านั้น ไม่รู้จะบอกลักษณะยังไงเปรียบเทียบกับอะไร เพราะหาอะไรเปรียบไม่ได้ครับ ถ้าเปรียบได้ก็ยังไม่ใช่สิ่งนั้น เข้าทำนองของจริงนิ่งเป็นใบ้ ของพูดได้นั้นไม่จริง สิ่งที่เห็นๆจริง แต่สิ่งที่เห็นไม่ใช่ของจริง ดังการไปบอกให้เด็กทารกที่ไม่เคยหกล้มเด็กไม่มีทางเข้าใจคำว่าเจ็บหรอก อธิบายไปเด็กก็ทำหน้างงอยู่ดี จนกว่าเด็กจะล้มเองแล้วจึงรู้ว่าเจ็บเป็นอย่างไร เขาก็จะถึงบางอ้อด้วยตัวเค้าเอง

    แต่บอกได้ครับว่านิพพานมันมาจากสิ่งนี้ครับ มาจากมรรคสี่ ผลสี่ จะได้นิพพานหนึ่ง มีข้อสังเกตที่จะรู้ว่านิพพานหรือยัง หรือทำไงจึงรู้ว่านิพพานแล้ว คือ เจโตวิมุตติ (มีเจตนาหลุดพ้นอวิชชา) ปัญญาวิมุตติ (รู้ว่าสิ่งใดทำให้หลุดพ้นอวิชชา) พอมีสองอย่างนี้ครบปั๊บก็จะรู้ลักษณะนั้นด้วยตัวเองทันที อธิบายเป็นตัวหนังสือก็เกรงจะไม่ตรงกับประสบการณ์นั้น เอาไว้สัมผัสกันเองนะครับ ทำแปดข้อให้ได้ หาสองสิ่งให้ครบ เดี๋ยวก็รู้เอง"

    อีกเรื่องนอกเหนือที่ว่ามีอะไรที่เหนือกว่านิพพานอีก ในศาสนานี้ไม่มีแล้วครับ ถ้ายังมีก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา (ผมยังสงสัยยังจะมีอะไรยิ่งไปกว่าความรู้ที่พระพุทธเจ้าค้นพบอีก อะไรที่พระองค์ยังรู้ไม่หมด มีด้วยหรือ พระองค์เป็นสัพพัญญูคือรู้ทุกสิ่งใช่หรือไม่ ถ้าใช่แล้วใครจะรู้มากไปกว่าพระองค์อีกหือ! ตั้งศาสนาใหม่เลยดีมั๊ย )
     
  7. bestsu

    bestsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    277
    ค่าพลัง:
    +617
    ไม่มีอะไรเหนือว่านิพพาน
    อุปมาเหมือนน้ำเต็มแก้ว แล้วน้ำหยดต่อไปจะต่อยอดให้สูงต่อไปได้หรือ
    นิพพานเป็นสภาวะหนึ่ง ที่ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีกแล้ว
    ใครคิดว่านิพพานสูญ นั้นเป็นความคิดที่ผิด เพราะถ้าสูญจริงคุณงามความดีก็สูญด้วย แต่พระพุทธเจ้าองค์ปฐมที่มีมานานนับกันไม่ไหวยังคงความดีให้เราระลึกอยู่...นี่คือความไม่สูญ
    พระท่านเรียกถูกแล้ว "ดับขันธปรินิพพาน" ขันธ์ห้าดับไปทั้งหมด
    แต่ก็มีสิ่งที่ไม่ดับ นอกจากคุณงามความดีของพระอรหันต์ ก็ยังมีอีกสิ่งหนึ่งตามคำพระพุทธเจ้าที่ว่า
    "ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต"


    ...อย่าเอากิเลสมาตัดสินนิพพาน จงไปดูให้เห็นด้วยตัวเองเถิด...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 ตุลาคม 2011
  8. ballbeamboy2

    ballbeamboy2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    1,622
    ค่าพลัง:
    +1,618
    ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต อันนี้ผมลองแปล ผมก็ลองแปลความหมาย ดู ธรรมชาติต่างๆ มันไม่เที่ยง แต่มันเป็นจริง มันเกิดๆ ดับ ถ้าท่านเห็นทุกอย่างมันก็เกิดๆ ดับเป็นธรรมดา เราควรหาอะไร ที่ว่าเที่ยง ผมว่านั้นน่าจะเป็น นิพพาน ความคิดผมนะ
     
  9. moshininja

    moshininja เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    211
    ค่าพลัง:
    +103
    "นิพพานัง นครัง นาม" อันชื่อว่าเมืองนิพพานย่อมตั้งอยู่ในที่สุดแห่งโลก โลกมีที่สุดเพียงใด พระนิพพานก็ตั้งอยู่ที่สุดเพียงนั้น...
     
  10. LungKO

    LungKO เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    590
    ค่าพลัง:
    +925
    ตราบใดที่ยังไม่ได้บรรลุนิพพาน ไม่มีทางที่จะตอบได้ว่านิพพานเป็นอย่างไร ถ้าตอบก็คงตอบตามตำรา เหมือนกับคนที่ไม่เคยไปอเมริกา ก็คงตอบได้ตามที่ได้ยิน
    ได้ชมรายการในทีวี หรือไม่ก็ตามตำราเท่านั้น ซึ่งนั่นไม่ใช่ของจริง อยากทราบว่านิพพานเป็นอย่างไร ต้องรีบรักษาศีลห้าให้บริสุทธิ์ก่อน แล้วค่อย ๆ ไต่ระดับให้สูงไปเรื่อย ๆ ด้วยสมาธิ ให้มีสติมากที่สุด ใช้สติสมาธิและปัญญาชั้นสูงพิจารณาสิ่งต่าง ๆ คือสังขารให้เห็นตามสภาพความเป็นจริง อย่างต่อเนื่อง รีบทำวันนี้อย่ารีรอ ยิ่งทำเร็วก็จะได้คำตอบเร็ว ครับท่าน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 ตุลาคม 2011
  11. อานันท์69

    อานันท์69 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +0
    · [FONT=&quot]“สิ่ง” สิ่งหนึ่งซึ่งบุคคลพึงรู้แจ้ง เป็นสิ่งที่ไม่มีปรากฏการณ์ไม่มีที่สุด มีทางปฏิบัติเข้ามาถึงได้โดยรอบ, นั้นมีอยู่; ใน “สิ่ง”นั้นแหละ ดิน นํ้า ไฟ ลม ไม่หยั่งลงได้ (ไม่อาจเข้าไปอยู่ได้); ใน“สิ่ง” นั้นแหละ ความยาว ความสั้น ความเล็ก ความใหญ่ ความงามความไม่งาม ไม่หยั่งลงได้ (ไม่อาจเข้าไปอยู่ได้); ใน “สิ่ง” นั้นแหละนามรูป ดับสนิทไม่มีเหลือ; นามรูป ดับสนิท ใน “สิ่ง” นี้ เพราะการดับสนิทของวิญญาณ;[/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:RelyOnVML/> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> · [FONT=&quot]ภิกษุทั้งหลาย ![/FONT][FONT=&quot] “สิ่ง” สิ่งนั้นมีอยู่, เป็นสิ่งซึ่งในนั้นไม่มีดิน ไม่มีน้ำ ไม่มีไฟ ไม่มีลม. ไม่ใช่อากาสานัญจายตนะ ไม่ใช่วิญญาณัญจายตนะ ไม่ใช่อากิญจัญญายตนะ ไม่ใช่เนวสัญญานาสัญญายตนะ, ไม่ใช่โลกนี้ ไม่ใช่โลกอื่น, ไม่ใช่ดวงจันทร์ หรือดวงอาทิตย์ทั้งสองอย่าง.[/FONT]
    [FONT=&quot]ภิกษุทั้งหลาย ![/FONT][FONT=&quot] ในกรณีอันเดียวกับ “สิ่ง” สิ่งนั้น เราไม่กล่าวว่ามีการมา, ไม่กล่าวว่ามีการไป, ไม่กล่าวว่ามีการหยุด, ไม่กล่าวว่ามีการตาย , ไม่กล่าวว่ามีการเกิดขึ้น. สิ่งนั้นมิได้ตั้งอยู่, สิ่งนั้นมิได้เป็นไป และสิ่งนั้นมิใช่อารมณ์; นั่นแหละคือ ที่สุดแห่งทุกข์ ละ.[/FONT]

    [FONT=&quot]ภิกษุทั้งหลาย ![/FONT][FONT=&quot] สิ่งซึ่งมิได้เกิด มิได้เป็น มิได้ถูกอะไรทำ มิได้ถูกอะไรปรุง นั้นมีอยู่. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าหากว่า สิ่งที่มิได้เกิด มิได้เป็น มิได้ถูกอะไรทำ มิได้ถูกอะไรปรุง จักไม่มีอยู่แล้วไซร้, ความรอดออกไปได้ของ สิ่งที่เกิด ที่เป็น ที่ถูกอะไรทำ ที่ถูกอะไรปรุง ก็จักไม่ปรากฏเลย.[/FONT]

    [FONT=&quot]ภิกษุทั้งหลาย ![/FONT][FONT=&quot] เพราะเหตุที่มีสิ่ง ซึ่งมิได้เกิด มิได้เป็น มิได้ถูกกระทำ มิได้ถูกอะไรปรุง นั่นเอง จึงได้มีความรอดออกไปได้ ของสิ่งที่เกิด ที่เป็น ที่ถูกอะไรทำ ที่ถูกอะไรปรุง, ปรากฏอยู่.[/FONT][FONT=&quot] ความไม่กังวล[/FONT][FONT=&quot] ความไม่ถือมั่น นั่นแล คือ ธรรมอันเป็นเกาะ ไม่มีธรรมอื่นอีก. เรากล่าวธรรมนั้นว่า [FONT=&quot]“นิพพาน”[/FONT] เป็นที่หมดสิ้นแห่งชราและมรณะ แล[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 ตุลาคม 2011
  12. namotussa

    namotussa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +1,470
    ลองไปอ่าน life between life ชีวิตระหว่างภพ ของสำนักพิมพ์มติชน โดย Dr.Joel L. Whitton Ph.D. & Joe Fisher อรทัย เจริญชาติ ผู้แปล ทำให้เราสามารถพอที่จะมองเห็นได้ว่า นิพพาน นั้นเป็นทั้ง สภาวะ และ สถานที่ (แดนนิพพาน) เพราะถ้าเป็นแต่สภาวะ ก็คงลอยไปลอยมา แต่ถ้าเป็นสถานที่อย่างเดียว โดยไมมีสภาวะก็เป็นไปไม่ได้ ถ้าไม่เป็นสถานที่ก็คงไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับ สวรรค์-นรก หากว่าพวกเราต้องการมีความรู้ความเข้าใจทางเรื่อง นิพพาน ก็ควรที่จะได้ฝึก มโนมยิทธิ ทั้งที่วัดท่าซุง วัดท่าขนุน และบ้านสายลม (ช่วงนี้มีปัญหาน้ำท่วม) การตั้งจิตให้เป็นเสมือนจรวดนำวิถีไปยังแดนนิพพานนั้นสามารถเป็นไปได้ แต่อาจเป็นไปได้น้อยยิ่งกว่าน้อยมากประมาณ 1 ใน 100,000,000 แต่ถ้าฝึกเป็นประจำก็มีโอกาสมากขึ้น ดังนั้นทางที่ดีที่สุดคือการออกบวช ทั้งบวชพระ-บวชชี คือต้องตัดทางโลก ตัดทางกิเลสต่างๆให้ได้ก่อน เป็นปัญญาที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ในการตรัสรู้ จากการพิจารณาถึงคำอธิษฐานการลอยถาดทองที่นางสุชาดามาถวายข้าวมธุปายาส ว่าถ้าท่านสามารถตรัสรู้ได้ขอให้ถาดทองลอยทวนกระแส พระองค์ท่านจึงได้ทรงพิจารณาเห็นความเป็นจริงดังกล่าว และทรงตัดกิเลสโดยใช้ปัญญาในการพิจารณา ได้เข้าถึงอย่างชัดแจ้งถึงสภาวะธรรมแห่งการหลุดพ้น การเย็นลงดับลง (คำแปลนิพพาน)ที่สามารถดับทุกข์ได้อย่างตลอดกาล โดยไม่กลับมาเกิดอีก และหลังจากที่พระองค์ได้ทรงดับขันธ์เสด็จปรินิพพาน ก็ได้ทรงเสด็จไปประทับยังสถานที่แดนนิพพาน
    อันนิพพานตัดกิเลสให้หลุดพ้น
    ด้วยอดทนวิริยะสู่เป้าหมาย
    ใช้ปัญญาตรึกตรองถึงใจกาย
    ดับสลายความอยากที่ติดตัว
    เพียงได้ฝึกมโนมยิทธิ
    ได้ฤทธิเห็นรู้แจ้งสิ่งดีชั่ว
    ไม่มาเกิดติดบ่วงมารหลงเมามัว
    เห็นแก่ตัวยึดของกูให้ทุกข์ตรม




     
  13. อินทร์ธนู

    อินทร์ธนู สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +2
    สิ่งทุกสิ่งไม่คงตัวอยู่อย่างถาวร. ดังนั้นสิ่งทั้งปวงจึงตกอยู่ใต้อำนาจของธรรมที่เป็นความเกิดขึ้นและความแตกดับ(กล่าวคือสังขตธรรมหรือธรรมอันปรุงแต่ง) เมื่อความเกิดขึ้นและความแตกดับมาสิ้นสุดลงด้วยกันศานติสุขแห่งความหยุดได้โดยสมบูรณ์และความสิ้นสุดของการเปลี่ยนแปลง(กล่าวคือนิพพาน)
    ย่อมปรากฏขึ้น
    .............................................................

    ไม่ว่าในขณะใดทั้งหมดนิพพานย่อมไม่มีปรากฎการณ์แห่งการเปลี่ยนแปลงหรือแห่งการเกิดดับไม่มีแม้กระทั่งความสิ้นสุดของการทำหน้าที่ของความเกิดขึ้นและความแตกดับ. นิพพานเป็นการแสดงออกของ..........ความหยุดได้โดยสมบูรณ์และความสิ้นสุดของความเปลี่ยนแปลง....แต่แม้ในขณะแห่งการแสดงออกนั้นก็ไม่มีความเห็นว่าเป็นการแสดงออกดังนั้นจึงถูกเรียกว่าความเปรมปรีดิ์อันไม่รู้จักหมดสิ้นซึ่งไม่ต้องมีตัวผู้เปรมปรีดิ์หรือผู้ไม่เปรมปรีดิ์แต่อย่างใด

    อธิบาย ....นิพพานไม่มีปรากฎแห่งการเปลี่ยนแปลงหรือเกิดดับนั้น....เป็นการดับสนิทไม่มีเหลือปราศจากอวิชชาตัณหาอุปาทาน....
    การเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป....นั้นเป็นการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปแห่งอวิชชาทั้งปวง
    เมื่อจิตเราเป็นอิสระอย่างเด็ดขาดต่อเครื่องขัดข้องคืออวิชชาทั้งหลายการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปก็ย่อมไม่มีโดยสภาพแห่งธรรมนั้นแล้วและไม่มีแม้กระทั่งความสิ้นสุดของการทำหน้าที่ของความเกิดขึ้นและความแตกดับ......เพราะเนื้อหาแห่งพระนิพพานคือธรรมชาติล้วนๆ....เป็นสภาพมันเองอยู่อย่างนั้นแบบนั้น......
    เป็นความอิสระอย่างเด็ดขาดโดยที่ไม่ต้องอาศัยอะไรกับอะไร....เพื่ออะไร”
    นิพพานเป็นการแสดงออกของสภาพธรรมอันเป็นธรรมชาติล้วนๆ......การแสดงออกนั้นเป็นการแสดงออกโดยตัวมันเองโดยโดยสภาพมันเอง......จึงไม่ควรให้มีความเห็นใดๆเข้าไปบัญญัติอีกว่านี่คือการแสดงออก
    นี่คือนิพพาน
    นี่คือธรรมอันเป็นธรรมชาติล้วนๆ.....การมีความเห็นเช่นนี้ทำให้ธรรมชาติอันแท้จริงในเนื้อหาแห่งธรรมนั้นหายไปและการมีความเห็นเช่นนี้กลายเป็นอวิชชาเข้ามาแทนที่
    หากจิตเราปรุงแต่งว่าจิตหลุดพ้น
    ......เมื่อจิตชนิดนี้ดับไปโดยตัวมันเอง.....นั่นแหละ.....ถึงจะเป็นการหลุดพ้นโดยแท้จริงโดยเนื้อหาของมันเอง.....เป็นสภาพมันล้วนๆอยู่อย่างนั้น
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  14. พรหมาวตาร

    พรหมาวตาร Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +66
    แหล่งรวมพระอรหันต์หรือนี่
     
  15. คุรุวาโร

    คุรุวาโร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    3,465
    ค่าพลัง:
    +13,430
    นิพพานคือดินแดนเฉพาะ จิตที่ระงับเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และระงับอรูปฌานทั้งสี่ แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าไปได้
     
  16. ddty2k

    ddty2k สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2011
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +5
    ก๊าก ปัญญาอ่อน ขนาดพระวัดที่เค้าปฏิบัติ พระเค้าอายุกันเป็น 10 พรรษา ยังไม่พูดยังไม่เถียงกันเลยว่านิพพานเป็นยังไง ไอ้ฆราวาสปัญญาอ่อน เมียก็มีลูกก็มีบางคนยังมีเมียน้อย กิเลสสุมตัวเยอะแยะ ปฏิบัติได้ขนาดไหนกันว๊า มันเอาแต่พูดนิพพานๆ ฮ่าๆ เห็นแล้วฮาเงิบ
    ตามร้านหนังสือเยอะแยะ นิพพานนู่นนิพพานนี่ คนเขียนฆราวาสทั้งนั้น ปัญญาอ่อนทั้งก๊ก ฮ่าๆ
     
  17. ukitake

    ukitake เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    311
    ค่าพลัง:
    +140
    คุณไปฝึกมโนมยิทธิซะนะ จะได้ตาสว่าง
     
  18. ddty2k

    ddty2k สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 เมษายน 2011
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +5
    กลัวจะตาบอดแล้วพาคนอื่นมืดบอดตามนะครับ ไม่มีครูบาอาจารย์ไม่อยาฝึกหรอกครับ แล้วไอ้เรื่องแบบนี้มันเสี่ยงพอตัวนา จะให้เป็นพวกบ้าๆบอๆ อยากเห็นนู่นเห็นนี่ก็ไม่เอาด้วยหรอก ^-^ อีแบบนั้นเดี๋ยวมันจะบ้าเอาได้นะ
     
  19. Sgman

    Sgman สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    22
    ค่าพลัง:
    +12
    นิพพาน (Nirvana) ก็แค่คำๆ หนึ่ง เพื่อใช้เป็นภาษาสำหรับอธิบายธรรมชาติแห่งความว่างปล่าว (Emptiness) เพื่อเข้าถึงความหลุดพ้นจากสังสารวัฏ (Enlightenment)
    สังสารวัฏ (Samsara) ก็แค่คำอีกคำหนึ่งที่มีลักษณะตรงกันข้ามกับนิพพาน เป็นธรรมชาติแห่งการเกิดดับและความไม่มีตัวตนที่เที่ยงแท้ถาวรของสรรพสิ่งตามหลักไตรลักษณ์ (Three Marks of Existence)

    ทั้ง "นิพพาน" และ "สังสารวัฐ" คือรูปแบบของธรรมชาติที่ตรงข้ามกันเหมือนด้านสองด้านของเหรียญเดียวกัน เราสามารถเห็นได้ด้วยพลังจิตจากสมาธิ ทั้งตาใน (เช่น การพิจารณาความเกิดและดับของจิตเพื่อรู้แจ้งถึงสังสารวัฏ และ เมื่อดวงจิตรู้แจ้งถึงสังสารวัฏ นิพพานก็จะปรากฎขึ้นเอง) และตานอก (เช่น ที่ว่างและดวงดาวบนท้องฟ้า)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 พฤศจิกายน 2011
  20. telwada

    telwada เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2004
    โพสต์:
    1,606
    ค่าพลัง:
    +1,817
    ฆราวาสก็ถึงนิพพานได้ ไม่เกี่ยวกับการมีภรรยาหรือไม่มีภรรยา
    รู้จักแบ่งเวลา ก็สามารถบรรลุนิพพานได้
     

แชร์หน้านี้

Loading...