สำนักสงฆ์พระใหญ่ ขอเชิญร่วมสร้างศาลาปฏิบัติธรรมและห้องน้ำ

ในห้อง 'พระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง' ตั้งกระทู้โดย หลวงพ่อโจ, 21 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    พระไตรปิฎก ฉบับมหามกุฏฯ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๓๖
    พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่มที่ ๓​
     
    AN V.161 āghātavinaya Sutta Subduing Hatred (1)​
     
     
    (๑๗) . อาฆาตวคฺโค
    . ปฐมอาฆาตปฏิวินยสุตฺตํ
    ‘‘ปญฺจิเม, ภิกฺขเว, อาฆาตปฏิวินยา ยตฺถ ภิกฺขุโน อุปฺปนฺโน อาฆาโต สพฺพโส ปฏิวิเนตพฺโพฯ กตเม ปญฺจ? ยสฺมิํ, ภิกฺขเว, ปุคฺคเล อาฆาโต ชาเยถ, เมตฺตา ตสฺมิํ ปุคฺคเล ภาเวตพฺพา; เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ ยสฺมิํ, ภิกฺขเว, ปุคฺคเล อาฆาโต ชาเยถ, กรุณา ตสฺมิํ ปุคฺคเล ภาเวตพฺพา; เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ ยสฺมิํ, ภิกฺขเว, ปุคฺคเล อาฆาโต ชาเยถ, อุเปกฺขา ตสฺมิํ ปุคฺคเล ภาเวตพฺพา; เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ ยสฺมิํ, ภิกฺขเว, ปุคฺคเล อาฆาโต ชาเยถ, อสติอมนสิกาโร ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาปชฺชิตพฺโพ; เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ ยสฺมิํ, ภิกฺขเว, ปุคฺคเล อาฆาโต ชาเยถ, กมฺมสฺสกตา ตสฺมิํ ปุคฺคเล อธิฏฺฐาตพฺพา – ‘กมฺมสฺสโก อยมายสฺมา กมฺมทายาโท กมฺมโยนิ กมฺมพนฺธุ กมฺมปฺปฏิสรโณ, ยํ กมฺมํ กริสฺสติ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสฺส ทายาโท ภวิสฺสตี’ติ; เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ อิเม โข, ภิกฺขเว, ปญฺจ อาฆาตปฏิวินยา, ยตฺถ ภิกฺขุโน อุปฺปนฺโน อาฆาโต สพฺพโส ปฏิวิเนตพฺโพ’’ติฯ ปฐมํฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเป็นที่ระงับความอาฆาตซึ่งเกิดขึ้นแก่ภิกษุโดยประการ
    ทั้งปวง ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ ความอาฆาตพึงบังเกิดขึ้นในบุคคลใด พึงเจริญ
    เมตตาในบุคคลนั้น ๑ ความอาฆาตพึงบังเกิดขึ้นในบุคคลใด พึงเจริญกรุณาในบุคคลนั้น ๑
    ความอาฆาตพึงบังเกิดขึ้นในบุคคลใดพึงเจริญอุเบกขาในบุคคลนั้น ๑ ความอาฆาตพึงบังเกิด
    ขึ้นในบุคคลใด พึงถึงการไม่นึกไม่ใฝ่ใจในบุคคลนั้น ๑ ความอาฆาตพึงบังเกิดขึ้นในบุคคลใด
    พึงนึกถึงความเป็นผู้มีกรรมเป็นของๆ ตนให้มั่นในบุคคลนั้นว่า ท่านผู้นี้เป็นผู้มีกรรมเป็นของๆ
    ตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง จักทำกรรมใด
    ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม จักเป็นทายาท (ผู้รับผล) ของกรรมนั้น ดังนี้ ๑ ภิกษุพึงระงับความอาฆาต
    ในบุคคลนั้นด้วยประการฉะนี้ ฯ
     
    Paṭhamaāghātapaṭivinayasuttaṃ
    161. ‘‘Pañcime, bhikkhave, āghātapaṭivinayā yattha bhikkhuno uppanno āghāto sabbaso paṭivinetabbo. Katame pañca? Yasmiṃ, bhikkhave, puggale āghāto jāyetha, mettā tasmiṃ puggale bhāvetabbā; evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Yasmiṃ, bhikkhave, puggale āghāto jāyetha, karuṇ
    ā tasmiṃ puggale bhāvetabbā; evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Yasmiṃ, bhikkhave, puggale āghāto jāyetha, upekkhā tasmiṃ puggale bhāvetabbā; evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Yasmiṃ, bhikkhave, puggale āghāto jāyetha, asatiamanasikāro tasmiṃ puggale āpajjitabbo; evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Yasmiṃ, bhikkhave, puggale āghāto jāyetha, kammassakatā tasmiṃ puggale adhiṭṭhātabbā – ‘kammassako ayamāyasmā kammadāyādo kammayoni kammabandhu kammappaṭisaraṇo, yaṃ kammaṃ karissati kalyāṇaṃ vā pāpakaṃ vā tassa dāyādo bhavissatī’ti; evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Ime kho, bhikkhave, pañca āghātapaṭivinayā, yattha bhikkhuno uppanno āghāto sabbaso paṭivinetabbo’’ti. Paṭhamaṃ.
    Translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu
    "There are these five ways of subduing hatred by which, when hatred arises in a monk, he should wipe it out completely. Which five?
    "When you give birth to hatred for an individual, you should develop good will for that individual. Thus the hatred for that individual should be subdued.
    "When you give birth to hatred for an individual, you should develop compassion for that individual. Thus the hatred for that individual should be subdued.
    "When you give birth to hatred for an individual, you should develop equanimity toward that individual. Thus the hatred for that individual should be subdued.
    "When you give birth to hatred for an individual, you should pay him no mind & pay him no attention. Thus the hatred for that individual should be subdued.
    "When you give birth to hatred for an individual, you should direct your thoughts to the fact of his being the product of his actions: 'This venerable one is the doer of his actions, heir to his actions, born of his actions, related by his actions, and has his actions as his arbitrator. Whatever action he does, for good or for evil, to that will he fall heir.' Thus the hatred for that individual should be subdued.
    "These are five ways of subduing hatred by which, when hatred arises in a monk, he should wipe it out completely."
     
    . ทุติยอาฆาตปฏิวินยสุตฺตํ
    ๑๖๒. ตตฺร โข อายสฺมา สาริปุตฺโต ภิกฺขู อามนฺเตสิ – ‘‘อาวุโส ภิกฺขเว’’ติฯ ‘‘อาวุโส’’ติ โข เต ภิกฺขู อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ปจฺจสฺโสสุํฯ อายสฺมา สาริปุตฺโต เอตทโวจ
    ‘‘
    ปญฺจิเม, อาวุโส, อาฆาตปฏิวินยา ยตฺถ ภิกฺขุโน อุปฺปนฺโน อาฆาโต สพฺพโส ปฏิวิเนตพฺโพฯ กตเม ปญฺจ? อิธาวุโส, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร โหติ ปริสุทฺธวจีสมาจาโร; เอวรูเปปิ, อาวุโส, ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ อิธ ปนาวุโส, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อปริสุทฺธวจีสมาจาโร โหติ ปริสุทฺธกายสมาจาโร; เอวรูเปปิ, อาวุโส, ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ อิธ ปนาวุโส, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร โหติ อปริสุทฺธวจีสมาจาโร, ลภติ จ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ; เอวรูเปปิ, อาวุโส, ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ อิธ ปนาวุโส, เอกจฺโจ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร โหติ อปริสุทฺธวจีสมาจาโร, น จ ลภติ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ; เอวรูเปปิ, อาวุโส, ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ อิธ ปนาวุโส, เอกจฺโจ ปุคฺคโล ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร, ลภติ จ กาเลน วา กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ; เอวรูเปปิ, อาวุโส, ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ
    ‘‘ตตฺราวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร, กถํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพ? เสยฺยถาปิ, อาวุโส, ภิกฺขุ ปํสุกูลิโก รถิยาย นนฺตกํ ทิสฺวา วาเมน ปาเทน นิคฺคณฺหิตฺวา ทกฺขิเณน ปาเทน ปตฺถริตฺวา [วิตฺถาเรตฺวา (สี. ปี.)], โย ตตฺถ สาโร ตํ ปริปาเตตฺวา อาทาย ปกฺกเมยฺย; เอวเมวํ ขฺวาวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร, ยาสฺส อปริสุทฺธกายสมาจารตา น สาสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพา, ยา จ ขฺวาสฺส ปริสุทฺธวจีสมาจารตา สาสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพาฯ เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ
    ‘‘ตตฺราวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธวจีสมาจาโร ปริสุทฺธกายสมาจาโร, กถํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพ? เสยฺยถาปิ, อาวุโส, โปกฺขรณี เสวาลปณกปริโยนทฺธาฯ อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย ฆมฺมาภิตตฺโต ฆมฺมปเรโต กิลนฺโต ตสิโต ปิปาสิโตฯ โส ตํ โปกฺขรณิํ โอคาเหตฺวา อุโภหิ หตฺเถหิ อิติจิติ จ เสวาลปณกํ อปวิยูหิตฺวา อญฺชลินา ปิวิตฺวา ปกฺกเมยฺยฯ เอวเมวํ โข, อาวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธวจีสมาจาโร ปริสุทฺธกายสมาจาโร, ยาสฺส อปริสุทฺธวจีสมาจารตา น สาสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพา, ยา จ ขฺวาสฺส ปริสุทฺธกายสมาจารตา สาสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพาฯ เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ
    ‘‘ตตฺราวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร ลภติ จ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, กถํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพ? เสยฺยถาปิ, อาวุโส, ปริตฺตํ โคปเท [โคปทเก (สี. สฺยา.)] อุทกํฯ อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย ฆมฺมาภิตตฺโต ฆมฺมปเรโต กิลนฺโต ตสิโต ปิปาสิโตฯ ตสฺส เอวมสฺส – ‘อิทํ โข ปริตฺตํ โคปเท อุทกํฯ สจาหํ อญฺชลินา วา ปิวิสฺสามิ ภาชเนน วา โขเภสฺสามิปิ ตํ โลเฬสฺสามิปิ ตํ อเปยฺยมฺปิ ตํ กริสฺสามิฯ ยํนูนาหํ จตุกฺกุณฺฑิโก [จตุคุณฺฑิโก (สี.), จตุกุณฺฑิโก (สฺยา. กํ. ปี.), จตุโกณฺฑิโก (ที. นิ. .)] นิปติตฺวา โคปีตกํ ปิวิตฺวา ปกฺกเมยฺย’นฺติฯ โส จตุกฺกุณฺฑิโก นิปติตฺวา โคปีตกํ ปิวิตฺวา ปกฺกเมยฺยฯ เอวเมวํ โข, อาวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร ลภติ จ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, ยาสฺส อปริสุทฺธกายสมาจารตา น สาสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพา; ยาปิสฺส อปริสุทฺธวจีสมาจารตา น สาปิสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพาฯ ยญฺจ โข โส ลภติ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, ตเมวสฺส [ตเทวสฺส (สี. สฺยา.)] ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพํฯ เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ
    ‘‘ตตฺราวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร น จ ลภติ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, กถํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพ? เสยฺยถาปิ, อาวุโส, ปุริโส อาพาธิโก ทุกฺขิโต พาฬฺหคิลาโน อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโนฯ ตสฺส ปุรโตปิสฺส ทูเร คาโม ปจฺฉโตปิสฺส ทูเร คาโมฯ โส น ลเภยฺย สปฺปายานิ โภชนานิ, น ลเภยฺย สปฺปายานิ เภสชฺชานิ, น ลเภยฺย ปติรูปํ อุปฏฺฐากํ, น ลเภยฺย คามนฺตนายกํฯ ตเมนํ อญฺญตโร ปุริโส ปสฺเสยฺย อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโนฯ โส ตสฺมิํ ปุริเส การุญฺญํเยว อุปฏฺฐาเปยฺย, อนุทฺทยํเยว อุปฏฺฐาเปยฺย, อนุกมฺปํเยว อุปฏฺฐาเปยฺย – ‘อโห วตายํ ปุริโส ลเภยฺย สปฺปายานิ โภชนานิ, ลเภยฺย สปฺปายานิ เภสชฺชานิ, ลเภยฺย ปติรูปํ อุปฏฺฐากํ, ลเภยฺย คามนฺตนายกํ! ตํ กิสฺส เหตุ? มายํ [อยํ (.)] ปุริโส อิเธว อนยพฺยสนํ อาปชฺชี’ติ [อาปชฺเชยฺย (.)]! เอวเมวํ โข, อาวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล อปริสุทฺธกายสมาจาโร อปริสุทฺธวจีสมาจาโร น จ ลภติ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, เอวรูเปปิ [เอวรูเป (ปี.)], อาวุโส, ปุคฺคเล การุญฺญํเยว อุปฏฺฐาเปตพฺพํ อนุทฺทยาเยว อุปฏฺฐาเปตพฺพา อนุกมฺปาเยว อุปฏฺฐาเปตพฺพา – ‘อโห วต อยมายสฺมา กายทุจฺจริตํ ปหาย กายสุจริตํ ภาเวยฺย, วจีทุจฺจริตํ ปหาย วจีสุจริตํ ภาเวยฺย, มโนทุจฺจริตํ ปหาย มโนสุจริตํ ภาเวยฺย! ตํ กิสฺส เหตุ? มายํ อายสฺมา [อยมายสฺมา (.)] กายสฺส เภทา ปรํ มรณา อปายํ ทุคฺคติํ วินิปาตํ นิรยํ อุปปชฺชี’ติ [อุปปชฺชตีติ (.)]! เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ
    ‘‘ตตฺราวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร ลภติ จ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, กถํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพ? เสยฺยถาปิ, อาวุโส, โปกฺขรณี อจฺโฉทกา สาโตทกา สีโตทกา [อจฺโฉทิกา สาโตทิกา สีโตทิกา (สี.)] เสตกา [เสโตทกา (.)] สุปติตฺถา รมณียา นานารุกฺเขหิ สญฺฉนฺนาฯ อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย ฆมฺมาภิตตฺโต ฆมฺมปเรโต กิลนฺโต ตสิโต ปิปาสิโตฯ โส ตํ โปกฺขรณิํ โอคาเหตฺวา นฺหาตฺวา จ ปิวิตฺวา จ ปจฺจุตฺตริตฺวา ตตฺเถว รุกฺขจฺฉายาย นิสีเทยฺย วา นิปชฺเชยฺย วาฯ
    เอวเมวํ โข
    , อาวุโส, ยฺวายํ ปุคฺคโล ปริสุทฺธกายสมาจาโร ปริสุทฺธวจีสมาจาโร ลภติ จ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, ยาปิสฺส ปริสุทฺธกายสมาจารตา สาปิสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพา; ยาปิสฺส ปริสุทฺธวจีสมาจารตา สาปิสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพา; ยมฺปิ ลภติ กาเลน กาลํ เจตโส วิวรํ เจตโส ปสาทํ, ตมฺปิสฺส ตสฺมิํ สมเย มนสิ กาตพฺพํฯ เอวํ ตสฺมิํ ปุคฺคเล อาฆาโต ปฏิวิเนตพฺโพฯ สมนฺตปาสาทิกํ, อาวุโส, ปุคฺคลํ อาคมฺม จิตฺตํ ปสีทติฯ
    ‘‘​
    อิเม โข, อาวุโส, ปญฺจ อาฆาตปฏิวินยา, ยตฺถ ภิกฺขุโน อุปฺปนฺโน อาฆาโต สพฺพโส ปฏิวิเนตพฺโพ’’ติฯ ทุติยํฯ

    ๒. ทุติยอาฆาตวินยสูตร
    ว่าด้วยธรรมระงับความอาฆาต ๕ ประการ

    ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโส ภิกษุ
    เหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ธรรม
    เป็นที่ระงับความอาฆาต ซึ่งเกิดขึ้นแก่ภิกษุโดยประการทั้งปวง๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน
    คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ (แต่) เป็นผู้มีความ
    ประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลแม้เช่นนี้ อนึ่ง บุคคลบางคนใน
    โลกนี้ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ (แต่) เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์
    ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลแม้เช่นนี้ อนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีความประพฤติ
    ทางกายไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์แต่ย่อมได้ทางสงบใจ ได้ความ
    เลื่อมใสโดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลแม้เช่นนี้ อนึ่ง บุคคล
    บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่
    บริสุทธิ์ และย่อมไม่ได้ทางสงบใจ ไม่ได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควร ภิกษุพึง
    ระงับความอาฆาตในบุคคลแม้เช่นนี้ อนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีความประพฤติทางกาย
    บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ และย่อมได้ทางสงบใจ ย่อมได้ความเลื่อมใส
    โดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลแม้เช่นนี้ดูกรภิกษุทั้งหลาย ใน
    บุคคล ๕ จำพวกนั้น บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ (แต่) เป็นผู้มีความ
    ประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างไร เหมือนอย่างว่า
    ภิกษุผู้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตรเห็นผ้าเก่าที่ถนน เหยียบให้มั่นด้วยเท้าซ้าย เขี่ยออกดูด้วยเท้าขวา
    ส่วนใดเป็นสาระ ก็เลือกถือเอาส่วนนั้นแล้วหลีกไป แม้ฉันใด บุคคลใด เป็นผู้มีความ
    ประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ (แต่) เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ความประพฤติทางกาย
    ไม่บริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุไม่พึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น ส่วนความประพฤติทางวาจา
    บริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น ฉันนั้น ภิกษุพึงระงับความอาฆาตใน
    บุคคลนั้นอย่างนี้ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ (แต่)
    เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างไรเหมือน
    อย่างว่า สระน้ำที่ถูกสาหร่ายและแหนคลุมไว้ บุรุษผู้เดินทางร้อนอบอ้าวเหนื่อยอ่อน ระหาย
    น้ำ เขาลงสู่สระน้ำนั้น แหวกสาหร่ายและแหนด้วยมือทั้งสองแล้ว กอบน้ำขึ้นดื่มแล้วพึงไป
    แม้ฉันใด บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ (แต่) เป็นผู้มีความประพฤติ
    ทางกายบริสุทธิ์ ความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุไม่พึงใส่ใจในส่วนนั้น
    ในสมัยนั้น ส่วนความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจในส่วนนั้นในสมัย
    นั้น ฉันนั้น ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนี้อย่างนี้ ดูกรอาวุโสทั้งหลายบุคคลใด เป็นผู้มี
    ความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ แต่ย่อมได้ทางสงบใจ
    ได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควรภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างไร เหมือน
    อย่างว่า น้ำเล็กน้อยมีอยู่ในรอยโค บุรุษผู้เดินทางร้อนอบอ้าว เหนื่อยอ่อน ระหายน้ำ เขา
    พึงเกิดความคิดอย่างนี้ว่า น้ำเล็กน้อยมีอยู่ในรอยโคนี้ ถ้าเราจักกอบขึ้นดื่มหรือใช้ภาชนะตักขึ้น
    ดื่มไซร้เราก็จักทำน้ำนั้นให้ไหวบ้าง ให้ขุ่นบ้าง ให้ไม่เป็นที่ควรดื่มบ้าง ถ้ากระไรเราพึงคุกเข่า
    ก้มลงดื่มอย่างโคดื่มน้ำแล้วหลีกไปเถิด เขาคุกเข่าก้มลงดื่มน้ำอย่างโคดื่มน้ำแล้วไป แม้ฉันใด
    บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ แต่
    ย่อมได้ทางสงบใจ ได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควร ความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์
    ส่วนใดของเขา ภิกษุไม่พึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น แม้ความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์
    ส่วนใดของเขา ภิกษุก็ไม่พึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น แต่การได้ทางสงบใจ ได้ความเลื่อมใส
    โดยกาลอันสมควรส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น ฉันนั้น ภิกษุพึงระงับ
    ความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างนี้ ดูกรอาวุโสทั้งหลาย บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางกาย
    ไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์และย่อมไม่ได้ทางสงบใจ ไม่ได้ความเลื่อมใส
    โดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างไร เหมือนอย่างว่า บุรุษ
    ผู้อาพาธ มีทุกข์ เป็นไข้หนักเดินทางไกล แม้ข้างหน้าเขาก็มีบ้านอยู่ไกล แม้ข้างหลังเขาก็มี
    บ้านอยู่ไกล เขาไม่พึงได้อาหารที่สบาย (ถูกโรค) เภสัชที่สบาย ผู้พยาบาลที่สมควร และผู้นำ
    ทางไปสู่บ้าน บุรุษบางคนผู้เดินทางไกลพึงเห็นเขา บุรุษนั้นพึงเข้าไปตั้งความการุณความเอ็นดู
    ความอนุเคราะห์ในเขาว่า โอ คนๆ นี้พึงได้อาหารที่สบาย เภสัชที่สบาย ผู้พยาบาลที่สมควร
    และผู้นำทางไปสู่บ้าน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า คนๆ นี้อย่าถึงความพินาศฉิบหาย
    ณ ที่นี้เลย แม้ฉันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติ
    ทางวาจาไม่บริสุทธิ์และย่อมไม่ได้ทางสงบใจ ไม่ได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควร
    ภิกษุพึงเข้าไปตั้งความการุณ ความเอ็นดู ความอนุเคราะห์ ในบุคคลแม้เห็นปานนี้ว่า โอท่าน
    ผู้นี้พึงละกายทุจริตแล้ว อบรมกายสุจริต พึงละวจีทุจริตแล้ว อบรมวจีสุจริต พึงละมโนทุจริต
    แล้ว อบรมมโนสุจริต ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ท่านผู้นี้เมื่อตายไปแล้ว อย่าเข้าถึง
    อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉันนั้น ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างนี้ ดูกรอาวุโส
    ทั้งหลาย บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
    ย่อมได้ทางสงบใจ และย่อมได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาต
    ในบุคคลนั้นอย่างไร เหมือนอย่างว่า สระน้ำที่มีน้ำใส มีน้ำอร่อยดี มีน้ำเย็น มีน้ำขาว มี
    ท่าน้ำราบเรียบ น่ารื่นรมย์ดาระดาดไปด้วยต้นไม้พันธุ์ต่างๆ บุคคลผู้เดินทางร้อนอบอ้าว เหนื่อย
    อ่อน ระหายน้ำ เขาพึงลงสู่สระน้ำนั้น อาบบ้างดื่มบ้าง แล้วขึ้นมานั่งบ้าง นอนบ้าง ที่ร่มไม้
    ใกล้สระน้ำนั้น แม้ฉันใด บุคคลใด เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ เป็นผู้มีความประพฤติ
    ทางวาจาบริสุทธิ์ย่อมได้ทางสงบใจ และย่อมได้ความเลื่อมใสโดยกาลอันสมควร แม้ความ
    ประพฤติทางกายบริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้น แม้ความประพฤติทาง
    วาจาบริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้นแม้การได้ทางสงบใจ ได้ความ
    เลื่อมใสโดยกาลอันสมควร ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัย ฉันนั้น
    ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างนี้ดูกรอาวุโสทั้งหลาย เพราะอาศัยบุคคลผู้เป็นที่น่า
    เลื่อมใสโดยประการทั้งปวง จิตย่อมเลื่อมใส ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ธรรมเป็นที่ระงับความอาฆาต
    ซึ่งเกิดขึ้นแก่ภิกษุโดยประการทั้งปวง ๕ ประการนี้แล ฯ
    จบสูตรที่ ๒
     
     
    2. Dutiyaāghātapaṭivinayasuttaṃ
    162. Tatra kho āyasmā sāriputto bhikkhū āmantesi – ‘‘
    āvuso bhikkhave’’ti. ‘‘Āvuso’’ti kho te bhikkhū āyasmato sāriputtassa paccassosuṃ. Āyasmā sāriputto etadavoca –
    ‘‘Pañcime, āvuso, āghātapaṭivinayā yattha bhikkhuno uppanno āghāto sabbaso paṭivinetabbo. Katame pañca? Idhāvuso, ekacco puggalo aparisuddhakāyasamācāro hoti parisuddhavacīsamācāro; evarūpepi, āvuso, puggale āghāto paṭivinetabbo. Idha panāvuso, ekacco puggalo aparisuddhavacīsamācāro hoti parisuddhakāyasamācāro; evarūpepi, āvuso, puggale āghāto paṭivinetabbo. Idha panāvuso, ekacco puggalo aparisuddhakāyasamācāro hoti aparisuddhavacīsamācāro, labhati ca kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ; evarūpepi, āvuso, puggale āghāto paṭivinetabbo. Idha panāvuso, ekacco puggalo aparisuddhakāyasamācāro hoti aparisuddhavacīsamācāro, na ca labhati kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ; evarūpepi, āvuso, puggale āghāto paṭivinetabbo. Idha panāvuso, ekacco puggalo parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro, labhati ca kālena vā kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ; evarūpepi, āvuso, puggale āghāto paṭivinetabbo.
    ‘‘Tatrāvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro, kathaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo? Seyyathāpi, āvuso, bhikkhu paṃsukūliko rathiyāya nantakaṃ disvā vāmena pādena niggaṇhitvā dakkhiṇena pādena pattharitvā [vitthāretvā (sī. pī.)], yo tattha sāro taṃ paripātetvā ādāya pakkameyya; evamevaṃ khvāvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro, yāssa aparisuddhakāyasamācāratā na sāssa tasmiṃ samaye manasi kātabbā, yā ca khvāssa parisuddhavacīsamācāratā sāssa tasmiṃ samaye manasi kātabbā. Evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo.
    ‘‘Tatrāvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhavacīsamācāro parisuddhakāyasamācāro, kathaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo? Seyyathāpi, āvuso, pokkharaṇ
    ī sevālapaṇakapariyonaddhā. Atha puriso āgaccheyya ghammābhitatto ghammapareto kilanto tasito pipāsito. So taṃ pokkharaṇiṃ ogāhetvā ubhohi hatthehi iticiti ca sevālapaṇakaṃ apaviyūhitvā añjalinā pivitvā pakkameyya. Evamevaṃ kho, āvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhavacīsamācāro parisuddhakāyasamācāro, yāssa aparisuddhavacīsamācāratā na sāssa tasmiṃ samaye manasi kātabbā, yā ca khvāssa parisuddhakāyasamācāratā sāssa tasmiṃ samaye manasi kātabbā. Evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo.
    ‘‘Tatrāvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro labhati ca kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, kathaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo? Seyyathāpi, āvuso, parittaṃ gopade [gopadake (sī. syā.)] udakaṃ. Atha puriso āgaccheyya ghammābhitatto ghammapareto kilanto tasito pipāsito. Tassa evamassa – ‘idaṃ kho parittaṃ gopade udakaṃ. Sacāhaṃ añjalinā vā pivissāmi bhājanena vā khobhessāmipi taṃ loḷessāmipi taṃ apeyyampi taṃ karissāmi. Yaṃnūnāhaṃ catukkuṇḍiko [catuguṇḍiko (sī.), catukuṇḍiko (syā. kaṃ. pī.), catukoṇḍiko (dī. ni. 3.7)] nipatitvā gopītakaṃ pivitvā pakkameyya’nti. So catukkuṇḍiko nipatitvā gopītakaṃ pivitvā pakkameyya. Evamevaṃ kho, āvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro labhati ca kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, yāssa aparisuddhakāyasamācāratā na sāssa tasmiṃ samaye manasi kātabbā; yāpissa aparisuddhavacīsamācāratā na sāpissa tasmiṃ samaye manasi kātabbā. Yañca kho so labhati kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, tamevassa [tadevassa (sī. syā.)] tasmiṃ samaye manasi kātabbaṃ. Evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo.
    ‘‘Tatrāvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro na ca labhati kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, kathaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo? Seyyathāpi, āvuso, puriso ābādhiko dukkhito bāḷhagilāno addhānamaggappaṭipanno. Tassa puratopissa dūre gāmo pacchatopissa dūre gāmo. So na labheyya sappāyāni bhojanāni, na labheyya sappāyāni bhesajjāni, na labheyya patirūpaṃ upaṭṭhākaṃ, na labheyya gāmantanāyakaṃ. Tamenaṃ aññataro puriso passeyya addhānamaggappaṭipanno. So tasmiṃ purise kāruññaṃyeva upaṭṭhāpeyya, anuddayaṃyeva upaṭṭhāpeyya, anukampaṃyeva upaṭṭhāpeyya – ‘aho vatāyaṃ puriso labheyya sappāyāni bhojanāni, labheyya sappāyāni bhesajjāni, labheyya patirūpaṃ upaṭṭhākaṃ, labheyya gāmantanāyakaṃ! Taṃ kissa hetu? Māyaṃ [ayaṃ (ka.)] puriso idheva anayabyasanaṃ āpajjī’ti [āpajjeyya (ka.)]! Evamevaṃ kho, āvuso, yvāyaṃ puggalo aparisuddhakāyasamācāro aparisuddhavacīsamācāro na ca labhati kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, evarūpepi [evarūpe (pī.)], āvuso, puggale kāruññaṃyeva upaṭṭhāpetabbaṃ anuddayāyeva upaṭṭhāpetabbā anukampāyeva upaṭṭhāpetabbā – ‘aho vata ayamāyasmā kāyaduccaritaṃ pahāya kāyasucaritaṃ bhāveyya, vacīduccaritaṃ pahāya vacīsucaritaṃ bhāveyya, manoduccaritaṃ pahāya manosucaritaṃ bhāveyya! Taṃ kissa hetu? Māyaṃ āyasmā [ayamāyasmā (ka.)] kāyassa bhedā paraṃ maraṇ
    ā apāyaṃ duggatiṃ vinipātaṃ nirayaṃ upapajjī’ti [upapajjatīti (ka.)]! Evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo.
    ‘‘Tatrāvuso, yvāyaṃ puggalo parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro labhati ca kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, kathaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo? Seyyathāpi, āvuso, pokkharaṇ
    ī acchodakā sātodakā sītodakā [acchodikā sātodikā sītodikā (sī.)] setakā [setodakā (ka.)] supatitthā ramaṇīyā nānārukkhehi sañchannā. Atha puriso āgaccheyya ghammābhitatto ghammapareto kilanto tasito pipāsito. So taṃ pokkharaṇiṃ ogāhetvā nhātvā ca pivitvā ca paccuttaritvā tattheva rukkhacchāyāya nisīdeyya vā nipajjeyya vā.
    Evamevaṃ kho, āvuso, yvāyaṃ puggalo parisuddhakāyasamācāro parisuddhavacīsamācāro labhati ca kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, yāpissa parisuddhakāyasamācāratā sāpissa tasmiṃ samaye manasi kātabbā; yāpissa parisuddhavacīsamācāratā sāpissa tasmiṃ samaye manasi kātabbā; yampi labhati kālena kālaṃ cetaso vivaraṃ cetaso pasādaṃ, tampissa tasmiṃ samaye manasi kātabbaṃ. Evaṃ tasmiṃ puggale āghāto paṭivinetabbo. Samantapāsādikaṃ, āvuso, puggalaṃ āgamma cittaṃ pasīdati.
    ‘‘Ime kho, āvuso, pañca āghātapaṭivinayā, yattha bhikkhuno uppanno āghāto sabbaso paṭivinetabbo’’ti. Dutiyaṃ
    Translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu
    Then Ven. Sariputta addressed the monks: "Friend monks."
    "Yes, friend," the monks responded to him.
    Ven. Sariputta said: "There are these five ways of subduing hatred by which, when hatred arises in a monk, he should wipe it out completely. Which five?
    "There is the case where some people are impure in their bodily behavior but pure in their verbal behavior. Hatred for a person of this sort should be subdued.
    "There is the case where some people are impure in their verbal behavior but pure in their bodily behavior. Hatred for a person of this sort should also be subdued.
    "There is the case where some people are impure in their bodily behavior & verbal behavior, but who periodically experience mental clarity & calm. Hatred for a person of this sort should also be subdued.
    "There is the case where some people are impure in their bodily behavior & verbal behavior, and who do not periodically experience mental clarity & calm. Hatred for a person of this sort should also be subdued.
    "There is the case where some people are pure in their bodily behavior & their verbal behavior, and who periodically experience mental clarity & calm. Hatred for a person of this sort should also be subdued.
    "Now as for a person who is impure in his bodily behavior but pure in his verbal behavior, how should one subdue hatred for him? Just as when a monk who makes use of things that are thrown away sees a rag in the road: Taking hold of it with his left foot and spreading it out with his right, he would tear off the sound part and go off with it. In the same way, when the individual is impure in his bodily behavior but pure in his verbal behavior, one should at that time pay no attention to the impurity of his bodily behavior, and instead pay attention to the purity of his verbal behavior. Thus the hatred for him should be subdued.
    "And as for a person who is impure in his verbal behavior, but pure in his bodily behavior, how should one subdue hatred for him? Just as when there is a pool overgrown with slime & water plants, and a person comes along, burning with heat, covered with sweat, exhausted, trembling, & thirsty. He would jump into the pool, part the slime & water plants with both hands, and then, cupping his hands, drink the water and go on his way. In the same way, when the individual is impure in his verbal behavior but pure in his bodily behavior, one should at that time pay no attention to the impurity of his verbal behavior, and instead pay attention to the purity of his bodily behavior. Thus the hatred for him should be subdued.
    "And as for a person who is impure in his bodily behavior & verbal behavior, but who periodically experiences mental clarity & calm, how should one subdue hatred for him? Just as when there is a little puddle in a cow's footprint, and a person comes along, burning with heat, covered with sweat, exhausted, trembling, & thirsty. The thought would occur to him, 'Here is this little puddle in a cow's footprint. If I tried to drink the water using my hand or cup, I would disturb it, stir it up, & make it unfit to drink. What if I were to get down on all fours and slurp it up like a cow, and then go on my way?' So he would get down on all fours, slurp up the water like a cow, and then go on his way. In the same way, when an individual is impure in his bodily behavior & verbal behavior, but periodically experiences mental clarity & calm, one should at that time pay no attention to the impurity of his bodily behavior...the impurity of his verbal behavior, and instead pay attention to the fact that he periodically experiences mental clarity & calm. Thus the hatred for him should be subdued.
    "And as for a person who is impure in his bodily behavior & verbal behavior, and who does not periodically experience mental clarity & calm, how should one subdue hatred for him? Just as when there is a sick man — in pain, seriously ill — traveling along a road, far from the next village & far from the last, unable to get the food he needs, unable to get the medicine he needs, unable to get a suitable assistant, unable to get anyone to take him to human habitation. Now suppose another person were to see him coming along the road. He would do what he could out of compassion, pity, & sympathy for the man, thinking, 'O that this man should get the food he needs, the medicine he needs, a suitable assistant, someone to take him to human habitation. Why is that? So that he won't fall into ruin right here.' In the same way, when a person is impure in his bodily behavior & verbal behavior, and who does not periodically experience mental clarity & calm, one should do what one can out of compassion, pity, & sympathy for him, thinking, 'O that this man should abandon wrong bodily conduct and develop right bodily conduct, abandon wrong verbal conduct and develop right verbal conduct, abandon wrong mental conduct and develop right mental conduct. Why is that? So that, on the break-up of the body, after death, he won't fall into the plane of deprivation, the bad destination, the lower realms, purgatory.' Thus the hatred for him should be subdued.
    "And as for a person who is pure in his bodily behavior & verbal behavior, and who periodically experiences mental clarity & calm, how should one subdue hatred for him? Just as when there is a pool of clear water — sweet, cool, & limpid, with gently sloping banks, & shaded on all sides by trees of many kinds — and a person comes along, burning with heat, covered with sweat, exhausted, trembling, & thirsty. Having plunged into the pool, having bathed & drunk & come back out, he would sit down or lie down right there in the shade of the trees. In the same way, when an individual is pure in his bodily behavior & verbal behavior, and periodically experiences mental clarity & calm, one should at that time pay attention to the purity of his bodily behavior...the purity of his verbal behavior, and to the fact that he periodically experiences mental clarity & calm. Thus the hatred for him should be subdued. An entirely inspiring individual can make the mind grow serene.
    "These are five ways of subduing hatred by which, when hatred arises in a monk, he should wipe it out completely."
     
     
     
     
     
  2. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]. [/FONT][/FONT]ทานมหปฺผลสุตฺตํ
    [FONT=Tahoma, sans-serif]9. Dānamahapphalasuttaṃ[/FONT]
    ทานสูตร
    ๕๒[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]. [/FONT][/FONT]เอกํ สมยํ ภควา จมฺปายํ วิหรติ คคฺคราย โปกฺขรณิยา ตีเรฯ อถโข สมฺพหุลา จมฺเปยฺยกา อุปาสกา เยน อายสฺมา สาริปุตฺโต เตนุปสงฺกมิํสุ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิํสุฯ เอกมนฺตํ นิสินฺนา โข จมฺเปยฺยกา อุปาสกา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ เอตทโวจุํ [FONT=Tahoma, sans-serif]– ‘‘[/FONT]จิรสฺสุตา โน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]ภนฺเต สาริปุตฺต [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สี[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)], [/FONT][/FONT]ภควโต สมฺมุขา ธมฺมีกถาฯ สาธุ มยํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ลเภยฺยาม ภควโต สมฺมุขา ธมฺมิํ กถํ [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]ภควโต สนฺติกา ธมฺมิํ กถํ [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สี[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].), [/FONT][/FONT]ภควโต ธมฺมิํ กถํ [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สฺยา[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)] [/FONT][/FONT]สวนายา’’ติฯ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘‘[/FONT]เตนหาวุโส[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ตทหุโปสเถ อาคจฺเฉยฺยาถ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อปฺเปว นาม ลเภยฺยาถ ภควโต สมฺมุขา [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]ภควโต สนฺติเก [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สฺยา[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)] [/FONT][/FONT]ธมฺมิํ กถํ สวนายา’’ติฯ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘‘[/FONT]เอวํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต’’ติ โข จมฺเปยฺยกา อุปาสกา อายสฺมโต สาริปุตฺตสฺส ปฏิสฺสุตฺวา อุฏฺฐายาสนา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ปกฺกมิํสุฯ
    อถ โข จมฺเปยฺยกา อุปาสกา ตทหุโปสเถ เยนายสฺมา สาริปุตฺโต เตนุปสงฺกมิํสุ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ สาริปุตฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺฐํสุฯ อถ โข อายสฺมา สาริปุตฺโต เตหิ จมฺเปยฺยเกหิ อุปาสเกหิ สทฺธิํ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิฯ เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา สาริปุตฺโต ภควนฺตํ เอตทโวจ [FONT=Tahoma, sans-serif]–[/FONT]
    ‘‘สิยา นุ โข[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ น มหปฺผลํ โหติ น มหานิสํสํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]สิยา ปน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ มหปฺผลํ โหติ มหานิสํส’’นฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]? ‘‘[/FONT][/FONT]สิยา[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ น มหปฺผลํ โหติ น มหานิสํสํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]สิยา ปน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ มหปฺผลํ โหติ มหานิสํส’’นฺติฯ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘‘[/FONT]โก นุ โข[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เหตุ โก ปจฺจโย เยน มิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ น มหปฺผลํ โหติ น มหานิสํสํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]โก นุ โข[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เหตุ โก ปจฺจโย เยน มิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ มหปฺผลํ โหติ มหานิสํส’’นฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]?[/FONT][/FONT]
    ‘‘อิธ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เอกจฺโจ สาเปโข [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]สาเปกฺโข [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สฺยา[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)] [/FONT][/FONT]ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ปติพทฺธจิตฺโต [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]ปติพนฺธจิตฺโต [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT][FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)] [/FONT][/FONT]ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สนฺนิธิเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], ‘[/FONT][/FONT]อิมํ เปจฺจ ปริภุญฺชิสฺสามี’ติ ทานํ เทติฯ โส ตํ ทานํ เทติ สมณสฺส วา พฺราหฺมณสฺส วา อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธวิเลปนํ เสยฺยาวสถปทีเปยฺยํฯ ตํ กิํ มญฺญสิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ทเทยฺย อิเธกจฺโจ เอวรูปํ ทาน’’นฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]? ‘‘[/FONT][/FONT]เอวํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต’’ฯ
    ‘‘ตตฺร[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ยฺวายํ สาเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ปติพทฺธจิตฺโต ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สนฺนิธิเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], ‘[/FONT][/FONT]อิมํ เปจฺจ ปริภุญฺชิสฺสามี’ติ ทานํ เทติฯ โส ตํ ทานํ ทตฺวา กายสฺส เภทา ปรํ มรณา จาตุมหาราชิกานํ เทวานํ สหพฺยตํ อุปปชฺชติฯ โส ตํ กมฺมํ เขเปตฺวา ตํ อิทฺธิํ ตํ ยสํ ตํ อาธิปจฺจํ อาคามี โหติ อาคนฺตา อิตฺถตฺตํฯ
    ‘‘อิธ ปน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เอกจฺโจ น เหว โข สาเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]น ปติพทฺธจิตฺโต ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]น สนฺนิธิเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]น [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อิมํ เปจฺจ ปริภุญฺชิสฺสามี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]สาหุ ทาน’นฺติ ทานํ เทติ…เป[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].… [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]สาหุ ทาน’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ทินฺนปุพฺพํ กตปุพฺพํ ปิตุปิตามเหหิ น อรหามิ โปราณํ กุลวํสํ หาเปตุ’นฺติ ทานํ เทติ…เป[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].… [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ทินฺนปุพฺพํ กตปุพฺพํ ปิตุปิตามเหหิ น อรหามิ โปราณํ กุลวํสํ หาเปตุ’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อหํ ปจามิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเม น ปจนฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]นารหามิ ปจนฺโต อปจนฺตานํ ทานํ อทาตุ’นฺติ ทานํ เทติ…เป[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].… [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อหํ ปจามิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเม น ปจนฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]นารหามิ ปจนฺโต อปจนฺตานํ ทานํ อทาตุ’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ยถา เตสํ ปุพฺพกานํ อิสีนํ ตานิ มหายญฺญานิ อเหสุํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เสยฺยถิทํ [FONT=Tahoma, sans-serif]– [/FONT]อฏฺฐกสฺส วามกสฺส วามเทวสฺส เวสฺสามิตฺตสฺส ยมทคฺคิโน องฺคีรสสฺส ภารทฺวาชสฺส วาเสฏฺฐสฺส กสฺสปสฺส ภคุโน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เอวํ เม อยํ ทานสํวิภาโค ภวิสฺสตี’ติ ทานํ เทติ…เป[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].… [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ยถา เตสํ ปุพฺพกานํ อิสีนํ ตานิ มหายญฺญานิ อเหสุํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เสยฺยถิทํ [FONT=Tahoma, sans-serif]– [/FONT]อฏฺฐกสฺส วามกสฺส วามเทวสฺส เวสฺสามิตฺตสฺส ยมทคฺคิโน องฺคีรสสฺส ภารทฺวาชสฺส วาเสฏฺฐสฺส กสฺสปสฺส ภคุโน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เอวํ เม อยํ ทานสํวิภาโค ภวิสฺสตี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อิมํ เม ทานํ ททโต จิตฺตํ ปสีทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อตฺตมนตา โสมนสฺสํ อุปชายตี’ติ ทานํ เทติ…เป[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].… [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อิมํ เม ทานํ ททโต จิตฺตํ ปสีทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อตฺตมนตา โสมนสฺสํ อุปชายตี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข จิตฺตาลงฺการจิตฺตปริกฺขารํ ทานํ เทติฯ โส ตํ ทานํ เทติ สมณสฺส วา พฺราหฺมณสฺส วา อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธวิเลปนํ เสยฺยาวสถปทีเปยฺยํฯ ตํ กิํ มญฺญสิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ทเทยฺย อิเธกจฺโจ เอวรูปํ ทาน’’นฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]? ‘‘[/FONT][/FONT]เอวํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ภนฺเต’’ฯ
    ‘‘ตตฺร[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]ยฺวายํ น เหว [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif][[/FONT][/FONT]นเหว โข [FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][/FONT]สี[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]. [/FONT][/FONT]สฺยา[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif].)] [/FONT][/FONT]สาเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]น ปติพทฺธจิตฺโต ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]น สนฺนิธิเปโข ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]น [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อิมํ เปจฺจ ปริภุญฺชิสฺสามี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]สาหุ ทาน’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ทินฺนปุพฺพํ กตปุพฺพํ ปิตุปิตามเหหิ น อรหามิ โปราณํ กุลวํสํ หาเปตุ’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อหํ ปจามิ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อิเม น ปจนฺติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]นารหามิ ปจนฺโต อปจนฺตานํ ทานํ อทาตุ’นฺติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]ยถา เตสํ ปุพฺพกานํ อิสีนํ ตานิ มหายญฺญานิ อเหสุํ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เสยฺยถิทํ [FONT=Tahoma, sans-serif]– [/FONT]อฏฺฐกสฺส วามกสฺส วามเทวสฺส เวสฺสามิตฺตสฺส ยมทคฺคิโน องฺคีรสสฺส ภารทฺวาชสฺส วาเสฏฺฐสฺส กสฺสปสฺส ภคุโน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เอวํ เม อยํ ทานสํวิภาโค ภวิสฺสตี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]นปิ [FONT=Tahoma, sans-serif]‘[/FONT]อิมํ เม ทานํ ททโต จิตฺตํ ปสีทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]อตฺตมนตา โสมนสฺสํ อุปชายตี’ติ ทานํ เทติ[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]; [/FONT][/FONT]อปิ จ โข จิตฺตาลงฺการจิตฺตปริกฺขารํ ทานํ เทติฯ โส ตํ ทานํ ทตฺวา กายสฺส เภทา ปรํ มรณา พฺรหฺมกายิกานํ เทวานํ สหพฺยตํ อุปปชฺชติฯ โส ตํ กมฺมํ เขเปตฺวา ตํ อิทฺธิํ ตํ ยสํ ตํ อาธิปจฺจํ อนาคามี โหติ อนาคนฺตา อิตฺถตฺตํฯ อยํ โข[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เหตุ อยํ ปจฺจโย เยน มิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ น มหปฺผลํ โหติ น มหานิสํสํฯ อยํ ปน[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]สาริปุตฺต[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT]เหตุ อยํ ปจฺจโย เยน มิเธกจฺจสฺส ตาทิสํเยว ทานํ ทินฺนํ มหปฺผลํ โหติ มหานิสํส’’นฺติฯ นวมํฯ
    ทานสูตร
    [FONT=Times New Roman, serif][[/FONT]๔๙[FONT=Times New Roman, serif]] [/FONT]สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ฝั่งสระโบกขรณีชื่อคัคคราใกล้จัมปานคร
    ครั้งนั้นแล อุบาสกชาวเมืองจัมปามากด้วยกัน เข้าไปหาท่านพระสารีบุตรถึงที่อยู่ อภิวาทแล้ว
    นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ธรรมีกถา
    เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาค พวกกระผมได้ฟังมานานแล้ว ขอได้โปรดเถิด พวกกระผม
    พึงได้ฟังธรรมีกถาของพระผู้มีพระภาค ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
    ถ้าอย่างนั้นท่านทั้งหลายพึงมาในวันอุโบสถ ท่านทั้งหลายพึงได้ฟังธรรมีกถาในสำนักพระผู้มี
    พระภาคแน่นอน อุบาสกชาวเมืองจัมปารับคำท่านพระสารีบุตรแล้วลุกจากที่นั่ง อภิวาทกระทำ
    ประทักษิณแล้วหลีกไป ต่อมา ถึงวันอุโบสถ อุบาสกชาวเมืองจัมปาพากันเข้าไปหาพระสารีบุตร
    ถึงที่อยู่ อภิวาทแล้วยืนอยู่ ณ ที่ควรข้างหนึ่ง ลำดับนั้น ท่านพระสารีบุตรพร้อมด้วยอุบาสก
    ชาวเมืองจัมปา เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่ควรข้างหนึ่ง
    ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทานเช่นนั้นนั่นแลที่บุคคลบางคน
    ในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก พึงมีหรือหนอแลและทานเช่นนั้นแล ที่บุคคล
    บางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มากพึงมีหรือพระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ดูกรสารีบุตร ทานเช่นนั้นนั่นแลที่บุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก
    พึงมี และทานเช่นนั้นนั่นแล ที่บุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก
    พึงมี ฯ
    สา[FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัย เครื่องให้ทานเช่นนั้นแล
    ที่บุคคลบางคนในโลกนี้ ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มากอะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัย
    เครื่องให้ทานเช่นนั้นนั่นแล ที่บุคคลบางคนในโลกนี้ ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
    [FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ยังมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผล
    ให้ทาน มุ่งการสั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิดว่า เราตายไปจักได้เสวยผลทานนี้ เขาให้ทาน
    คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีปและเครื่อง[FONT=Tahoma, sans-serif] [/FONT]อุปกรณ์ แก่สมณะหรือพราหมณ์ ดูกรสารีบุตร เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุคคล
    บางคนในโลกนี้ พึงให้ทานเห็นปานนี้หรือ ฯ
    สา[FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
    [FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]ดูกรสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลให้ทาน
    มุ่งการสั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิดว่าตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว
    เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นจาตุมมหาราช สิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ
    หมดความเป็นใหญ่แล้ว ยังมีผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ดูกรสารีบุตร ส่วนบุคคล
    บางคนในโลกนี้ ไม่มีหวังให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่คิดว่า
    ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ แล้วให้ทาน แต่ให้ทานด้วยคิดว่าทานเป็นการดี เขาให้ทาน
    คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอมเครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีปและ
    เครื่องอุปกรณ์แก่สมณะหรือพราหมณ์ดูกรสารีบุตร เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุคคล
    บางคนในโลกนี้พึงให้ทานเห็นปานนี้หรือ ฯ
    สา[FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
    [FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]ดูกรสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผล
    ให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้
    แต่ให้ทานด้วยคิดว่า ทานเป็นการดี เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความ
    เป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดาวดึงส์ เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ หมดความเป็นใหญ่แล้ว
    ยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ฯ
    ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าทานเป็นการดี แต่ให้ทาน
    ด้วยคิดว่า บิดามารดาปู่ย่าตายายเคยให้เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาให้ทาน
    คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นยามา เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ
    หมดความเป็นใหญ่แล้วยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ฯ
    ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า
    ตา ยายเคยให้เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากิน
    สมณะและพราหมณ์เหล่านี้ ไม่หุงหากิน เราหุงหากินได้จะไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์
    ผู้ไม่หุงหาไม่สมควร เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดุสิต
    เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศหมดความเป็นใหญ่ แล้วยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็น
    อย่างนี้ ฯ
    ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าเราหุงหากินได้
    สมณะและพราหมณ์เหล่านี้หุงหากินไม่ได้ เราหุงหากินได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์
    ผู้หุงหากินไม่ได้ ไม่สมควร แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จำแนกแจกทาน เหมือนฤาษีแต่ครั้งก่อน
    คือ อัฏฐกฤาษี วามกฤาษี วามเทวฤาษี เวสสามิตรฤาษี ยมทัคคิฤาษี อังคีรสฤาษี ภารทวาชฤาษี
    วาเสฏฐฤาษี กัสสปฤาษี และภคุฤาษี บูชามหายัญ ฉะนั้น เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ
    ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นนิมมานรดี เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ หมดความ
    เป็นใหญ่แล้ว ยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ฯ
    ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จำแนก
    แจกทาน เหมือนอย่างฤาษีแต่ครั้งก่อน คือ อัฏฐกฤาษี ฯลฯและภคุฤาษี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า
    เมื่อเราให้ทานอย่างนี้ จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจและโสมนัส เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ
    ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดี เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ
    หมดความเป็นใหญ่แล้ว ยังเป็นผู้กลับมา คือ มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ฯ
    ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เมื่อเราให้ทานอย่างนี้
    จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจและโสมนัส แต่ให้ทานเป็นเครื่องปรุงแต่งจิต เขาให้ทาน คือ
    ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอมเครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีปและเครื่องอุปกรณ์
    แก่สมณะหรือพราหมณ์ดูกรสารีบุตร เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้
    พึงให้ทานเห็นปานนี้หรือ ฯ
    สา[FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
    [FONT=Times New Roman, serif]. [/FONT]ดูกรสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลผู้ไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตผูกพัน
    ในผลให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เราตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้
    ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า การให้ทานเป็นการดีไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย
    เคยให้เคยทำมา เราไม่ควรทำให้เสียประเพณี ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากินได้ สมณะ
    หรือพราหมณ์เหล่านี้หุงหากินไม่ได้ จะไม่ให้ทานแก่ผู้ที่หุงหากินไม่ได้ ไม่สมควร ไม่ได้ให้ทาน
    ด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จำแนกแจกทาน เหมือนอย่างฤาษีแต่ครั้งก่อน คือ อัฏฐกฤาษี วามกฤาษี
    วามเทวฤาษี เวสสามิตรฤาษี ยมทัคคิฤาษี อังคีรสฤาษี ภารทวาชฤาษี วาเสฏฐฤาษี กัสสปฤาษี
    และภคุฤาษี ผู้บูชามหายัญ ฉะนั้น และไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เมื่อเราให้ทานนี้ จิตจะเลื่อมใส
    จะเกิดความปลื้มใจและโสมนัส แต่ให้ทานเป็นเครื่องปรุงแต่งจิต เขาให้ทานเช่นนั้นแล้ว เมื่อ
    ตายไปย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นพรหม เขาสิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ หมดความ
    เป็นใหญ่แล้ว เป็นผู้ไม่ต้องกลับมา คือ ไม่มาสู่ความเป็นอย่างนี้ ดูกรสารีบุตร นี้แลเหตุปัจจัย
    เป็นเครื่องให้ทานเช่นนั้นที่บุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก และเป็น
    เครื่องให้ทานเช่นนั้นที่บุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
    จบสูตรที่ ๙





    [FONT=Tahoma, sans-serif]The highest results from giving gifts[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]E:\Dhamma\tipitaka\2Sutta-Pitaka\4Anguttara-Nikaya\Anguttara4\7-sattakanipata\005-Mahāyaññavaggo[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]9. Dānamahapphalasuttaṃ[/FONT]​
    [FONT=Tahoma, sans-serif]52. Ekaṃ samayaṃ bhagavā campāyaṃ viharati gaggarāya pokkharaṇiyā tīre. Atha kho sambahulā campeyyakā upāsakā yena āyasmā sāriputto tenupasaṅkamiṃsu; upasaṅkamitvā āyasmantaṃ sāriputtaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdiṃsu. Ekamantaṃ nisinnā kho campeyyakā upāsakā āyasmantaṃ sāriputtaṃ etadavocuṃ – ‘‘cirassutā no, bhante [bhante sāriputta (sī.)], bhagavato sammukhā dhammīkathā. Sādhu mayaṃ, bhante, labheyyāma bhagavato sammukhā dhammiṃ kathaṃ [bhagavato santikā dhammiṃ kathaṃ (sī.), bhagavato dhammiṃ kathaṃ (syā.)] savanāyā’’ti. ‘‘Tenahāvuso, tadahuposathe āgaccheyyātha, appeva nāma labheyyātha bhagavato sammukhā [bhagavato santike (syā.)] dhammiṃ kathaṃ savanāyā’’ti. ‘‘Evaṃ, bhante’’ti kho campeyyakā upāsakā āyasmato sāriputtassa paṭissutvā uṭṭhāyāsanā āyasmantaṃ sāriputtaṃ abhivādetvā padakkhiṇaṃ katvā pakkamiṃsu.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Atha kho campeyyakā upāsakā tadahuposathe yenāyasmā sāriputto tenupasaṅkamiṃsu; upasaṅkamitvā āyasmantaṃ sāriputtaṃ abhivādetvā ekamantaṃ aṭṭhaṃsu. Atha kho āyasmā sāriputto tehi campeyyakehi upāsakehi saddhiṃ yena bhagavā tenupasaṅkami; upasaṅkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi. Ekamantaṃ nisinno kho āyasmā sāriputto bhagavantaṃ etadavoca –[/FONT]
    ‘‘[FONT=Tahoma, sans-serif]Siyā nu kho, bhante, idhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ na mahapphalaṃ hoti na mahānisaṃsaṃ; siyā pana, bhante, idhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ hoti mahānisaṃsa’’nti? ‘‘Siyā, sāriputta, idhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ na mahapphalaṃ hoti na mahānisaṃsaṃ; siyā pana, sāriputta, idhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ hoti mahānisaṃsa’’nti. ‘‘Ko nu kho, bhante, hetu ko paccayo yena midhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ na mahapphalaṃ hoti na mahānisaṃsaṃ; ko nu kho, bhante, hetu ko paccayo yena midhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ hoti mahānisaṃsa’’nti?[/FONT]
    ‘‘[FONT=Tahoma, sans-serif]Idha, sāriputta, ekacco sāpekho [sāpekkho (syā.)] dānaṃ deti, patibaddhacitto [patibandhacitto (ka.)] dānaṃ deti, sannidhipekho dānaṃ deti, ‘imaṃ pecca paribhuñjissāmī’ti dānaṃ deti. So taṃ dānaṃ deti samaṇassa vā brāhmaṇassa vā annaṃ pānaṃ vatthaṃ yānaṃ mālāgandhavilepanaṃ seyyāvasathapadīpeyyaṃ. Taṃ kiṃ maññasi, sāriputta, dadeyya idhekacco evarūpaṃ dāna’’nti? ‘‘Evaṃ, bhante’’.[/FONT]
    ‘‘[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]Tatra, sāriputta, yvāyaṃ sāpekho dānaṃ deti, patibaddhacitto dānaṃ deti, sannidhipekho dānaṃ deti, ‘imaṃ pecca paribhuñjissāmī’ti dānaṃ deti. So taṃ dānaṃ datvā kāyassa bhedā paraṃ maraṇ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ā[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif] cātumahārājikānaṃ devānaṃ sahabyataṃ upapajjati. So taṃ kammaṃ khepetvā taṃ iddhiṃ taṃ yasaṃ taṃ ādhipaccaṃ āgāmī hoti āgantā itthattaṃ.[/FONT][/FONT]
    ‘‘[FONT=Tahoma, sans-serif]Idha pana, sāriputta, ekacco na heva kho sāpekho dānaṃ deti, na patibaddhacitto dānaṃ deti, na sannidhipekho dānaṃ deti, na ‘imaṃ pecca paribhuñjissāmī’ti dānaṃ deti; api ca kho ‘sāhu dāna’nti dānaṃ deti…pe… napi ‘sāhu dāna’nti dānaṃ deti; api ca kho ‘dinnapubbaṃ katapubbaṃ pitupitāmahehi na arahāmi porāṇaṃ kulavaṃsaṃ hāpetu’nti dānaṃ deti…pe… napi ‘dinnapubbaṃ katapubbaṃ pitupitāmahehi na arahāmi porāṇaṃ kulavaṃsaṃ hāpetu’nti dānaṃ deti; api ca kho ‘ahaṃ pacāmi, ime na pacanti, nārahāmi pacanto apacantānaṃ dānaṃ adātu’nti dānaṃ deti…pe… napi ‘ahaṃ pacāmi, ime na pacanti, nārahāmi pacanto apacantānaṃ dānaṃ adātu’nti dānaṃ deti; api ca kho ‘yathā tesaṃ pubbakānaṃ isīnaṃ tāni mahāyaññāni ahesuṃ, seyyathidaṃ – aṭṭhakassa vāmakassa vāmadevassa vessāmittassa yamadaggino aṅgīrasassa bhāradvājassa vāseṭṭhassa kassapassa bhaguno, evaṃ me ayaṃ dānasaṃvibhāgo bhavissatī’ti dānaṃ deti…pe… napi ‘yathā tesaṃ pubbakānaṃ isīnaṃ tāni mahāyaññāni ahesuṃ, seyyathidaṃ – aṭṭhakassa vāmakassa vāmadevassa vessāmittassa yamadaggino aṅgīrasassa bhāradvājassa vāseṭṭhassa kassapassa bhaguno, evaṃ me ayaṃ dānasaṃvibhāgo bhavissatī’ti dānaṃ deti; api ca kho ‘imaṃ me dānaṃ dadato cittaṃ pasīdati, attamanatā somanassaṃ upajāyatī’ti dānaṃ deti…pe… napi ‘imaṃ me dānaṃ dadato cittaṃ pasīdati, attamanatā somanassaṃ upajāyatī’ti dānaṃ deti; api ca kho cittālaṅkāracittaparikkhāraṃ dānaṃ deti. So taṃ dānaṃ deti samaṇassa vā brāhmaṇassa vā annaṃ pānaṃ vatthaṃ yānaṃ mālāgandhavilepanaṃ seyyāvasathapadīpeyyaṃ. Taṃ kiṃ maññasi, sāriputta, dadeyya idhekacco evarūpaṃ dāna’’nti? ‘‘Evaṃ, bhante’’.[/FONT]
    ‘‘[FONT=Times New Roman, serif][FONT=Tahoma, sans-serif]Tatra, sāriputta, yvāyaṃ na heva [naheva kho (sī. syā.)] sāpekho dānaṃ deti; na patibaddhacitto dānaṃ deti; na sannidhipekho dānaṃ deti; na ‘imaṃ pecca paribhuñjissāmī’ti dānaṃ deti; napi ‘sāhu dāna’nti dānaṃ deti; napi ‘dinnapubbaṃ katapubbaṃ pitupitāmahehi na arahāmi porāṇaṃ kulavaṃsaṃ hāpetu’nti dānaṃ deti; napi ‘ahaṃ pacāmi, ime na pacanti, nārahāmi pacanto apacantānaṃ dānaṃ adātu’nti dānaṃ deti; napi ‘yathā tesaṃ pubbakānaṃ isīnaṃ tāni mahāyaññāni ahesuṃ, seyyathidaṃ – aṭṭhakassa vāmakassa vāmadevassa vessāmittassa yamadaggino aṅgīrasassa bhāradvājassa vāseṭṭhassa kassapassa bhaguno, evaṃ me ayaṃ dānasaṃvibhāgo bhavissatī’ti dānaṃ deti; napi ‘imaṃ me dānaṃ dadato cittaṃ pasīdati, attamanatā somanassaṃ upajāyatī’ti dānaṃ deti; api ca kho cittālaṅkāracittaparikkhāraṃ dānaṃ deti. So taṃ dānaṃ datvā kāyassa bhedā paraṃ maraṇ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ā[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif] brahmakāyikānaṃ devānaṃ sahabyataṃ upapajjati. So taṃ kammaṃ khepetvā taṃ iddhiṃ taṃ yasaṃ taṃ ādhipaccaṃ anāgāmī hoti anāgantā itthattaṃ. Ayaṃ kho, sāriputta, hetu ayaṃ paccayo yena midhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ na mahapphalaṃ hoti na mahānisaṃsaṃ. Ayaṃ pana, sāriputta, hetu ayaṃ paccayo yena midhekaccassa tādisaṃyeva dānaṃ dinnaṃ mahapphalaṃ hoti mahānisaṃsa’’nti. Navamaṃ.[/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]I have heard that on one occasion the Blessed One was staying in Campa, on the shore of Gaggara Lake. Then a large number of lay followers from Campa went to Ven. Sariputta and, on arrival, having bowed down to him, sat to one side. As they were sitting there they said to Ven. Sariputta: "It has been a long time, venerable sir, since we have had a chance to hear a Dhamma talk in the Blessed One's presence. It would be good if we could get to hear a Dhamma talk in the Blessed One's presence."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Then in that case, my friends, come again on the next Uposatha day, and perhaps you'll get to hear a Dhamma talk in the Blessed One's presence."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"As you say, venerable sir," the lay followers from Campa said to Ven. Sariputta. Rising from their seats, bowing down to him, and then circling him — keeping him on their right — they left.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Then, on the following Uposatha day, the lay followers from Campa went to Ven. Sariputta and, on arrival, having bowed down to him, stood to one side. Then Ven. Sariputta, together with the lay followers from Campa, went to the Blessed One and on arrival, having bowed down to him, sat to one side. As he was sitting there, he said to the Blessed One: "Might there be the case where a person gives a gift of a certain sort and it does not bear great fruit or great benefit, whereas another person gives a gift of the same sort and it bears great fruit and great benefit?"[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Yes, Sariputta, there would be the case where a person gives a gift of a certain sort and it does not bear great fruit or great benefit, whereas another person gives a gift of the same sort and it bears great fruit and great benefit."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Lord, what is the cause, what is the reason, why a person gives a gift of a certain sort and it does not bear great fruit or great benefit, whereas another person gives a gift of the same sort and it bears great fruit and great benefit?"[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Sariputta, there is the case where a person gives a gift seeking his own profit, with a mind attached [to the reward], seeking to store up for himself [with the thought], 'I'll enjoy this after death.' He gives his gift — food, drink, clothing, a vehicle; a garland, perfume, & ointment; bedding, shelter, & a lamp — to a priest or a contemplative. What do you think, Sariputta? Might a person give such a gift as this?"[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Yes, lord."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Having given this gift seeking his own profit — with a mind attached [to the reward], seeking to store up for himself, [with the thought], 'I'll enjoy this after death' — on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the Four Great Kings. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Then there is the case of a person who gives a gift not seeking his own profit, not with a mind attached [to the reward], not seeking to store up for himself, nor [with the thought], 'I'll enjoy this after death.' Instead, he gives a gift with the thought, 'Giving is good.' He gives his gift — food, drink, clothing, a vehicle; a garland, perfume, & ointment; bedding, shelter, & a lamp — to a priest or a contemplative. What do you think, Sariputta? Might a person give such a gift as this?"[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Yes, lord."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Having given this gift with the thought, 'Giving is good,' on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the Devas of the Thirty-three. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Or, instead of thinking, 'Giving is good,' he gives a gift with the thought, 'This was given in the past, done in the past, by my father & grandfather. It would not be right for me to let this old family custom be discontinued'... on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the Devas of the Hours. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Or, instead... he gives a gift with the thought, 'I am well-off. These are not well-off. It would not be right for me, being well-off, not to give a gift to those who are not well-off'... on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the Contented Devas. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Or, instead... he gives a gift with the thought, 'Just as there were the great sacrifices of the sages of the past — Atthaka, Vamaka, Vamadeva, Vessamitta, Yamataggi, Angirasa, Bharadvaja, Vasettha, Kassapa, & Bhagu — in the same way will this be my distribution of gifts'... on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the devas who delight in creation. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Or, instead... he gives a gift with the thought, 'When this gift of mine is given, it makes the mind serene. Gratification & joy arise'... on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of the devas who have power over the creations of others. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a returner, coming back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Or, instead of thinking, 'When this gift of mine is given, it makes the mind serene. Gratification & joy arise,' he gives a gift with the thought, 'This is an ornament for the mind, a support for the mind.' He gives his gift — food, drink, clothing, a vehicle; a garland, perfume, & ointment; bedding, shelter, & a lamp — to a priest or a contemplative. What do you think, Sariputta? Might a person give such a gift as this?"[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Yes, lord."[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"Having given this, not seeking his own profit, not with a mind attached [to the reward], not seeking to store up for himself, nor [with the thought], 'I'll enjoy this after death,'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]" — nor with the thought, 'Giving is good,'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]" — nor with the thought, 'This was given in the past, done in the past, by my father & grandfather. It would not be right for me to let this old family custom be discontinued,'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]" — nor with the thought, 'I am well-off. These are not well-off. It would not be right for me, being well-off, not to give a gift to those who are not well-off,' nor with the thought, 'Just as there were the great sacrifices of the sages of the past — Atthaka, Vamaka, Vamadeva, Vessamitta, Yamataggi, Angirasa, Bharadvaja, Vasettha, Kassapa, & Bhagu — in the same way this will be my distribution of gifts,'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]" — nor with the thought, 'When this gift of mine is given, it makes the mind serene. Gratification & joy arise,'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]" — but with the thought, 'This is an ornament for the mind, a support for the mind' — on the break-up of the body, after death, he reappears in the company of Brahma's Retinue. Then, having exhausted that action, that power, that status, that sovereignty, he is a non-returner. He does not come back to this world.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]"This, Sariputta, is the cause, this is the reason, why a person gives a gift of a certain sort and it does not bear great fruit or great benefit, whereas another person gives a gift of the same sort and it bears great fruit and great benefit."[/FONT]
     
  3. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    อนุโมทนากับทุกท่านครับ ข้าพเจ้าขอร่วมจำนวนเงิน 50 บาท ครับ

    และขออุทิศให้แก่พ่อแม่พี่น้องและญาติของข้าพเจ้าในชาติปัจจุบันและอดีตชาติทุกๆชาติ
    และขอให้ญาติของข้าพเจ้าในปัจจุบันและอดีตชาติทุกๆชาติได้เกิดมาพบกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆชาติ จนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพาน
    หากไม่ได้เพียงใดขอให้ได้เกิดมาภายใต้ร่มพระพุทธศาสนาทุกๆชาติจนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพาน
    และขออุทิศให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย เพื่อให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายจงมีภพภูมิที่ดียิ่งๆขึ้นไป และขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าตั้งแต่วันนี้
    และขออุทิศให้แก่พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งทหารและข้าราชบริวารที่จงรักภักดีต่อประเทศชาติและพระมหากษัตริย์ไทย
    และขออุทิศให้พรหม เทวดา ทั้งหลายที่ปกปักรักษาประเทศชาติ พระมหากษัตริย์ พระพุทธศาสนา พระบรมสารีริกธาตุ วัดวาอาราม
    และขออุทิศเทวดาที่ปกปักรักษาข้าพเจ้าและขออุทิศให้แก่ทานพญายมราช ขอให้พญายมราชจงเป็นสักขีพยานในการบำเพ็ญกุศลในครั้งนี้ของข้าพเจ้า
    และขอให้ท่านทั้งหลายจงได้รับผลบุญเช่นเดียวกับที่ข้าพเจ้าจะพึงได้รับเทอญ
    ด้วยผลบุญนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าเข้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ หากไม่ถึงเพียงใดขอคำว่าไม่อย่าได้เกิดกับข้าพเจ้าในทุกๆชาติเทอญ


    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0"><tbody><tr valign="top"><td class="cnt_01" width="255">บัญชีผู้รับโอน </td> <td class="cnt_02" width="431">KBNK*257-2-61978-0</td> </tr> <tr> <td class="cnt_01">ชื่อบัญชี </td> <td class="cnt_02">PRA PAIROJ KATATAMMO</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="cnt_01">จำนวนเงิน </td> <td class="cnt_02"> 50.00 บาท </td> </tr> <tr valign="top"> <td class="cnt_01" width="24%">ค่าธรรมเนียม </td> <td class="cnt_02" width="76%"> 25.00 บาท (เก็บ ณ วันเกิดรายการ) </td> </tr> <tr valign="top"> <td class="cnt_01" height="22">รวมจำนวนเงิน</td> <td class="cnt_02"> 75.00 บาท </td> </tr> <tr valign="top"> <td class="cnt_01" width="34%" height="22">ประเภทการโอนเงิน</td> <td class="cnt_02" width="66%"> ทันที </td></tr></tbody></table>
     
  4. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    rehacked ร่วมเป็นเจ้าภาพถวาย 50 บาท เพื่อสร้างลานบุญลานธรรม เช้าวานนี้ 17. 08. 2554 ขออนุโมทนาให้ท่านพร้อมครอบครัวมีแต่ความสุขความเจริญทุก ๆ ท่าน เทอญ
     
  5. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    จณฺฑาลสุตฺตํ Caṇḍāla Suttaṃ The Outcaste AN 5.175
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๒๒ สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๑๔ องฺคุตฺตรนิกายสฺส ปญฺจก-ฉกฺกนิปาตา

    ๕. จณฺฑาลสุตฺตํ
    ๑๗๕. ‘‘ปญฺจหิ, ภิกฺขเว, ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต อุปาสโก อุปาสกจณฺฑาโล จ โหติ อุปาสกมลญฺจ อุปาสกปติกุฏฺโฐ จ [อุปาสกปติกิฏฺโฐ จ (สี. สฺยา. กํ. ปี.)]ฯ กตเมหิ ปญฺจหิ? อสฺสทฺโธ โหติ; ทุสฺสีโล โหติ; โกตูหลมงฺคลิโก โหติ, มงฺคลํ ปจฺเจติ โน กมฺมํ; อิโต จ พหิทฺธา ทกฺขิเณยฺยํ คเวสติ; ตตฺถ จ ปุพฺพการํ กโรติฯ อิเมหิ โข, ภิกฺขเว, ปญฺจหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต อุปาสโก อุปาสกจณฺฑาโล จ โหติ อุปาสกมลญฺจ อุปาสกปติกุฏฺโฐ จฯ
    ‘‘ปญฺจหิ, ภิกฺขเว, ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต อุปาสโก อุปาสกรตนญฺจ โหติ อุปาสกปทุมญฺจ อุปาสกปุณฺฑรีกญฺจ [อุปาสกปุณฺฑรีโก จ (ปี. ก.)]ฯ กตเมหิ ปญฺจหิ? สทฺโธ โหติ; สีลวา โหติ; อโกตูหลมงฺคลิโก โหติ, กมฺมํ ปจฺเจติ โน มงฺคลํ; น อิโต พหิทฺธา ทกฺขิเณยฺยํ คเวสติ; อิธ จ ปุพฺพการํ กโรติฯ อิเมหิ โข, ภิกฺขเว, ปญฺจหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคโต อุปาสโก อุปาสกรตนญฺจ โหติ อุปาสกปทุมญฺจ อุปาสกปุณฺฑรีกญฺจา’’ติฯ ปญฺจมํฯ


    จบจัณฑาลสูตรที่ ๕
    {๑๗๕}[๑๗๕] ภิกษุทั้งหลาย อุบาสกประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นอุบาสก
    จัณฑาล เป็นอุบาสกเศร้าหมอง และเป็นอุบาสกน่ารังเกียจ๑
    ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา
    ๒. เป็นผู้ทุศีล
    ๓. เป็นผู้ถือมงคลตื่นข่าว๒เชื่อมงคล ไม่เชื่อกรรม
    ๔. แสวงหาผู้รับทักษิณานอกศาสนานี้
    ๕. ทำอุปการะ๓นอกศาสนาก่อน
    ภิกษุทั้งหลาย อุบาสกประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล เป็นอุบาสกจัณฑาล
    เป็นอุบาสกเศร้าหมอง และเป็นอุบาสกน่ารังเกียจ




    ๑ อุบาสกน่ารังเกียจ ในที่นี้หมายถึงอุบาสกชั้นเลว (อุปาสกปัจฉิมกะ) (องฺ.ปญฺจก.อ. ๓/๑๗๕/๖๗)
    ๒ ผู้ถือมงคลตื่นข่าว หมายถึงบุคคลผู้ประกอบด้วย (๑) ทิฏฐมงคล (เชื่อว่ารูปเป็นมงคล) (๒) สุตมงคล
    (เชื่อว่าเสียงเป็นมงคล) (๓) มุตมงคล (เชื่อว่ากลิ่น รส โผฏฐัพพะเป็นมงคล) กล่าวคือต่างก็มีความเชื่อที่
    แตกต่างกันไปว่า “สิ่งนี้ ๆ เป็นมงคล อะไร ๆ จักสำเร็จได้ด้วยสิ่งนี้ ๆ” (องฺ.ปญฺจก.อ. ๓/๑๗๕/๖๗)
    ๓ ทำอุปการะ ในที่นี้หมายถึงทำกิจที่เป็นกุศลมีการให้ทานเป็นต้น (องฺ.ปญฺจก.อ. ๓/๑๗๕/๖๗)



    ภิกษุทั้งหลาย อุบาสกประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นอุบาสกแก้ว เป็น
    อุบาสกปทุม และเป็นอุบาสกบุณฑริก
    ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. เป็นผู้มีศรัทธา
    ๒. เป็นผู้มีศีล
    ๓. เป็นผู้ไม่ถือมงคลตื่นข่าว เชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล
    ๔. ไม่แสวงหาผู้รับทักษิณานอกศาสนานี้
    ๕. ทำอุปการะในศาสนานี้ก่อน
    ภิกษุทั้งหลาย อุบาสกประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล เป็นอุบาสกแก้ว
    เป็นอุบาสกปทุม และเป็นอุบาสกบุณฑริก
    จัณฑาลสูตรที่ ๕ จบ





    175. “Pañcahi, bhikkhave, dhammehi samannāgato upāsako upāsakacaṇḍālo ca hoti upāsakamalañca upāsakapatikuṭṭho ca. Katamehi pañcahi? Assaddho hoti; dussīlo hoti; kotūhalamaṅgaliko hoti, maṅgalaṃ pacceti no kammaṃ; ito ca bahiddhā dakkhiṇeyyaṃ gavesati; tattha ca pubbakāraṃ karoti. Imehi kho, bhikkhave, pañcahi dhammehi samannāgato upāsako upāsakacaṇḍālo ca hoti upāsakamalañca upāsakapatikuṭṭho ca.
    “Pañcahi, bhikkhave, dhammehi samannāgato upāsako upāsakaratanañca hoti upāsakapadumañca upāsakapuṇḍarīkañca. Katamehi pañcahi? Saddho hoti; sīlavā hoti; akotūhalamaṅgaliko hoti, kammaṃ pacceti no maṅgalaṃ; na ito bahiddhā dakkhiṇeyyaṃ gavesati; idha ca pubbakāraṃ karoti. Imehi kho, bhikkhave, pañcahi dhammehi samannāgato upāsako upāsakaratanañca hoti upāsakapadumañca upāsakapuṇḍarīkañcā”ti. Pañcamaṃ.


    © 1997–2011
    "Endowed with these five qualities, a lay follower is an outcaste of a lay follower, a stain of a lay follower, and one to be scorned. Which five? He/she is without faith [in the Buddha's Awakening]; has no morals; is eager for protective charms & ceremonies; trusts protective charms & ceremonies, not kamma; and searches for recipients of his/her offerings outside [of the Sangha], and gives offerings there first. Endowed with these five qualities,a lay follower is an outcaste of a lay followers, a stain of a lay follower, a dregs of a lay follower.
    "Endowed with these five qualities, a lay follower is a jewel of a lay follower, a lotus of a lay follower, a fine flower of a lay follower. Which five? He/she has conviction; is virtuous; is not eager for protective charms & ceremonies; trusts kamma, not protective charms & ceremonies; does not search for recipients of his/her offerings outside [of the Sangha], and gives offerings here first. Endowed with these five qualities, a lay follower is a jewel of a lay follower, a lotus of a lay follower, a fine flower of a lay follower."



    Kotūhalamaṅgaliko: Festivals and auspicious signs. Superstitious Buddhists place too much faith in amulets, sacred threads (pirit nul), astrology, ceremonies, and rituals. Not understanding the teachings in the Mangala Sutta, which the Buddha taught to debunk superstitious beliefs, they rely on listening to recitations of the Mangala Sutta, and tying sacred threads around their wrists (which is a Hindu tradition, not a Buddhist one), instead of practising the Mangala Dhamma so clearly explained by the Blessed One in that very discourse. The true blessings and protection from dangers derive from not associating with the foolish, but associating with the wise, paying homage to those worthy of homage, and the other thirty-five excellent virtuous practices enumerated in the Mangala Sutta. A Stream-winner, being a genuine Buddhist, is completely free from reliance on rites and rituals (silabbataparamasa).
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 สิงหาคม 2011
  6. khonde

    khonde Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    31
    ค่าพลัง:
    +46
    ขอนมัสการ อนุโมทนากับเจ้าคุณรองจังหวัดกับหลวงพ่อโจด้วยครับที่มีโครงการออกเทศนาในช่วงเข้าพรรษา สาธุ สาธุ ครับ
     
  7. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    อานิสงส์สร้างศาลาโรงธรรม

    ...อนาถปิณฑิกเศรษฐี ได้สร้างอารามเชตวันมหาวิหารถวายแก่ พระศาสดา และสาวกทั้งหลาย
    อยู่มาวันหนึ่งพระสาวกก็ปรารภกันว่าอนาถปิณฑิกเศรษฐี มีจิตศรัทธา
    สร้างวัดวาอารามทั้งหลายถวายเป็นทานแก่พระพุทธเจ้า กับทั้งเป็นผู้เลี้ยงคุ้มครองรักษาพระศาสดาจะ
    เป็นประโยชน์อย่างไรหนอ สมเด็จพระพุทธเจ้าได้ทรงทราบโดยพระญาณของพระองค์แล้วเสด็จมา ใน
    ที่พระสงฆ์ประชุมนั้น แล้วทรงถามดูกรภิกษุทั้งหลายได้ประชุมกันด้วยเรื่องอะไร ภิกษุมีพระอานนท์
    เป็นต้น ก็กราบทูลว่าข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ได้ปรึกษากันด้วยเรื่องอนาถปิณฑิกเศรษฐี ได้ก่อสร้าง
    อาคามถวายพระพุทธเจ้าจะเป็นประโยชน์ จะได้อานิสงส์แก่ท่านอย่างไรพระพุทธเจ้าข้า

    องค์สมเด็จพระพุทธเจ้าได้ตรัสพระธรรมเทศนาว่า ในกาลครั้งหนึ่งมีพระเจ้าสุทัสน์ได้เสวยราชสมบัติเป็น
    กษัตริย์ในเมืองสุทัสน์นคร ในครั้งศาสนาของพระพุทธเจ้าปิยทัสสีได้สร้างอารามเป็นทานแก่พระพุทธ
    เจ้าปิยทัสสี แล้วตั้งปณิธาน ความปรารถนาว่า ขอให้ข้าพเจ้าได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งเถิด เมื่อ
    สิ้นชีพตามอายุขัยแล้วก็ได้บังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิต เสวยสมบัติทิพย์มีนางฟ้าเทพอัปสรแสนหนึ่งเป็น
    บริวาร มีวิมานทองสูง ๔๕ โยชน์ มีอายุยืนนานได้พันปีทิพย์ ครั้นจุติก็มาเกิดเป็นบุตรพยากาวิตะ
    กษัตริย์ ในเมืองเสถะนคร ชื่อว่ารามวัตติกุมาร ครั้นเจริญวัยแล้วได้ดาบกายสิทธิ์ มีวชิราเพชรช้างแก้ว
    ม้าแก้ว วัวแก้ว ปราสาทแก้ว เกิดขึ้นด้วยบุญกุศลราศี ที่ได้ก่อสร้างอารามศาลาให้เป็นทาน ครั้นได้ละ
    จากอัตตภาพนั้น ก็ได้เสริมสร้างบารมีจนมาเกิดเป็นองค์พระตถาคตในกาลบัดนี้เมื่อพระบรมศาสดาได้
    แสดงพระธรรมเทศนาจบลงแล้วเหล่าภิกษุทั้งหลายก็ได้สำเร็จพระโสดาบัน พระสกทาคามี พระ
    อนาคามีและพระอรหันตปฏิสัมภิทาญาณ


    ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง ภันเต เอตัง ธัมมะสะภาสาลัง สะปะริวารัง พุทธะสาสะนิกานัง ธัมมัสสะวะนาทิปุญญะกะระณัตถายะ พุทธะสาสะเน นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง พุทธะสาสะนิกานัง ธัมมัสสะวะนาทิปุญญะกะระณัตถายะ ธัมมะสะภาสาลายะ ทานัสสะ อานิสังโส อัมหากัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ปิยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ ฯ
    คำแปล
    ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ขอพระสงฆ์จงรับทราบ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอมอบถวาย ศาลาการเปรียญหลังนี้ พร้อมกับของบริวาร ไว้ในพระพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์ เป็นสถานที่บำเพ็ญบุญกุศล มีการฟังธรรมเป็นต้น สำหรับพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ขออานิสงส์แห่งการถวายศาลาการเปรียญ เพื่อประโยชน์เป็นสถานที่บำเพ็ญบุญกุศล มีการฟังธรรมเป็นต้น สำหรับพุทธศาสนิกชนทั้งหลายนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย จงเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย แก่ปิยชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเป็นต้นด้วย ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 35_mongkol.jpg
      35_mongkol.jpg
      ขนาดไฟล์:
      48.4 KB
      เปิดดู:
      33
    • 100_0212a.JPG
      100_0212a.JPG
      ขนาดไฟล์:
      324.3 KB
      เปิดดู:
      22
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2011
  8. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    เจริญพร
    คณะเจ้าภาพสร้างลานบุญ
    ขออนุโมทนาให้ท่านพร้อมครอบครัวมีแต่ความสุขความเจริญทุก ๆ ท่าน เทอญ
    อาตมภาพ มีความประสงค์อิฐบล็อกแก้ว เพื่อประดับตกแต่งฐานพระประธานลานบุญลานธรรม และฐานโต๊ะหมู่บูชาลงพื้นด้วยหินแกรนด์นิกส์
    เจริญพร
    อาตมภาพต้องมีขันติมากกว่านี้จึงจะทำงานนี้ได้สำเร็จ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • untitled.JPG
      untitled.JPG
      ขนาดไฟล์:
      24.1 KB
      เปิดดู:
      42
  9. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    SN 1.38 PTS: S i 27 CDB i 116 Sakalika Sutta: The Stone Sliver
    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๗ สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕

    . สกลิกสุตฺตํ

    ‘‘ปญฺจเวทา สตํ สมํ, ตปสฺสี พฺราหฺมณา จรํ;


    จิตฺตญฺจ เนสํ น สมฺมา วิมุตฺตํ,หีนตฺถรูปา น ปารงฺคมา เตฯ

    ‘‘ตณฺหาธิปนฺนา วตสีลพทฺธา, ลูขํ ตปํ วสฺสสตํ จรนฺตา;



    จิตฺตญฺจ เนสํ น สมฺมา วิมุตฺตํ, หีนตฺถรูปา น ปารงฺคมา เตฯ


    ‘‘น มานกามสฺส ทโม อิธตฺถิ, น โมนมตฺถิ อสมาหิตสฺส;


    เอโก อรญฺเญ วิหรํ ปมตฺโต, น มจฺจุเธยฺยสฺส ตเรยฺย ปาร’’นฺติฯ


    ‘‘มานํ ปหาย สุสมาหิตตฺโต, สุเจตโส สพฺพธิ วิปฺปมุตฺโต;


    เอโก อรญฺเญ วิหรมปฺปมตฺโต, ส มจฺจุเธยฺยสฺส ตเรยฺย ปาร’’นฺตฺนฺตฺติฯ


    เทวดานั้นครั้นกล่าวดังนี้แล้ว ได้กล่าวคาถาทั้งหลายนี้ว่า
    พราหมณ์ทั้งหลายมีเวทห้า มีตบะ
    ประพฤติอยู่ตั้งร้อยปี แต่จิตของพราหมณ์
    เหล่านั้นไม่พ้นแล้วโดยชอบ พราหมณ์
    เหล่านั้นมีจิตเลว ย่อมไม่ลุถึงฝั่ง.
    พราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้อันตัณหา
    ครอบงำแล้ว เกี่ยวข้องด้วยพรตและศีล
    ประพฤติตบะอันเศร้าหมองอยู่ตั้งร้อยปี
    แต่จิตของพราหมณ์เหล่านั้นไม่พ้นแล้ว
    โดยชอบ พราหมณ์เหล่านั้นมีจิตเลว
    ย่อมไม่ลุถึงฝั่ง.



     
    Pañcavedā sataṃ samaṃ, tapassī brāhmaṇā caraṃ;

    Cittañca nesaṃ na sammā vimuttaṃ, hīnattharūpā na pāraṅgamā te.
    ‘‘Taṇhādhipannā vatasīlabaddhā, lūkhaṃ tapaṃ vassasataṃ carantā;
    Cittañca nesaṃ na sammā vimuttaṃ, hīnattharūpā na pāraṅgamā te.
    ‘‘Na mānakāmassa damo idhatthi, na monamatthi asamāhitassa;
    Eko araññe viharaṃ pamatto, na maccudheyyassa tareyya p
    āran”ti.


    ‘‘Mānaṃ pahāya susamāhitatto, sucetaso sabbadhi vippamutto;
    Eko araññe viharamappamatto, sa maccudheyyassa tareyya p
    āran”ti.

     
     

    Five-Veda Brahmans,
    living austerely
    for 100 years:
    Their minds
    are not rightly released.
    Lowly by nature,
    they've not gone beyond.



    Overpowered by craving,
    bound up in precepts & practices,
    performing wretched austerities
    for 100 years:
    Their minds
    are not rightly released.
    Lowly by nature,
    they've not gone beyond.



    For one fond of conceit,
    there's no taming;
    for one uncentered,
    no sagacity.
    Though alone in the wilderness,
    if one lives heedlessly,
    one won't cross over, beyond Mara's sway.



    But having abandoned conceit,
    well-centered within,
    with right awareness
    everywhere
    fully released,
    alone in the wilderness,
    heedfully living,
    one will cross over, beyond Mara's sway.


     
     
    <!--
    .style1 {color: #3399CC;
    font-weight: bold;}
    .style2 {font-size: 9pt;
    color: #800000;}
    .style4 {font-size: 24pt;
    color: #FF0000;
    font-weight: bold;}
    .style5 {color: #FF0000;
    font-weight: bold;}
    body {
    background-color: #D7FFFF;
    }
    body,td,th {
    font-family: s;
    font-size: 12pt;
    }
    -->



    <CENTER><TABLE dir=ltr border=1 cellSpacing=1 cellPadding=0 width=772><TBODY><TR><TD width="50%">SN 4.13

    ]PTS: S i 110; CDB i 203^



    </TD><TD width="50%">

    </TD></TR><TR><TD width="50%">Sakalika Sutta

    The Stone Sliver



    </TD><TD width="50%">}</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

     
    Sakalikasuttaṃ
    Cullavagga VII tells of how Devadatta, the Buddha's cousin, tried unsuccessfully in various ways to wrest leadership of the Sangha from the Buddha. In Cv VII.3.9, he tries to kill the Buddha by hurling a rock down a mountainside.
    The rock is crushed, and so misses the Buddha, but sends out a splinter that pierces the Buddha's foot, drawing blood. According to the Commentary, this discourse together with SN 4.13 describe the Buddha's reaction to this attempt on his life.
    149. Evaṃ me sutaṃ – ekaṃ samayaṃ bhagavā rājagahe viharati maddakucchismiṃ migadāye. Tena kho pana samayena bhagavato pādo sakalikāya khato hoti, bhusā sudaṃ bhagavato vedanā vattanti sārīrikā dukkhā tibbā kharā kaṭukā asātā amanāpā. Tā sudaṃ bhagavā sato sampajāno adhivāseti avihaññamāno. Atha kho bhagavā catugguṇaṃ saṅghāṭiṃ paññapetvā dakkhiṇena passena sīhaseyyaṃ kappesi pāde pādaṃ accādhāya sato sampajāno. Atha kho māro pāpimā yena bhagavā tenupasaṅkami; upasaṅkamitvā bhagavantaṃ gāthāya ajjhabhāsi –
    ‘‘Mandiyā nu kho sesi udāhu kāveyyamatto,
    Atthā nu te sampacurā na santi;
    Eko vivitte sayanāsanamhi,
    Niddāmukho kimidaṃ soppase vā’’ti.
    ‘‘Na mandiyā sayāmi nāpi kāveyyamatto,
    Atthaṃ sameccāhamapetasoko;
    Eko vivitte sayanāsanamhi,
    Sayāmahaṃ sabbabhūtānukampī.
    ‘‘Yesampi sallaṃ urasi paviṭṭhaṃ,
    Muhuṃ muhuṃ hadayaṃ vedhamānaṃ;
    Tepīdha soppaṃ labhare sasallā,
    Tasmā ahaṃ na supe vītasallo.
    ‘‘Jaggaṃ na saṅke napi bhemi sottuṃ,
    Rattindivā nānutapanti māmaṃ;
    Hāniṃ na passāmi kuhiñci loke,
    Tasmā supe sabbabhūtānukampī’’ti.
    Atha kho māro pāpimā ‘‘jānāti maṃ bhagavā, jānāti maṃ sugato’’ti dukkhī dummano tatthevantaradhāyīti


    .

    สกลิกสุตฺตํ
    ๑๔๙


    . เอวํ เม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ราชคเห วิหรติ มทฺทกุจฺฉิสฺมิํ มิคทาเยฯ เตน โข ปน สมเยน ภควโต ปาโท สกลิกาย ขโต โหติ, ภุสา สุทํ ภควโต เวทนา วตฺตนฺติ สารีริกา ทุกฺขา ติพฺพา ขรา กฏุกา อสาตา อมนาปาฯ ตา สุทํ ภควา สโต สมฺปชาโน อธิวาเสติ อวิหญฺญมาโนฯ อถ โข ภควา จตุคฺคุณํ สงฺฆาฏิํ ปญฺญเปตฺวา ทกฺขิเณน ปสฺเสน สีหเสยฺยํ กปฺเปสิ ปาเท ปาทํ อจฺจาธาย สโต สมฺปชาโนฯ อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ


    ‘‘
    มนฺทิยา นุ โข เสสิ อุทาหุ กาเวยฺยมตฺโต,


    อตฺถา นุ เต สมฺปจุรา น สนฺติ;เอโก วิวิตฺเต สยนาสนมฺหิ

    ,นิทฺทามุโข กิมิทํ โสปฺปเส วา’’ติฯ ‘‘น มนฺทิยา สยามิ นาปิ กาเวยฺยมตฺโต,


    อตฺถํ สเมจฺจาหมเปตโสโก;เอโก วิวิตฺเต สยนาสนมฺหิ,สยามหํ สพฺพภูตานุกมฺปีฯ


    ‘‘เยสมฺปิ สลฺลํ อุรสิ ปวิฏฺฐํ,มุหุํ มุหุํ หทยํ เวธมานํ;
    เตปีธ โสปฺปํ ลภเร สสลฺลา,ตสฺมา อหํ น สุเป วีตสลฺโลฯ‘‘ชคฺคํ น สงฺเก นปิ เภมิ โสตฺตุํ,



    รตฺตินฺทิวา นานุตปนฺติ มามํ;หานิํ น ปสฺสามิ กุหิญฺจิ โลเก,ตสฺมา สุเป สพฺพภูตานุกมฺปี’’ติฯ

    อถ โข มาโร ปาปิมา
    ‘‘ชานาติ มํ ภควา, ชานาติ มํ สุคโต’’ติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายีติฯ




    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕

    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๗ สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค
    [๔๕๓] ครั้งนั้นแล มารผู้มีบาปเข้าไปหาพระองค์ถึงที่ประทับ แล้ว
    ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยคาถาว่า
    ท่านนอนด้วยความเขลา หรือมัวเมา
    คิดกาพย์กลอนอยู่ ประโยชน์ทั้งหลาย
    ของท่านไม่มีมา ท่านอยู่ ณ ที่นอนที่นั่ง
    อันสงัดแต่ผู้เดียว ตั้งหน้านอนหลับ นี่
    อะไร ท่านหลับทีเดียวหรือ.
    [


    ๔๕๔] พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสตอบว่า


    เราไม่ได้นอนด้วยความเขลา ทั้ง
    มิได้มัวเมาคิดกาพย์กลอนอยู่ เราบรรลุ
    ประโยชน์แล้วปราศจากความโศก อยู่
    ที่นอนที่นั่ง อันสงัดแต่ผู้เดียว นอนรำพึง
    ด้วยความเอ็นดูในสัตว์ทั้งปวง. ลูกศรเข้า
    ไปในอกของชนเหล่าใด เสียบหทัยให้
    ลุ่มหลงอยู่ แม้ชนเหล่านั้นในโลกนี้ ผู้มี
    ลูกศรเสียบอกอยู่ ยังได้ความหลับ เราผู้
    ปราศจากลูกศรแล้ว ไฉนจะไม่หลับเล่า.
    เราเดินทางไปในทางที่มีราชสีห์เป็นต้น
    มิได้หวาดหวั่น ถึงหลับในที่เช่นนั้นก็
    มิได้กลัวเกรง กลางคืนและกลางวัน ย่อม
    ไม่ทำให้เราเดือดร้อน เราย่อมไม่พบเห็น
    ความเสื่อมอะไร ๆ ในโลก ฉะนั้น เราผู้
    มีความเอ็นดูในสัตว์ทั้งปวงจึงนอนหลับ.
    ครั้งนั้นแล มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
    รู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้หายไปในที่นั้นเอง.



    พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค [๔. มารสังยุต]
    ๒. ทุติยวรรค ๓. สกลิกสูตร



    ๓. สกลิกสูตร
    ว่าด้วยสะเก็ดหิน
    {๔๕๒}[๑๔๙] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ มัททกุจฉิ สถานที่พระราชทานอภัย
    แก่หมู่เนื้อ เขตกรุงราชคฤห์ สมัยนั้น สะเก็ดหินกระทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค
    ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคทรงมีทุกขเวทนาทางพระวรกายที่กล้าแข็งอย่างหนัก
    เผ็ดร้อน อันไม่สบายพระทัย ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคมีพระสติสัมปชัญญะ
    ทรงอดกลั้นทุกขเวทนานั้นไว้ได้ ไม่ทรงเดือดร้อน
    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ปูผ้าสังฆาฏิ ๔ ชั้น ทรงสำเร็จสีหไสยา
    โดยพระปรัศว์เบื้องขวา ทรงซ้อนพระบาทเหลื่อมพระบาท มีพระสติสัมปชัญญะ
    {๔๕๓} ครั้งนั้น มารผู้มีบาปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับแล้วทูลถามพระผู้มี
    พระภาคด้วยคาถาว่า
    ท่านนอนด้วยความซึมเซา
    หรือมัวเมาคิดกาพย์กลอนอะไรอยู่
    ประโยชน์ของท่านมีไม่มาก
    ท่านอยู่ ณ ที่นอนที่นั่งอันสงัดแต่ผู้เดียว
    ตั้งหน้าแต่จะหลับ ทำไมท่านยังหลับอยู่เล่า
    {๔๕๔} พระผู้มีพระภาคจึงตรัสตอบว่า
    เราไม่ได้นอนด้วยความซึมเซา
    ทั้งมิได้มัวเมาคิดกาพย์กลอนอะไรอยู่หรอก
    อยู่ ณ ที่นอนที่นั่งอันสงัดแต่ผู้เดียว
    นอนคำนึงถึงสัตว์ทั้งปวงด้วยความเอ็นดู
    ลูกศรเสียบอกของชนเหล่าใด
    ร้อยหทัยให้ลุ่มหลงอยู่ แม้ชนเหล่านั้นในโลกนี้
    ทั้ง ๆ ที่มีลูกศรเสียบอกอยู่ ก็ยังหลับได้
    ทำไมเราผู้ปราศจากลูกศรแล้ว จะหลับไม่ได้เล่า
    เราเดินไป๑ก็ไม่หวาดหวั่น ถึงหลับอยู่ก็มิได้กลัวเกรง
    กลางคืนและกลางวันไม่ทำให้เราเดือดร้อน
    เราไม่พบเห็นความเสื่อมอะไร ๆ ในโลก
    ฉะนั้น เราจึงนอนคำนึงถึงสัตว์ทั้งปวงด้วยความเอ็นดู
    ครั้งนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์เสียใจว่า “พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคต
    ทรงรู้จักเรา” จึงหายตัวไป ณ ที่นั้นเอง
    สกลิกสูตรที่ ๓ จบ



    ๑ เดินไป ในที่นี้หมายถึงเดินไปในทางที่มีราชสีห์เป็นต้น (สํ.ส.อ. ๑/๑๔๙/๑๖๘)
     
     
    I have heard that on one occasion the Blessed One was staying near Rajagaha at the Maddakucchi Deer Reserve. Now at that time his foot had been pierced by a stone sliver. Excruciating were the bodily feelings that developed within him — painful, fierce, sharp, wracking, repellent, disagreeable — but he endured them mindful, alert, & unperturbed. Having had his outer robe folded in four and laid out, he lay down on his right side in the lion's posture — with one foot placed on top of the other — mindful & alert.
    Then Mara the Evil One went to the Blessed One and recited this verse in his presence:
    Are you lying there in a stupor,
    or drunk on poetry?
    Are your goals so very few?
    All alone in a secluded lodging,
    what is this dreamer, this sleepy-face?
    [The Buddha:]
    I lie here, not in a stupor, nor drunk on poetry.
    My goal attained,I am sorrow-free.
    All alone in a secluded lodging, I lie down with sympathy for all beings.
    Even those pierced in the chest
    with an arrow,
    their hearts rapidly, rapidly beating:
    even they with their arrows are able to sleep.
    So why shouldn't I with my arrow removed?
    I'm not awake with worry, nor afraid to sleep.
    Days & nights don't oppress me.
    I see no threat of decline in any world at all.
    That's why I sleep with sympathy for all beings.
    Then Mara the Evil One — sad & dejected at realizing, "The Blessed One knows me; the One Well-Gone knows me" — vanished right there.​



     
     
     
     ​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 สิงหาคม 2011
  10. joywin

    joywin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    181
    ค่าพลัง:
    +1,573
    ขอร่วมทำบุญ 300 บาทค่ะ

    รายการที่ 201108291955260001
    วัน-เวลาที่ทำรายการ 29/08/2554 - 19:55:02
    สถานะ สำเร็จ
    วัน-เวลาที่หักบัญชี 29/08/2554 - 19:55:02
    วันที่เงินเข้าบัญชี 29/08/2554
    วิธีการโอนเงิน โอนแบบทันที
    เลขที่บัญชีผู้รับเงิน 2572619780
    ธนาคารผู้รับโอน ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
    จำนวนเงิน 300.00 บาท
    ผล บุญใดที่ข้าพเจ้าและครอบครัวได้บำเพ็ญแล้ว ณ โอกาสนี้ ขอผลบุญนี้ จงเป็นปัจจัย ให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ได้เข้าถึง ซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิด หากแม้นยังไม่ถึงพระนิพพานเพียงใด ขอคำว่า ไม่รู้ ไม่มี ไม่สำเร็จ จงอย่าได้บังเกิดแก่ข้าพเจ้าและครอบครัวเลย ขอผลบุญทั้งหลาย ที่ข้าพเจ้าและครอบครัว ได้กระทำแล้ว จงบังเกิดผล ณ กาลบัดนี้เทอญ สาธุ
     
  11. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    joywin ร่วมเป็นเจ้าภาพถวาย 300 บาท เพื่อสร้างลานบุญลานธรรม 29 สิงหาคม 2554 /20.00 น. ขออนุโมทนาให้ท่านพร้อมครอบครัวมีแต่ความสุขความเจริญทุก ๆ ท่าน เทอญ<!-- google_ad_section_end --> <!-- google_ad_section_end -->
     
  12. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    กิจวัตรประจำวัน

    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕
    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๗ สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค

    ๑๐๐.นวม อุตฺตรสุตฺต
    [๒๗๓] ราชคหนิทาน ฯ เอกมนฺต ิโต โข อุตฺตโร เทวปุตฺโต
    ภควโต สนฺติเก อิม คาถ อภาสิ
    อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ
    ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
    เอต ภย มรเณ เปกฺขมาโน
    ปุฺานิ กยิราถ สุขาวหานีติ ฯ
    [๒๗๔] อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ
    ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
    เอต ภย มรเณ เปกฺขมาโน
    โลกามิส ปชเห สนฺติเปกฺโขติ ฯ

    อุตตรสูตรที่ ๙
    [๒๗๓] ราชคฤหนิทาน ฯ อุตตรเทวบุตร ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้าง หนึ่งแล้ว ได้
    กล่าวคาถานี้ ในสำนักพระผู้มีพระภาคว่า
    ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อม
    ไม่มีที่ต้านทาน บุคคลเห็นภัยในมรณะนี้แล้วพึงทำบุญอันจะนำความ
    สุขมาให้ ฯ
    [๒๗๔] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อม
    ไม่มีที่ต้านทาน ผู้เห็นภัยในความตายนี้ พึงละโลกามิสเสีย มุ่งต่อ
    สันติ ฯ

    2. 2. 9. 1. Devatāsaṃyuttaṃ
    1. Naḷavaggo Uttarasuttaṃ
    Rājagahanidānaṃ Ekamantaṃ ṭhito kho uttaro devaputto bhagavato santike imaṃ gāthaṃ abhāsi:
    [PTS Page 055]. [\q 55/] ] Upanīyati jīvitamappamāyu jarūpanītassa na santi tāṇā,
    Etaṃ bhayaṃ maraṇe pekkhamāno puññāni kayirātha sukhāvahāni.

    (Bhagavā :) upanīyati jīvitamappamāyu jarūpanītassa na santi tāṇā,
    Etaṃ bhayaṃ maraṇe pekkhamāno lokāmisaṃ pajahe santipekkhoti.

    Uttara Sutta: Uttara the Deva's Son
    translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu © 1998–2011


    At Rajagaha. As he was standing to one side, Uttara the deva's son recited this verse in the Blessed One's presence:
    Life is swept along, next-to-nothing its span. For one swept on by aging no shelters exist.
    Perceiving this danger in death, one should do deeds of merit that bring about bliss.

    [The Buddha:]
    Life is swept along, next-to-nothing its span. For one swept to old age no shelters exist.
    Perceiving this danger in death, one should drop the world's allure and look for peace.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กันยายน 2011
  13. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    กิจวัตรประจำวัน

    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ

    สํยุตฺตนิกาโย นิทานวคฺโค ๑๐. ภิกฺขุสํยุตฺตํ ๘. นนฺทสุตฺตํ

    ๒๔๒. สาวตฺถิยํ วิหรติฯ อถ โข อายสฺมา นนฺโท ภควโต มาตุจฺฉาปุตฺโต อาโกฏิตปจฺจาโกฏิตานิ จีวรานิ ปารุปิตฺวา อกฺขีนิ อญฺเชตฺวา อจฺฉํ ปตฺตํ คเหตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิฯ เอกมนฺตํ นิสินฺนํ โข อายสฺมนฺตํ นนฺทํ ภควา เอตทโวจ – ‘‘น โข เต ตํ, นนฺท, ปติรูปํ กุลปุตฺตสฺส สทฺธา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิตสฺส, ยํ ตฺวํ อาโกฏิตปจฺจาโกฏิตานิ จีวรานิ ปารุเปยฺยาสิ, อกฺขีนิ จ อญฺเชยฺยาสิ, อจฺฉญฺจ ปตฺตํ ธาเรยฺยาสิฯ เอตํ โข เต, นนฺท, ปติรูปํ กุลปุตฺตสฺส สทฺธา อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิตสฺส, ยํ ตฺวํ อารญฺญิโก จ อสฺสสิ, ปิณฺฑปาติโก จ ปํสุกุลิโก จ กาเมสุ จ อนเปกฺโข วิหเรยฺยาสี’’ติฯ อิทมโวจ ภควา…เป.… สตฺถา –

    ‘‘กทาหํ นนฺทํ ปสฺเสยฺยํ, อารญฺญํ ปํสุกูลิกํ;

    อญฺญาตุญฺเฉน ยาเปนฺตํ, กาเมสุ อนเปกฺขิน’’นฺติฯ

    อถ โข อายสฺมา นนฺโท อปเรน สมเยน อารญฺญิโก จ ปิณฺฑปาติโก จ ปํสุกูลิโก จ กาเมสุ จ อนเปกฺโข วิหาสีติฯ อฏฺฐมํฯ


    พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [๑๐. ภิกขุสังยุต] ๘. นันทสูตร


    [๗๐๙] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ :-
    นัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อาราม
    ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี. ครั้นนั้นแล ท่านพระนันทะ
    ผู้เป็นบุตรของพระเจ้าแม่น้ำแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ห่มจีวรที่ทุบแล้ว
    ทุบอีก หยอดนัยน์ตา ถือบาตรมีสีใส เข้าไปเฝ้าพระผู้พระภาคเจ้า
    ถึงที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทแล้วนั่ง ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
    [๗๑๐] ครั้นท่านพระนันทะนั่งเรียบร้อยแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้า
    ได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนนันทะ ข้อที่เธอห่มจีวรที่ทุบแล้วทุบอีก หยอด
    นัยน์ตา และถือบาตรมีสีใส ไม่สมควรแก่เธอผู้เป็นกุลบุตรออกบวชเป็น
    บรรพชิตด้วยศรัทธา ข้อที่เธอถืออยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร
    ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร และไม่พึงเป็นผู้อาลัยในกามทั้งหลายอยู่อย่างนี้ จึง
    สมควรแก่เธอผู้เป็นกุลบุตรออกบวชเป็นบรรพชิตด้วยศรัทธา.
    [๗๑๑] พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้สุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสไวยากรณ-
    ภาษิตนี้แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปว่า
    เมื่อไร เราจะพึงได้เห็นนันทะ ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ถือ
    ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยโภชนะ
    ที่เจือปนกัน ไม่อาลัยในกามทั้งหลาย ดังนี้.
    [๗๑๒] ลำดับนั้น ท่านพระนันทะ. โดยสมัยต่อมา ได้เป็นผู้
    อยู่ป่าเป็นวัตร ถือบิณฑบาตเป็นวัตร ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร และไม่
    อาลัยในกามทั้งหลายอยู่.
    จบนันทสูตรที่ ๘
    9. 1. 8
    Nandasuttaṃ

    402. [PTS Page 281] [\q 281/] sāvatthiyaṃ-
    Atha kho āyasmā nando bhagavato mātucchaputto ākoṭitapaccākoṭitāni
    civarāni pārupitvā akkhīni añjitvā acchaṃ pattaṃ gahetvā yena bhagavā tenupasaṅkami.
    Upasaṅkamitvā bhagavantaṃ abhivādetvā ekamantaṃ nisīdi.
    Ekamantaṃ nisinnaṃ kho āyasmantaṃ nandaṃ bhagavā etadavoca:

    "Na kho te taṃ nanda, patirūpaṃ kulaputtassa saddhā agārasmā
    anagāriyaṃ pabbajitassa yaṃ tvaṃ ākoṭitapaccākoṭitāni cīvarāni pārupeyyāsi,
    akkhinī ca añjeyyāsi, acchañca pattaṃ dhāreyyāsi.
    Etaṃ1 kho te nanda, patirūpaṃ kulaputtassa saddhā agārasmā anagāriyaṃ pabbajitassa
    yaṃ tvaṃ āraññako ca assasi piṇḍapātiko ca paṃsukūliko ca kāmesu ca anapekkho vihareyyāsī' ti.
    Idamavoca bhagavā. Idaṃ vatvā sugato athāparaṃ etadavoca satthā:

    "Kadāhaṃ nandaṃ passeyyaṃ āraññaṃ paṃsukūlikaṃ,
    Aññātuñchena2 yāpentaṃ kāmesu anapekkhinan"ti.

    Atha kho āyasmā nando aparena samayena āraññako cāsi piṇḍapātiko ca paṃsukūliko
    ca kāmesu ca anapekho vihāsī'ti.

    SN 21.8 PTS: S ii 281 CDB i 719
    Nando Sutta: Nanda
    translated from the Pali by Maurice O'Connell Walshe © 2007–2011
    The Pali title of this sutta is based on the PTS (Feer) edition.
    [At Saavatthii] Now the Venerable Nanda, the Blessed One's first cousin,
    put on well-pressed[1] robes, painted his eyes,[2] took a bright shiny bowl
    and went before the Blessed One. Having saluted the Blessed One he sat down to one side.
    As he sat there the Blessed One said:
    "It is not suitable for you, Nanda, who as a young man of good family have left the household life,
    in faith, for homelessness, to appear in well-pressed robes, with painted eyes and a bright shiny bowl.
    The proper thing for you, Nanda,... is to be a forest-dweller, to go for alms in ragged robes,
    dwelling aloof from sense-desires." [He added the verse:]

    Maybe I'll see Nanda once In the forest, dressed in rags, Living just from cast-off scraps,[3]
    Quite detached from sense-desires. After that the Venerable Nanda became a forest-dweller,
    going for alms in ragged robes, dwelling aloof from sense-desires.
     
  14. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕
    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๗ สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค
    ทุติย โสมาสุตฺต
    [๕๒๕] สาวตฺถีนิทาน ฯ อถ โข โสมา ภิกฺขุนี ปุพฺพณฺหสมย
    นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย สาวตฺถึ ปิณฺฑาย ปาวิสิ สาวตฺถิย
    ปิณฺฑาย จริตฺวา ปจฺฉาภตฺต ปิณฺฑปาตปฏิกฺกนฺตา เยน อนฺธวน
    เตนุปสงฺกมิ ทิวาวิหาราย อนฺธวน อชฺโฌคเหตฺวา ๑ อฺตรสฺมึ
    รุกฺขมูเล ทิวาวิหาร นิสีทิ ฯ
    [๕๒๖] อถ โข มาโร ปาปิมา โสมาย ภิกฺขุนิยา ภย ฉมฺภิตตฺต
    โลมหส อุปฺปาเทตุกาโม สมาธิมฺหา จาเวตุกาโม เยน โสมา ภิกฺขุนี
    เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา โสม ภิกฺขุนึ คาถาย อชฺฌภาสิ
    ยนฺต อิสีหิ ปตฺตพฺพ าน ทุรภิสมฺภว
    น ต ทฺวงฺคุลปฺาย สกฺกา ปปฺโปตุมิตฺถิยาติ ฯ
    [๕๒๗] อถ โข โสมาย ภิกฺขุนิยา เอตทโหสิ โก นุ โข อย
    มนุสฺโส วา อมนุสฺโส วา คาถ ภาสตีติ ฯ อถ โข โสมาย
    #๑ โป. ม. อชฺโฌคาเหตุวา ฯ
    ภิกฺขุนิยา เอตทโหสิ มาโร โข อย ปาปิมา มม ภย ฉมฺภิตตฺต
    โลมหส อุปฺปาเทตุกาโม สมาธิมฺหา จาเวตุกาโม คาถ ภาสตีติ ฯ
    อถ โข โสมา ภิกฺขุนี มาโร อย ปาปิมา อิติ วิทิตฺวา มาร
    ปาปิมนฺต คาถาหิ อชฺฌภาสิ
    อิตฺถีภาโว กึ กยิรา จิตฺตมฺหิ สุสมาหิเต
    าณมฺหิ วตฺตมานมฺหิ สมฺมา ธมฺม วิปสฺสโต
    ยสฺส นูน สิยา เอว อิตฺถีห ปุริโสติ วา
    กิฺจิ วา ปน อสฺมีติ ต มาโร วตฺตุมรหตีติ ฯ
    อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ ม โสมา ภิกฺขุนีติ ทุกฺขี ทุมฺมโน
    ตตฺเถวนฺตรธายีติ ฯ
    โสมาสูตรที่ ๒
    [๕๒๕] สาวัตถีนิทาน ฯ
    ครั้งนั้น เวลาเช้า โสมาภิกษุณีนุ่งห่มแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไป บิณฑบาตยัง
    พระนครสาวัตถี เที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถีแล้ว เวลา ปัจฉาภัต กลับจากบิณฑบาต
    แล้ว เข้าไปยังป่าอันธวันเพื่อพักผ่อนกลางวัน ครั้น ถึงป่าอันธวันแล้ว จึงนั่งพักกลางวันที่โคน
    ไม้ต้นหนึ่ง ฯ
    [๕๒๖] ลำดับนั้น มารผู้มีบาปใคร่จะให้โสมาภิกษุณีบังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว
    ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากสมาธิ จึง เข้าไปหาโสมาภิกษุณีถึงที่นั่งพัก
    ครั้นแล้วได้กล่าวกะโสมาภิกษุณีด้วยคาถาว่า
    สตรีมีปัญญาเพียงสองนิ้ว ไม่อาจถึงฐานะอันจะพึงอดทนได้ด้วยยาก
    ซึ่งท่านผู้แสวงทั้งหลายจะพึงถึงได้ ฯ
    [๕๒๗] ลำดับนั้น โสมาภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่ใครหนอกล่าวคาถา จะเป็นมนุษย์
    หรืออมนุษย์ ฯ
    ทันใดนั้น โสมาภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่คือมารผู้มีบาป ใคร่จะให้เรา บังเกิดความกลัว
    ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อน จากสมาธิ จึงกล่าวคาถา ฯ
    ครั้นโสมาภิกษุณีทราบว่า นี่คือมารผู้มีบาปแล้ว จึงได้กล่าวกะมารผู้มีบาป ด้วยคาถาว่า
    ความเป็นสตรีจะทำอะไรได้ เมื่อจิตตั้งมั่นดีแล้ว เมื่อญาณ เป็นไป
    แก่ผู้เห็นธรรมอยู่โดยชอบ ผู้ใดจะพึงมีความคิดเห็นแน่อย่างนี้ว่า เรา
    เป็นสตรี หรือว่าเราเป็นบุรุษ หรือจะยังมีความเกาะเกี่ยวว่า เรามีอยู่
    มารควรจะกล่าวกะผู้นั้น ฯ
    ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า โสมาภิกษุณีรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้อันตรธานไปใน
    ที่นั้นเอง ฯ
     
    ๒. โสมาสูตร
    ว่าด้วยมารรบกวนโสมาภิกษุณี
    [๕๒๕] สาวัตถีนิทาน.
    ครั้งนั้น เวลาเช้า โสมาภิกษุณีนุ่งห่มแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไป
    บิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี เที่ยวบิณฑบาตไปในกรุงสาวัตถีแล้ว เวลาปัจฉาภัต
    กลับจากบิณฑบาตแล้ว เข้าไปยังป่าอันธวันเพื่อพักผ่อนกลางวัน ครั้นถึงป่า
    อันธวันแล้ว จึงนั่งพักกลางวันที่โคนไม้ต้นหนึ่ง.
    [๕๒๖] ลำดับนั้น มารผู้มีบาปใคร่จะให้โสมาภิกษุณีบังเกิดความกลัว
    ความหวาดเสียว ขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากสมาธิ จึงเข้า
    ไปหาโสมาภิกษุณีถึงที่นั่งพัก ครั้นแล้วได้กล่าวกะโสมาภิกษุณีด้วยคาถาว่า
    สตรีมีปัญญาเพียงสองนิ้ว ไม่อาจถึง
    ฐานะอันจะพึงอดทนได้ด้วยยาก ซึ่งท่าน
    ผู้แสวงทั้งหลายจะพึงถึงได้.
    [๕๒๗] ลำดับนั้น โสมาภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่ใครหนอกล่าว
    คาถาจะเป็นมนุษย์หรืออมนุษย์
    ทันใดนั้น โสมาภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่คือมารผู้มีบาป ใคร่จะ
    ให้เราบังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้
    เคลื่อนจากสมาธิ จึงกล่าวคาถา.
    ครั้นโสมาภิกษุณีทราบว่า นี่คือมารผู้มีบาปแล้ว จึงได้กล่าวกะมาร
    ผู้มีบาปด้วยคาถาว่า
    ความเป็นสตรีจะทำอะไรได้ เมื่อจิต
    ตั้งมั่นดีแล้ว เมื่อญาณเป็นไปแก่ผู้เห็น
    ธรรมอยู่โดยชอบ ผู้ใดพึงมีความคิดเห็น
    แน่อย่างนี้ว่า เราเป็นสตรี หรือว่าเราเป็น
    บุรุษ หรือจะยังมีความเกาะเกี่ยวว่า เรา
    มีอยู่ มารควรจะกล่าวกะผู้นั้น.
    ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า โสมาภิกษุณีรักเรา ดังนี้
    จึงได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง.
    5. 1. 2.
    Som
    āsuttaṃ,
    163. Sāvatthiyaṃ-

    Atha kho somā bhikkhunī pubbaṇhasamayaṃ nivāsetvā pattacīvaramādāya sāvatthiṃ piṇḍāya pāvisi. Sāvatthiyaṃ piṇḍāya caritvā pacchābhattaṃ piṇḍapātapaṭikkantā yena andhavanaṃ tenupasaṅkami divāvihārāya. Andhavanaṃ ajjhogahetvā a
    ññatarasmiṃ rukkhamūle divāvihāraṃ3 nisīdi.

    Atha kho māro pāpimā somāya bhikkhuniyā bhayaṃ chamhitattaṃ lomahaṃsaṃ uppādetukāmo samādhimhā cāvetukāmo yena somā bhikkhunī tenupasaṅkami. Upasaṅkamitvā somaṃ bhikkhuniṃ gāthāya ajjhabhāsi:

    Yantaṃ isīhi pattabbaṃ ṭhānaṃ durabhisambhavaṃ,
    Na taṃ dvaṅgulapa
    ññāya sakkā pappotumitthiyāti.

    Atha kho somā bhikkhuniyā etadahosi: 'ko nukhvāyaṃ4 manusso vā amanusso vā gāthaṃ bhāsatī'ti. Atha kho somāya bhikkhuniyā etadahosi: 'māro kho ayaṃ pāpimā mama bhayaṃ chambhitattaṃ lomahaṃsaṃ uppādetukāmo samādhimhā cāvetukāmo gāthaṃ bhāsatī'ti. Atha kho somā bhikkhunī māro ayaṃ pāpimā iti viditvā māraṃ pāpimantaṃ gāthāhi ajjhabhāsi:

    Itthibhāvo kiṃ kayirā cittamhi susamāhite,
    Ñāṇamhi vattamānamhi sammā dhammaṃ vipassato.

    Yassa nūna siyā evaṃ itthāhaṃ5 purisoti vā,
    Ki
    ñci vā pana aññasmiṃ taṃ māro vattumarahatīti.

    Atha kho māro pāpimā jānāti maṃ somā bhikkhunīti dukkhī dummano tatthevantaradhāyīti.

    1. Suphussitaṃ-machasaṃ. Syā. [Pts. 2.] Mayha - machasaṃ syā. Sī1. 3. Divāvihāratthāya-sīmu. 2. [Pts. 4.] Nu kho ayaṃ. -Syā. 5. Itthīhaṃ-syā. 6. Asmīti-katthaci.

    [BJT Page 236] [\x 236/]
    SN 5.2 PTS: S i 129 CDB i 222
    Soma Sutta: Mara Meets His Match
    translated from the Pali by
    Andrew Olendzki
    © 2005–2011
    Alternate translations: Bodhi | Thanissaro
    The nun Soma has entered Andhavana (Blind Man's Grove) near Savatthi to practice meditation. Mara, the embodiment of delusion, sees her there and desires to make her waver and abandon her concentration. He addresses her with a verse:
     
    That which can be attained by seers
    — The place so hard to arrive at —
    Women are not able to reach,
    Since they lack sufficient wisdom.
    [Soma replies:]
    What difference does being a woman make
    When the mind is well-composed,
    When knowledge is proceeding on,
    When one rightly sees into Dhamma?
    Indeed for whom the question arises:
    "Am I a man or a woman?"
    Or, "Am I even something at all?"
    To them alone is Mara fit to talk!
    Translator's note
    This, in my view, is the definitive statement in the Buddhist tradition regarding the equality of the sexes. Whatever other words have crept into the literature — from ancient times to the present — whatever attitudes may have been expressed by Theras, Lamas, Roshis or Teachers over the ages, this position of thoroughgoing equality in light of the Dhamma is plainly stated by Soma, one of the Buddha's contemporary nuns.
    Soma was the daughter of the chief priest of King Bimbisara of Magadha, and was an early convert to the Buddha's teaching. She spent many years as a lay supporter before eventually becoming a nun, and achieved awakening — like so many of her sisters — not long after joining the order.
    In this exchange Mara is clearly trying to provoke and discourage Soma, but only reveals his delusion. The expression he uses literally means "two fingers' [worth]" of wisdom. It may originally have been a reference to the domestic task of checking if rice is cooked by examining it between the fingers, but here it is obviously used pejoratively to impugn that women are less capable of liberation. Soma not only refrains from getting offended (perhaps remembering Buddha's teaching to always "forebear the fool"), but calmly points out how ludicrous the statement is when viewed in light of the Buddha's higher teaching about the nature of personhood..
     
  15. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    พระไตรปิฎก ฉบับสุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๑๗ ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาฐ-ธมฺมปทคาถา-อุทานํ-อิติวุตฺตกํ-สุตฺตนิปาตา
    บาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๒๕
    [๒๕๓] ๖ วุตฺต เหต ภควตา วุตฺตมรหตาติ เม สุต
    ตโยเม ภิกฺขเว ปุคฺคลา สนฺโต สวิชฺชมานา โลกสฺมึ กตเม ตโย
    #๑ ม. ยุ. จสทฺโท นตฺถิ ฯ
    สมณพฺราหฺมณกปณทฺธิกวนิพฺพกยาจกาน อนฺน ปาน วตฺถ ยาน
    มาลาคนฺธ วิเลปน เสยฺยาวสถ ปทีเปยฺย เอว โข ภิกฺขเว
    ปุคฺคโล ปเทสวสฺสี โหติ ฯ
    ๓ กถฺจ ภิกฺขเว ปุคฺคโล สพฺพตฺถาภิวสฺสี โหติ อิธ
    ภิกฺขเว เอกจฺโจ ปุคฺคโล สพฺเพส ๒ เทติ สมณพฺราหฺมณ-
    กปณทฺธิกวนิพฺพกยาจกาน อนฺน ปาน วตฺถ ยาน มาลาคนฺธ วิเลปน
    เสยฺยาวสถ ปทีเปยฺย เอว โข ภิกฺขเว [๓] สพฺพตฺถาภิวสฺสี
    โหติ ฯ อิเม โข ภิกฺขเว ตโย ปุคฺคโล สนฺโต สวิชฺชมานา
    โลกสฺมินฺติ ฯ เอตมตฺถ ภควา อโวจ ฯ ตตฺเถต อิติ วุจฺจติ
    น สมเณ น พฺราหฺมเณ น ๔ กปณทฺธิเก น วนิพฺพเก
    ลทฺธาน สวิภาเชติ ๕ อนฺนปานฺจ โภชน
    ต เว อวุฏฺิกสโมติ อาหุ น ปุริสาธม ฯ
    เอกจฺจาน น ททาติ เอกจฺจาน ปเวจฺฉติ
    ต เว ปเทสวสฺสีติ อาหุ เมธาวิโน ชนา ฯ
    สุภิกฺขวาโจ ปุริโส สพฺพภูตานุกมฺปโก
    อาโมทมาโน ปกิเรติ เทถ เทถาติ ภาสติ
    ยถาปิ เมโฆ ถนยิตฺวา คชฺชยิตฺวา ปวสฺสติ
    ถล นินฺนฺจ ปูเรติ อภิสนฺทนฺโต จ ๑ วารินา
    เอวเมว อิเธกจฺโจ ปุคฺคโล โหติ ตาทิโส
    ธมฺเมน สหริตฺวาน อุฏฺานาธิคต ธน
    ตปฺเปติ อนฺนปาเนน สมฺมา ปตฺเต วนิพฺพเกติ ฯ
    อยมฺปิ อตฺโถ วุตฺโต ภควตา อิติ เม สุตนฺติ ฯ ฉฏฺ ฯ
    #๑ ม. ยุ. โหติ ฯ ๒ สพฺเพสว ฯ ๓ ม. ยุ. ปุคฺคโล ฯ ๔ น กปณทฺธิกวนิพฺพเก ฯ
    #๕ โป. สวิภชติ ฯ
    [๒๕๓] จริงอยู่ พระสูตรนี้พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว พระสูตรนี้พระผู้มีพระภาคผู้เป็น
    พระอรหันต์ตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วว่าดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวก
    นี้ มีปรากฏอยู่ในโลก ๓ จำพวกเป็นไฉนคือ บุคคลผู้เสมอด้วยฝนไม่ตก ๑ ผู้ดุจฝนตกในที่
    บางส่วน ๑ ผู้ดุจฝนตกในที่ทั่วไป ๑ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเสมอด้วยฝนไม่ตกเป็นอย่างไร บุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่
    ให้ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอนที่พัก เครื่องประทีป แก่
    สมณะพราหมณ์ คนกำพร้า คนเดินทาง วนิพกและยาจกทุกหมู่เหล่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    บุคคลผู้เสมอด้วยฝนไม่ตกเป็นอย่างนี้แล ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ดุจฝนตกในที่บางส่วนเป็นอย่างไร บุคคลบางคนในโลกนี้
    เป็นผู้ให้ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ที่นอน ที่พัก เครื่องประทีป
    แก่สมณะพราหมณ์ คนกำพร้า คนเดินทาง วนิพกและยาจกบางพวก ไม่ให้แก่บางพวก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ดุจฝนตกในที่บางส่วนเป็นอย่างนี้แล ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลผู้ดุจฝนตกในที่ทั่วไปเป็นอย่างไร บุคคลบางคนในโลกนี้
    ย่อมให้ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ที่นอน ที่พัก เครื่องประทีป
    แก่สมณะพราหมณ์ คนกำพร้า คนเดินทางวนิพก และยาจกทั้งปวง ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    บุคคลดุจฝนตกในที่ทั่วไปเป็นอย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จำพวกนี้แล มีปรากฏอยู่
    ในโลก ฯ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสคาถา
    ประพันธ์ดังนี้ว่า
    บุคคลได้พบสมณะ พราหมณ์ คนกำพร้า คนเดินทางวนิพกแล้ว
    ย่อมไม่แบ่งข้าว น้ำ และเครื่องบริโภคให้บัณฑิตทั้งหลาย กล่าว
    บุคคลผู้เป็นบุรุษต่ำช้านั้นแลว่า เป็นผู้เสมอด้วยฝนไม่ตก บุคคลใด
    ย่อมไม่ให้ไทยธรรมแก่บุคคลบางพวก ย่อมให้แก่บุคคลบางพวก ชนผู้มี
    ปัญญาทั้งหลายกล่าวบุคคลนั้นว่า ดุจฝนตกในที่บางส่วน บุรุษผู้มีวาจาว่า
    ภิกษาดี ผู้อนุเคราะห์สัตว์ทั่วหน้า มีใจยินดีประดุจเรี่ยรายไทยธรรม
    กล่าวอยู่ว่า จงให้ๆ ดังนี้ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้เช่นนั้น รวบรวม
    ทรัพย์ที่ตนได้แล้วด้วยความหมั่นโดยชอบธรรม ยังวนิพกทั้งหลายผู้มา
    ถึงแล้วให้อิ่มหนำด้วยข้าวและน้ำโดยชอบ เปรียบเหมือนเมฆบันลือ
    กระหึ่มแล้ว ย่อมยังฝนให้ตก ยังน้ำให้ไหลนองเต็มที่ดอนและที่ลุ่ม
    ฉะนั้น ฯ
    เนื้อความแม้นี้พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วฉะนี้แล ฯ
    จบสูตรที่ ๖

    (aVuṭṭhisuttaṃ)

    75. Vuttaṃ hetaṃ bhagavataṃ. Vuttamarahat
    ā'ti me sutaṃ:

    1. Sayo'me bhikkhave puggalā santo saṃvijjamānā lokasmiṃ. Katamo tayo? Avuṭṭhikasamo padesavassī sabbatthābhivassī.

    Katha
    ñca bhikkhave puggalo avuṭṭhikasamo hoti? Idha bhikkhave ekacco puggalo sabbesaññeva na dātā hoti, samaṇabrāhmaṇakapaṇaddhīka vaṇibbaka yācakānaṃ annaṃ pānaṃ vatthaṃ yānaṃ mālāgandhavilepanaṃ [PTS Page 065] [\q 65/] seyyāvasatha padīpeyyaṃ. Evaṃ kho bhikkhave pūggalo
    Avuṭṭhikasamo hoti.

    Katha
    ñca bhikkhave puggalo padesavassī hoti? Idha bhikkhave ekacco puggalo ekaccānaṃdātā hoti, ekaccānaṃ na dātā hoti samaṇabrāhmaṇakapaṇaddhika vaṇibbaka yācakānaṃ annaṃ pānaṃ vattha yānaṃ mālāgandhavilepanaṃ seyyāvasatha padīpeyyaṃ. Evaṃ kho bhikkhave puggalo padesavassī hoti.

    Katha
    ñca bhikkhave puggalo sabbatthābhivassī hoti? Idha bhikkhave ekacco puggalo sabbesañca deti samaṇabrāhmaṇa kapaṇaddhikavaṇibbaka yācakānaṃ annaṃ pānaṃ vattha yānaṃ mālāgandhavilepanaṃ seyyāvasatha padīpeyyaṃ. Evaṃ kho bhikkhave puggalo sabbatthābhivassī hoti. Ime kho bhikkhave tayo puggalā santo saṃvijjamānā lokasminti.

    [BJT Page 408] [\x 408/]

    Etamatthaṃ bhagavā avoca. Tatthetaṃ iti vuccati:

    2. "Na samaṇe naṃ brahmaṇe na kapaṇaddhikavaṇibbake,
    Laddhāna saṃvibhajati annaṃ [PTS Page 066] [\q 66/] pāna
    ñca bhojanaṃ
    Taṃ ve avuṭṭhikasamo'ti
    āhu naṃ purisādhamaṃ.

    3. Ekaccānaṃ na dadāti ekaccānaṃ pavecchati.
    Taṃ ve padesavassīti āhu medhāvino janā.

    4. Subhikkavāco puriso sabbabhūtānukampako,
    Āmodamāno pakireti detha dethāti bhasati.

    5. Yathāpi megho thanayitvā gajjayitvā pavassati.
    Thalaṃ ninna
    ñca pūreti abhisandanto'va vārinā.

    6. Evameva idhekacco puggalo hoti tādiso
    Dhammena saṃharitvāna uṭṭhānādhigataṃ dhanaṃ
    Tappeti [PTS Page 067] [\q 67/] annapānena sammā patte vaṇibbaketi. "

    Ayampi attho vutto bhagavatā. Iti me sutanti.
    § 75. {Iti 3.26; Iti 64}
    [Alternate translation: Ireland]
    This was said by the Blessed One, said by the Arahant, so I have heard: "These three types of persons can be found existing in the world. Which three? One like a cloud without rain, one who rains locally, and one who rains everywhere.
    "And how is a person like a cloud without rain? There is the case where a person is not a giver of food, drink, clothing, vehicles, garlands, scents, ointments, beds, dwellings, or lights to any priests or contemplatives, to any of the miserable, the homeless, or beggars. This is how a person is like a cloud without rain.
    "And how is a person one who rains locally? There is the case where a person is a giver of food, drink, clothing, vehicles, garlands, scents, ointments, beds, dwellings, & lights to some priests & contemplatives, to some of the miserable, the homeless, & beggars, and not to others. This is how a person one who rains locally.
    "And how is a person one who rains everywhere? There is the case where a person gives food, drink, clothing, vehicles, garlands, scents, ointments, beds, dwellings, & lights to all priests & contemplatives, to all of the miserable, the homeless, & beggars. This is how a person one who rains everywhere.
    "These are the three types of persons who can be found existing in the world."
     
    Not to contemplatives,to priests,to the miserable,
    nor to the homeless does he share what he's gained:
    food,drinks,nourishment.
    He, that lowest of people,
    is called a cloud with no rain.
    To some he gives,to others he doesn't:
    the intelligent call him one who rains locally.
    A person responsive to requests, sympathetic to all beings,
    delighting in distributing alms:
    "Give to them! Give!" he says.
    As a cloud — resounding, thundering — rains,
    filling with water, drenching the plateaus & gullies:
    a person like this is like that.
    Having rightly amassed wealth attained through initiative,
    he satisfies fully with food & drink those fallen into
    the homeless state.
     
  16. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๒๕
    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๑๗ ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาฐ-ธมฺมปทคาถา-อุทานํ-อิติวุตฺตกํ-สุตฺตนิปาตา
     
    . นิพฺพานธาตุสุตฺตํ
    [๒๒๒] ๗ วุตฺต เหต ภควตา วุตฺตมรหตาติ เม สุต เทฺวมา
    ภิกฺขเว นิพฺพานธาตุโย กตมา เทฺว สอุปาทิเสสา จ
    นิพฺพานธาตุ อนุปาทิเสสา จ นิพฺพานธาตุ ฯ กตมา จ ภิกฺขเว
    สอุปาทิเสสา นิพฺพานธาตุ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อรห โหติ ขีณาสโว
    วุสิตวา กตกรณีโย โอหิตภาโร อนุปฺปตฺตสทตฺโถ ปริกฺขีณภวสโยชโน
    สมฺมทฺา วิมุตฺโต ตสฺส ติฏฺนฺเตว ปฺจินฺทฺริยานิ
    เยส อวิฆาตตฺตา ๓ มนาปามนาป ปจฺจนุโภติ สุขทุกฺข
    ๓ โป. อธิคตตฺตา ฯ๗
    ปฏิสเวทยติ ๑ ตสฺส โย ราคกฺขโย โทสกฺขโย โมหกฺขโย อย
    วุจฺจติ ภิกฺขเว สอุปาทิเสสา นิพฺพานธาตุ ฯ กตมา จ ภิกฺขเว
    อนุปาทิเสสา นิพฺพานธาตุ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อรห โหติ ขีณาสโว
    วุสิตวา กตกรณีโย โอหิตภาโร อนุปฺปตฺตสทตฺโถ ปริกฺขีณภวสโยชโน
    สมฺมทฺา วิมุตฺโต ตสฺส อิเธว ภิกฺขเว
    สพฺพเวทยิตานิ อนภินนฺทิตานิ สีติภวิสฺสนฺติ อย วุจฺจติ ภิกฺขเว
    อนุปาทิเสสา นิพฺพานธาตุ ฯ อิมา โข ภิกฺขเว เทฺว นิพฺพานธาตุโยติ ฯ
    เอตมตฺถ ภควา อโวจ ฯ ตตฺเถต อิติ วุจฺจติ
    เทฺว อิมา จกฺขุมตา ปกาสิตา
    นิพฺพานธาตู อนิสฺสิเตน ตาทินา
    เอกา หิ ธาตุ อิธ ทิฏฺธมฺมิกา
    สอุปาทิเสสา ภวเนตฺติสงฺขยา
    อนุปาทิเสสา ปน สมฺปรายิกา
    ยมฺหิ นิรุชฺฌนฺติ ภวานิ สพฺพโส ฯ
    เย เอตทฺาย ปท อสงฺขต
    วิมุตฺตจิตฺตา ภวเนตฺติสงฺขยา
    เต ธมฺมสาราธิคมกฺขเย ๒ รตา
    ปหสุ เต สพฺพภวานิ ตาทิโนติ ฯ
    อยมฺปิ อตฺโถ วุตฺโต ภควตา อิติ เม สุตนฺติ ฯ สตฺตม ฯ
     
    (Nibb
    ānadhātu suttaṃ)

    44. Vuttaṃ hetaṃ bhagavatā. Vuttamarahatā'ti me sutaṃ.

    1. Dve'mā bhikkhave nibbānadhātuyo. Katamā dve? Saupādisesā ca nibbānadhātu anupādisesā ca nibbānadhātu.

    2. Katamā ca bhikkhave saupādisesā nibbānadhātu?

    Idha bhikkhave bhikkhu arahaṃ hoti khīṇāsavo vusitavā katakaraṇīyo ohitabhāro anuppattasadattho parikkhīṇabhavasa
    ññojano sammadaññā vimutto tassa tiṭṭhanteva pañcindriyāni yesaṃ avighātattā1 manāpāmanāpaṃ paccanubhoti sukhadukkhaṃ paṭisaṃvedeti. Tassa yo rāgakkhayo dosakkhayo mohakkhayo, ayaṃ vuccati bhikkhavesaupādisesā nibbānadhātu.

    3. Katamā ca bhikkhave aṭupādisesā nibbānadhātu?

    Idha bhikkhave bhikkhu arahaṃ hoti khīṇāsavo vusitavā katakaraṇīyo ohitabhāro anuppattasadattho parikkhīṇabhavasa
    ññojano sammadaññā vumutto. Tassa idheva bhikkhave sabbavedayitāni anabhinanditāni sītī bhavissanti. Ayaṃ vuccati bhikkhave anupādisesā nibbānadhātu.

    Etamatthaṃ bhagavā avoca. Tatthetaṃ iti vuccati:

    4. "Duve imā cakkhumatā pakāsitā
    Nibbānadhātu anissitena tādinā
    Ekā hi dhātu idha diṭṭhadhammikā
    Saupādisesā bhavanettisaṅkhayā.
    Anupādisesā [PTS Page 039] [\q 39/] pana samparāyikā
    Yamhi nirujjhanti bhavāni sabbaso.

    5. Ye etada
    ññāya padaṃ asaṅkhataṃ
    Vimuttacittā bhavanettisaṅkhayā, te dhammasārādhigamā khaye ratā
    Pahaṃsu te sabbabhavāni tādino"ti

    Ayampi attho vutto bhagavatā. Iti me sutanti.

    1. Avigatattā-sī. A ka.

    [BJT Page 370] [\x 370/]

    ๗. ธาตุสูตร
    ว่าด้วยเรื่องนิพพานธาตุ ๒ ประการ
    [๒๒๒] จริงอยู่ พระสูตรนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว พระสูตรนี้
    พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าได้สดับ
    มาแล้วว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน
    คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
    ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ
    อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์
    ของตนอันบรรลุแล้ว มีสังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้
    โดยชอบ ภิกษุนั้น ย่อมเสวยอารมณ์ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์
    อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕
    เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความสิ้นไปแห่งราคะ
    ความสิ้นไปแห่งโทสะ ความสิ้นไปแห่งโมหะ ของภิกษุนั้น นี้เราเรียกว่า
    สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปาทิเสสนิพพานธาตุเป็นไฉน
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่
    ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว มี
    สังโยชน์ในภพสิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ เวทนาทั้งปวงใน
    อัตภาพนี้แหละของภิกษุนั้น เป็นธรรมชาติอันกิเลสทั้งหลายมีตัณหาเป็นต้นให้
    เพลิดเพลินมิได้แล้ว จักเย็น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เราเรียกว่าอนุปาทิเสส-
    นิพพานธาตุ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้แล. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนั้น พระผู้มี-
    พระภาคเจ้าตรัสคาถาประพันธ์ดังนี้ว่า
    นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ พระ-
    ตถาคต ผู้มีจักษุผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่-
    อาศัยแล้ว ผู้คงที่ประกาศไว้แล้ว อัน
    นิพพานธาตุอย่างหนึ่งมีในปัจจุบันนี้ ชื่อว่า
    สอุปาทิเสสะ เพราะสิ้นตัณหาเครื่องนำไป
    สู่ภพ ส่วนนิพพานธาตุ (อีกอย่างหนึ่ง)
    เป็นที่ดับสนิทแห่งภพทั้งทลายโดยประการ
    ทั้งปวง อันมีในเบื้องหน้า ชื่อว่าอนุปาทิ-
    เสสะ ชนเหล่าใดรู้บทอันปัจจัยไม่ปรุงแต่ง
    แล้วนี้ มีจิตหลุดพ้นแล้วเพราะสิ้นตัณหา
    เครื่องนำไปสู่ภพ ชนเหล่านั้นยินดีแล้วใน
    นิพพานเป็นที่สิ้นกิเลส เพราะบรรลุธรรม
    อันเป็นสาระ เป็นผู้คงที่ ละภพได้ทั้งหมด.
    เนื้อความแม้นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้า
    ได้สดับมาแล้ว ฉะนั้นแล.
    จบธาตุสูตรที่ ๗
     
     
    44. The Nibbana-element {Iti 2.17; Iti 38}
    [Alternate translation: Thanissaro]
    This was said by the Lord...
    "Bhikkhus, there are these two Nibbana-elements. What are the two? The Nibbana-element with residue left and the Nibbana-element with no residue left.
    "What, bhikkhus, is the Nibbana-element with residue left? Here a bhikkhu is an arahant, one whose taints are destroyed, the holy life fulfilled, who has done what had to be done, laid down the burden, attained the goal, destroyed the fetters of being, completely released through final knowledge. However, his five sense faculties remain unimpaired, by which he still experiences what is agreeable and disagreeable and feels pleasure and pain. It is the extinction of attachment, hate, and delusion in him that is called the Nibbana-element with residue left.
    "Now what, bhikkhus, is the Nibbana-element with no residue left? Here a bhikkhu is an arahant... completely released through final knowledge. For him, here in this very life, all that is experienced, not being delighted in, will be extinguished. That, bhikkhus, is called the Nibbana-element with no residue left.
    "These, bhikkhus, are the two Nibbana-elements."
     
    These two Nibbana-elements were made known
    By the Seeing One, stable and unattached:
    One is the element seen here and now
    With residue, but with the cord of being destroyed;
    The other, having no residue for the future,
    Is that wherein all modes of being utterly cease.
    Having understood the unconditioned state,
    Released in mind with the cord of being destroyed,
    They have attained to the Dhamma-essence.
    Delighting in the destruction (of craving),
    Those stable ones have abandoned all being.
     
  17. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]คาราวะคาถา [/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]Gārāvagathasutta[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]Verses on Respect[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]หันทะ มะยัง คาระวะคาถาโย ภะณามะ เส[/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif].[/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Handa mayaṃ Gāravagathayo bhaṇāma se[/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]สัตถุคะรุ ธัมมะคะรุ สังเฆ จะ ติพพะคาระโว[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ผู้เคารพหนักแน่นในพระธรรม[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]และผู้มีความเคารพแก่กล้าในพระสงฆ์[/FONT][/FONT]
    [FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]Satthugaru dhammagaru saṅghe ca tibbag[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ā[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ravo[/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Deeply reverent towards the Teacher,[/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]สมาธิคะรุ อาตาปี[/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][/FONT][FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]สิกขายะ ติพพะคาระโว[/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]ผู้มีความเพียรหนักแน่นในสมาธิ มีความเคารพแก่กล้าในไตรสิกขา[/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Samādhigaru ātāpī sikkhāya tibbagāravo.[/FONT]
    [FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]reverent towards the Dhamma and Sangha, and the training[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]อัปปะมาทะคะรุ ภิกขุ ปะฏิสันถาระคาระโว[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]ผู้เห็นภัยหนักแน่นในความไม่ประมาท มีความเคารพในการปฏิสันถาร[/FONT][/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Appamādagaru bhikkhu, paṭisanthāragāravo[/FONT]
    [FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]reverent towards vigilance and friendly welcomes,[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]อะภัพโพ ปะริหานายะ นิพพานัสเสวะ สันติเก[/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif].[/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]ย่อมเป็นผู้ไม่พอเพื่อจะเสื่อมเสีย เป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานโดยแท้แล[/FONT][/FONT][FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif].[/FONT][/FONT]
    [FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]Abhabbo parihānāya, nibbānasseva santike’’ti.[/FONT][/FONT]
    [FONT=Calibri, sans-serif][FONT=Tahoma, sans-serif]a monk like this cannot fail, for he is the vicinity of extinction of egoism. altruism[/FONT][/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • untitled.jpg
      untitled.jpg
      ขนาดไฟล์:
      87.3 KB
      เปิดดู:
      33
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กันยายน 2011
  18. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35

    [FONT=Tahoma, sans-serif]ปรมกัลยาณมิตตคาถา

    [FONT=Tahoma, sans-serif]Kalyāṇamittasuttaṃ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]หันทะ มะยัง ปะระกัลยาณะมิตตะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Handa mayaṃ parakalyāṇamittagathāyo bhaṇāma se[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]อานันโท ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]พระอานนท์ได้กล่าวคำนี้กับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Ānando bhagavantaṃ eta davoca[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Bhikkhu ānanda approached me, paid homage to me and sat down to one side and said:[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]อุปัฑฒะมิทัง ภันเต พรัหมะจะริยัสสะยะทิทัง กัลยาณะมิตตะตา[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]upaḍḍhamidaṃ bhante brahmacariyassa’yadidaṃ kalyāṇamittatā[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]กัลยาณะ สะหายะตา กัลยาณะ สัมปะวังกะตา ติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]kalyāṇa sahāyatā kalyāṇa sampavankatā ti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความเป็นผู้มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผู้แวดล้อมดี[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]นี้เป็นครึ่งหนึ่งของชีวิตแห่งพรหมจรรย์[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Venerable sir, This is half of leading the holy life,i.e the good friendship good companionship and good comradeship'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]เอวัง วุตตาหัง เอตะทะโวจะ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]evaṃ vuttāhaṃ etadavoca[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]เมื่อพระอานนท์กล่าวอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสกับพระอานนท์ว่า[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]when this was said, I (the Lord Buddha) said to the bhikkhu ānanda[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]มา เหวัง อานันทะ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]มา เหวัง อานันทะ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]สะกะละเมวะ หิทัง อานันทะ พรัหมะจะริยัง[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ยะทิทัง กัลยาณะมิตตะตา กัลยาณะสะหายะตา กัลยาณะสัมปะวังกะตาติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    ‘‘[FONT=Tahoma, sans-serif]Mā hevaṃ, Ānanda, mā hevaṃ, Ānanda! Sakalameva hidaṃ, ānanda, brahmacariyaṃ,[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]yadidaṃ – kalyāṇamittatā kalyāṇasahāyatā kalyāṇasampavaṅkatā.ti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ดูก่อนอานนท์ เธออย่ากล่าวอย่างนั้น เธออย่ากล่าวอย่างนั้น ดูก่อนอานนท์ ความเป็นผู้มีมิตรดี มื[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]สหายดี มีเพื่อนผู้แวดล้อมดี นี้เป็นทั้งหมดของชีวิต แห่งพรหมจรรย์ทีเดียว[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]`Ānanda, dont say that! Ānanda, dont say that! This is the entire holy life:[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]good friendship good companionship and good comradeship'[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]เอวัง โข อานันทะ ภิกขุ กัลยาณะมิตโต กัลยาณะสะหาโย[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]กัลยาณะสัมปะวังโก อะริยัง อัฏฐังคิกัง มัคคัง ภาเวติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]evaṃ kho ānando, bhikkhu kalyāṇamitto kalyāṇasahāyo[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]kalyāṇasampavaṅko ariyaṃ aṭṭhaṅgikaṃ maggaṃ bhāveti,[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ดูก่อนอานนท์ ภิกษุ [/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]พุทธบริษัท ๔[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]) [/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ผู้มีมิตรดี[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif], [/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]มีสหายดี มีเพื่อนแวดล้อมดี[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ย่อมเจริญในอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้มากได้ อย่างนี้แล[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ānanda, When a bhikkhu has good friendship good companions or comrades,[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]it is expected that he will develop and cultivate within the noble eightfold path and make much from it.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]มะมัญหิ อานันทะ กัลยาณะมิตตัง อาคัมมะ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Mamañhi, ānanda, kalyāṇamittaṃ āgamma[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ดูก่อนอานนท์ สัตว์ทั้งหลายเหล่าใดได้อาศัยเรา [/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]([/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]พระพุทธเจ้า[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif])[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]เป็นกัลยาณมิตรแล้ว[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]`and howānanda, how does the bhikkhu, with good friends, companions or comrades develop and make much of the Noble Eightfold path?[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ชาติธัมมา สัตตา ชาติยา ปะริมุจจันติ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]jātidhammā sattā jātiyā parimuccanti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ย่อมหลุดพ้นจากความเกิดไปได้[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]`ānanda, by relying on me as a good friend, beings, subject to birth are released from birth.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ชะราธัมมา สัตตา ชะรายะ ปะริมุจจันติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]jarādhammā sattā jarāya parimuccanti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา ย่อมหลุดพ้นจากความแก่ได้[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]by relying on me as a good friend beings, subject to ageing are freed from ageing.[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]พยาธิธัมมา สัตตา พยาธิโต ปะริมุจจันติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]byādhidhammā sattā byādhito parimuccanti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ย่อมหลุดพ้นจากความเจ็บไข้ได้[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Beings subject to illness, by relying on me as a good friend, are free from illness[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]โสกะปะริเทวะ ทุกขะโทมะนัสสุปายาสะธัมมา สัตตา โสกะปะริเทวะ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ทุกขะโทมะนัส สุปายาเสหิ ปะริมุจจันติ[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif],[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif]ติ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]sokaparidevadukkhadomanassupāyāsadhammā sattā sokaparideva[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]dukkhadomanassupāyāsehi parimuccanti.ti[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]สัตว์ทั้งหลายผู้มีความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]มีความคับแค้นเป็นธรรมดา ย่อมหลุดพ้นจากความโศก ความร่ำไรรำพัน ความ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]ไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ไปได้ ดังนี้ ด้วยประการฉะนี้ แล[/FONT][FONT=Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    [FONT=Tahoma, sans-serif]Beings, subject to grief, lament, unpleasantness, displeasure and distress, by relying on me as a good friend, are released from their grief, lament, unpleasantness, displeasure and distress. ānanda, in this manner it should be understood, how good friendships, good associations and comradeship, are the complete holy life.'[/FONT]

    [/FONT]
     
  19. natcha2505

    natcha2505 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2011
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +16
    สวดมนต์บทไหนดี?

    (๑) สวดพุทธคุณเพื่อเตือนว่า จงเป็นผู้ตื่น
    (๒) สวดธรรมคุณเพื่อเตือนว่า
    จงเว้นสิ่งที่ควรเว้น จงทำสิ่งที่ควรทำ
    (๓) สวดสังฆคุณเพื่อเตือนว่า พระอรหันต์ที่แท้
    คือพ่อกับแม่ที่อยู่ในบ้านของเรานั่นเอง
     
  20. หลวงพ่อโจ

    หลวงพ่อโจ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +35
    พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ [๒. อนุปทวรรค]
    ๓. สัปปุริสสูตร

    Sappurisa Sutta: A Person of Integrity
     
    {๑๗๘} [๑๐๕] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถ
    บิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคได้รับสั่งเรียกภิกษุ
    ทั้งหลายมาตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย” ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดำรัสแล้ว
    พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า
    “ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมของสัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษแก่เธอ
    ทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟังธรรมของสัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษนั้น จงใส่ใจ
    ให้ดี เราจักกล่าว”
    ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดำรัสแล้ว
    {๑๗๙} พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ว่า
    “ธรรมของอสัตบุรุษ เป็นอย่างไร
    คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ เป็นผู้ออกจากตระกูลสูงบวชแล้ว เธอย่อมพิจารณา
    เห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ออกจากตระกูลสูง๑บวช ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ มิได้เป็นผู้
    ออกจากตระกูลสูงบวช’ เพราะความเป็นผู้มีตระกูลสูงนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน
    ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้มีตระกูลสูง ธรรม
    คือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือธรรมคือ
    โมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้ออกจากตระกูลสูงบวชแล้ว แต่
    เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้
    ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้มีตระกูลสูงนั้น
    สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๑)
    {๑๘๐} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ออกจากตระกูลใหญ่๒บวช ฯลฯ เป็นผู้ออก
    จากตระกูลมีโภคะมากบวช ... เป็นผู้ออกจากตระกูลมีโภคะโอฬารบวช อสัตบุรุษ
    นั้นย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ออกจากตระกูลมีโภคะโอฬารบวช ส่วน
    ภิกษุอื่นเหล่านี้ ไม่ใช่เป็นผู้ออกจากตระกูลมีโภคะโอฬารบวช’ เพราะความเป็นผู้มี
    โภคะโอฬารนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ

    ๑ ตระกูลสูง ในที่นี้หมายถึงตระกูลกษัตริย์ หรือตระกูลพราหมณ์ (ม.อุ.อ. ๓/๑๐๕/๖๘)
    ๒ ตระกูลใหญ่ ในที่นี้หมายถึงตระกูลกษัตริย์ ตระกูลพราหมณ์ หรือตระกูลแพศย์ (ม.อุ.อ. ๓/๑๐๕/๖๘)
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้มีโภคะโอฬาร
    ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือ
    ธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้ออกจากตระกูลมีโภคะ
    โอฬารบวชแล้ว แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตาม
    ธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้มี
    โภคะโอฬารนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน
    ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒-๔)
    {๑๘๑} [๑๐๖] อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้มีชื่อเสียง มียศ๑ ย่อมพิจารณาเห็น
    ดังนี้ว่า ‘เรามีชื่อเสียง มียศ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง มีศักดิ์น้อย‘๒
    เพราะความเป็นผู้มีชื่อเสียงนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้มีชื่อเสียง ธรรมคือ
    โลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือธรรมคือ
    โมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่ใช่เป็นผู้มีชื่อเสียง ไม่ใช่เป็นผู้มียศ แต่
    เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้
    ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้มีชื่อเสียงนั้น สัตบุรุษ
    นั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๕)
    {๑๘๒} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย
    เภสัชบริขาร๓ ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
    และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ เป็นผู้ไม่ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
    และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร’ เพราะการได้นั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ

    ๑ มียศ ในที่นี้หมายถึงสมบูรณ์ด้วยบริวาร (ม.อุ.อ. ๓/๑๐๖/๖๘)
    ๒ มีศักดิ์น้อย ในที่นี้หมายถึงมีบริวารน้อย (ม.อุ.อ. ๓/๑๐๖/๖๘)
    ๓ ดูเชิงอรรถที่ ๒ ข้อ ๘๒ (โคปกโมคคัลลานสูตร) หน้า ๙๐ ในเล่มนี้
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะการได้นั้น ธรรมคือโลภะย่อม
    ไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือธรรมคือโมหะย่อมไม่
    ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย
    เภสัชบริขาร แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม
    เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะการได้นั้น สัตบุรุษนั้น
    จึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๖)
    {๑๘๓} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นพหูสูต ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็น
    พหูสูต ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ ไม่เป็นพหูสูต’ เพราะความเป็นพหูสูตนั้น อสัตบุรุษ
    นั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นพหูสูต ธรรมคือโลภะ
    ย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือธรรมคือโมหะย่อม
    ไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นพหูสูต แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควร
    แก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ
    ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นพหูสูตนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ใน
    ภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๗)
    {๑๘๔} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ทรงจำวินัย ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เรา
    เป็นผู้ทรงจำวินัย ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ ไม่เป็นผู้ทรงจำวินัย’ เพราะความเป็นผู้ทรง
    จำวินัยนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ทรงจำวินัยนั้น
    ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือ
    ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา
    ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้ทรงจำวินัยนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำ
    ข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๘)
    {๑๘๕} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นพระธรรมกถึก ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เรา
    เป็นพระธรรมกถึก ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นพระธรรมกถึก’ เพราะความเป็น
    พระธรรมกถึกนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นพระธรรมกถึก ธรรม
    คือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือธรรมคือ
    โมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นพระธรรมกถึก แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรม
    สมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ
    ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นพระธรรมกถึกนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติ
    เท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๙)
    {๑๘๖} [๑๐๗] อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ย่อมพิจารณา
    เห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ถือการอยู่
    ป่าเป็นวัตร’ เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตรนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
    ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือ
    ธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร แต่
    เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้
    ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตรนั้น
    สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    {๑๘๗} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ถือการทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ย่อมพิจารณา
    เห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ถือการทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้
    ถือการทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร’ เพราะความเป็นผู้ถือการทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตรนั้น
    อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ถือการทรงผ้าบังสุกุล
    เป็นวัตร ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป
    หรือธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ถือการทรงผ้าบังสุกุล
    เป็นวัตร แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม
    เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้ถือการทรง
    ผ้าบังสุกุลเป็นวัตรนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน
    ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๑๑)
    {๑๘๘} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ย่อม
    พิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้
    ไม่เป็นผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร’ เพราะความเป็นผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาต
    เป็นวัตรนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ถือการเที่ยว
    บิณฑบาตเป็นวัตร ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึง
    ความสิ้นไป หรือธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ถือการ
    เที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ
    ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะ
    ความเป็นผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตรนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้
    ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    {๑๘๙} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร ย่อมพิจารณาเห็น
    ดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ถือการอยู่
    โคนไม้เป็นวัตร’ เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตรนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน
    ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร
    ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป หรือ
    ธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร
    แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้
    ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะความเป็นผู้ถือการอยู่โคนไม้เป็น
    วัตรนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๑๓)
    {๑๙๐} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษเป็นผู้ถือการอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร ฯลฯ เป็นผู้ถือ
    การอยู่กลางแจ้งเป็นวัตร ฯลฯ เป็นผู้ถือการนั่งเป็นวัตร ฯลฯ เป็นผู้ถือการอยู่
    ในเสนาสนะที่เขาจัดให้เป็นวัตร ฯลฯ เป็นผู้ถือการฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตร
    อสัตบุรุษนั้นย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ถือการฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตร
    ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ถือการฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตร’ เพราะความเป็น
    ผู้ถือการฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตรนั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เพราะความเป็นผู้ถือการฉัน ณ
    อาสนะเดียวเป็นวัตร ธรรมคือโลภะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป ธรรมคือโทสะย่อมไม่ถึง
    ความสิ้นไป หรือธรรมคือโมหะย่อมไม่ถึงความสิ้นไป แม้ถ้าภิกษุไม่เป็นผู้ถือการฉัน
    ณ อาสนะเดียวเป็นวัตร แต่เป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ
    ประพฤติตามธรรม เธอก็เป็นผู้ควรบูชา ควรสรรเสริญ ในหมู่ภิกษุนั้น’ เพราะ
    ความเป็นผู้ถือการฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตรนั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำข้อปฏิบัติ
    เท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    สมาบัติ ๘ ประการ
    {๑๙๑} [๑๐๘] อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว
    บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ อสัตบุรุษนั้นย่อม
    พิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้ปฐมฌานสมาบัติ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็น
    ผู้ได้ปฐมฌานสมาบัติ’ เพราะปฐมฌานสมาบัตินั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะปฐมฌานสมาบัติ พระผู้มี
    พระภาคจึงตรัสอตัมมยตา๑ไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วยเหตุใด ๆ เหตุนั้น ๆ
    ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะปฐมฌานสมาบัตินั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำ
    อตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๑๙)
    {๑๙๒} อีกประการหนึ่ง เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป อสัตบุรุษบรรลุทุติยฌาน
    มีความผ่องใสในภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติ
    และสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่ ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ
    อยู่ อสัตบุรุษนั้นย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้จตุตถฌานสมาบัติ
    ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ได้จตุตถฌานสมาบัติ’ เพราะจตุตถฌานสมาบัตินั้น
    อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะจตุตถฌานสมาบัติ พระผู้มี
    พระภาคจึงตรัสอตัมมยตาไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วยเหตุใด ๆ เหตุนั้น ๆ
    ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะจตุตถฌานสมาบัตินั้น สัตบุรุษนั้นจึง
    ทำอตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒๐-๒๒)

    ๑ อตัมมยตา ในที่นี้หมายถึงความไม่มีตัณหา (ม.อุ.อ. ๓/๑๐๘/๖๘)
    {๑๙๓} อีกประการหนึ่ง เพราะล่วงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไม่กำหนดนานัตต-
    สัญญาโดยประการทั้งปวง อสัตบุรุษบรรลุอากาสานัญจายตนะ โดยกำหนดว่า
    ‘อากาศหาที่สุดมิได้’ อยู่ เธอย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้อากาสานัญ-
    จายตนสมาบัติ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ได้อากาสานัญจายตนสมาบัติ’ เพราะ
    อากาสานัญจายตนสมาบัตินั้น อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะอากาสานัญจายตนสมาบัติ
    พระผู้มีพระภาคจึงตรัสอตัมมยตาไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วยเหตุใด ๆ
    เหตุนั้น ๆ ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะอากาสานัญจายตนสมาบัติ
    นั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำอตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒๓)
    {๑๙๔} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษล่วงอากาสานัญจายตนะได้โดยประการทั้งปวง
    บรรลุวิญญาณัญจายตนะ โดยกำหนดว่า ‘วิญญาณหาที่สุดมิได้’ อยู่ เธอย่อม
    พิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้วิญญาณัญจายตนสมาบัติ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้
    ไม่เป็นผู้ได้วิญญาณัญจายตนสมาบัติ’ เพราะวิญญาณัญจายตนสมาบัตินั้น
    อสัตบุรุษนั้นจึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะวิญญาณัญจายตนสมาบัติ
    พระผู้มีพระภาคจึงตรัสอตัมมยตาไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วยเหตุใด ๆ
    เหตุนั้น ๆ ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะวิญญาณัญจายตนสมาบัติ
    นั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำอตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒๔)
    {๑๙๕} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษก้าวล่วงวิญญาณณัญจายตนะได้โดยประการทั้งปวง
    ดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้อากิญจัญญายตนสมาบัติ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ได้
    อากิญจัญญายตนสมาบัติ’ เพราะอากิญจัญญายตนสมาบัตินั้น อสัตบุรุษนั้น
    จึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะอากิญจัญญายตนสมาบัติ
    พระผู้มีพระภาคจึงตรัสอตัมมยตาไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วยเหตุใด ๆ
    เหตุนั้น ๆ ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะอากิญจัญญายตนสมาบัตินั้น
    สัตบุรุษนั้นจึงทำอตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒๕)
    {๑๙๖} อีกประการหนึ่ง อสัตบุรุษล่วงอากิญจัญญายตนะได้โดยประการทั้งปวง
    บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะอยู่ เธอย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘เราเป็นผู้ได้
    เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ส่วนภิกษุอื่นเหล่านี้ไม่เป็นผู้ได้เนวสัญญานา-
    สัญญายตนสมาบัติ’ เพราะเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัตินั้น อสัตบุรุษนั้น
    จึงยกตน ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของอสัตบุรุษ
    ส่วนสัตบุรุษย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ‘แม้เพราะเนวสัญญานาสัญญายตน-
    สมาบัติ พระผู้มีพระภาคจึงตรัสอตัมมยตาไว้ เพราะชนทั้งหลายเข้าใจกันด้วย
    เหตุใด ๆ เหตุนั้น ๆ ย่อมเป็นอย่างอื่นจากที่เข้าใจกันนั้น’ เพราะเนวสัญญา-
    นาสัญญายตนสมาบัตินั้น สัตบุรุษนั้นจึงทำอตัมมยตาเท่านั้นไว้ในภายใน แล้วไม่
    ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น
    ภิกษุทั้งหลาย นี้ชื่อว่าธรรมของสัตบุรุษ (๒๖)
    {๑๙๗} อีกประการหนึ่ง สัตบุรุษล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะได้โดยประการทั้งปวง
    บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของสัตบุรุษ
    ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนี้แลย่อมไม่ถือตัวกับใคร ๆ ไม่ถือตัวในที่ไหน ๆ และ
    ไม่ถือตัวด้วยเหตุไร ๆ (๒๗)”
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจยินดีต่างชื่นชมพระ
    ภาษิตของพระผู้มีพระภาค ดังนี้แล
    สัปปุริสสูตรที่ ๓ จบ
     
    MN 113 PTS:
    M iii 37
    Sappurisa Sutta: A Person of Integrity
    translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu
    ฉ 2011
    I have heard that on one occasion the Blessed One was staying at Savatthi, in Jeta's Grove, Anathapindika's monastery. There he addressed the monks: "Monks!"
    "Yes, lord," the monks replied.
    The Blessed One said, "Monks, I will teach you the quality of a person of integrity and the quality of a person of no integrity. Listen, and pay close attention. I will speak."
    "Yes, lord," the monks replied.
    The Blessed One said: "And which is the quality of a person of no integrity?
    "There is the case where a person of no integrity goes forth from a high-ranking family. He notices, 'I have gone forth from a high-ranking family, but these other monks have not gone forth from a high-ranking family.' He exalts himself for having a high-ranking family and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through having a high-ranking family that the quality of greed goes to its end; it's not through having a high-ranking family that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one has not gone forth from a high-ranking family, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for having a high-ranking family nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity goes forth from a great family... a family of great wealth... a family of extensive wealth. He notices, 'I have gone forth from a family of extensive wealth, but these other monks have not gone forth from a family of extensive wealth.' He exalts himself for having a family of extensive wealth and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through having a family of extensive wealth that the quality of greed goes to its end; it's not through having a family of extensive wealth that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one has not gone forth from a family of extensive wealth, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for having a family of extensive wealth nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity is well-known & highly regarded. He notices, 'I am well-known & highly regarded, but these other monks are hardly known & have hardly any influence.' He exalts himself for being well-known & highly regarded and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through being well-known & highly regarded that the quality of greed goes to its end; it's not through being well-known & highly regarded that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one is not well-known & highly regarded, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for being well-known nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity is one who gains robe-cloth, alms-food, lodgings, & medicinal requisites for the sick. He notices, 'I am one who gains robe-cloth, alms-food, lodgings, & medicinal requisites for the sick, but these other monks are not ones who gain robe-cloth, alms-food, lodgings, & medicinal requisites for the sick. He exalts himself for being one who gains robe-cloth, alms-food, lodgings, & medicinal requisites for the sick and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through gains that the quality of greed goes to its end; it's not through gains that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one is not one who gains robe-cloth, alms-food, lodgings, & medicinal requisites for the sick, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for his gains nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity is learned... a master of the Vinaya... a Dhamma-speaker. He notices, 'I am a Dhamma-speaker, but these other monks are not Dhamma-speakers. He exalts himself for being a Dhamma-speaker and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through being a Dhamma-speaker that the quality of greed goes to its end; it's not through being a Dhamma-speaker that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one is not a Dhamma-speaker, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for being a Dhamma-speaker nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity is a wilderness dweller.
    [1] He notices, 'I am a wilderness dweller, but these other monks are not wilderness dwellers.' He exalts himself for being a wilderness dweller and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through being a wilderness dweller that the quality of greed goes to its end; it's not through being a wilderness dweller that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one is not a wilderness dweller, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for being a wilderness dweller nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity is one who wears robes of thrown-away rags... an alms-goer... one who dwells at the root of a tree... a cemetery dweller... one who lives in the open air... one who doesn't lie down... one who is content with whatever dwelling is assigned to him... one who eats only one meal a day. He notices, 'I am one who eats only one meal a day, but these other monks do not eat only one meal a day.' He exalts himself for being one who eats only one meal a day and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'It's not through being one who eats only one meal a day that the quality of greed goes to its end; it's not through being one who eats only one meal a day that the quality of aversion... the quality of delusion goes to its end. Even though one is not one who eats only one meal a day, if — practicing the Dhamma in line with the Dhamma, practicing masterfully — he is one who follows the Dhamma, he is to be honored for that, praised for that.' So, giving priority just to the practice, he neither exalts himself for being one who eats only one meal a day nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity — secluded from sensuality, secluded from unskillful qualities, enters & remains in the first jhāna: rapture & pleasure born of seclusion, accompanied by directed thought & evaluation. He notices, 'I have gained the attainment of the first jhāna, but these other monks have not gained the attainment of the first jhāna.' He exalts himself for the attainment of the first jhāna and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "But a person of integrity notices, 'The Blessed One has spoken of non-fashioning
    [2] even with regard to the attainment of the first jhāna, for by whatever means they construe it, it becomes otherwise from that.' [3] So, giving priority to non-fashioning, he neither exalts himself for the attainment of the first jhāna nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "Furthermore, a person of no integrity... enters & remains in the second jhāna... the third jhāna... the fourth jhāna... the dimension of the infinitude of space... the dimension of the infinitude of consciousness... the dimension of nothingness... the dimension of neither perception nor non-perception. He notices, 'I have gained the attainment of the dimension of neither perception nor non-perception, but these other monks have not gained the attainment of the dimension of neither perception nor non-perception.' He exalts himself for the attainment of the dimension of neither perception nor non-perception and disparages others. This is the quality of a person of no integrity.
    "A person of integrity notices, 'The Blessed One has spoken of non-fashioning even with regard to the attainment of the dimension of neither perception nor non-perception, for by whatever means they construe it, it becomes otherwise from that.' So, giving priority to non-fashioning, he neither exalts himself for the attainment of the dimension of neither perception nor non-perception nor disparages others. This is the quality of a person of integrity.
    "A person of integrity, completely transcending the dimension of neither perception nor non-perception, enters & remains in the cessation of feeling & perception. When he sees with discernment, his effluents are ended. This is a monk who does not construe anything, does not construe anywhere, does not construe in any way."
    That is what the Blessed One said. Gratified, the monks delighted in the Blessed One's words.
    Notes
    1.
    <DIR>The nine practices mentioned here — being a wilderness dweller, one who wears robes of thrown-away rags, an alms-goer, one who dwells at the root of a tree, a cemetery dweller, one who lives in the open air, one who doesn't lie down, one who is content with whatever dwelling is assigned to him, or one who eats only one meal a day — are among the thirteen optional ascetic (dhutaṅga) practices that monks may undertake. The other four are: possessing only one set of the triple robe, bypassing no donors on one's almsround, eating only from one's bowl, and not accepting food brought after one's almsround. All thirteen practices are listed in Thag 16.7.
    </DIR>
    2.
    <DIR>Atammayatā. For discussions of the role of non-fashioning in the practice, see The Wings to Awakening,
    II/B and III/G, and The Paradox of Becoming, Chapter 6.
    </DIR>
    3.
    <DIR>In other words, whatever the condition of the ground on which one might base a state of becoming — a sense of one's self or the world one inhabits — by the time that state of becoming has taken shape, the ground has already changed. In this case, if one tries to shape a sense of self around one's attainment of jhāna, the attainment itself has already changed.
    </DIR>
    3.2.3

    Sappurisa suttaṃ

    Evaṃ me sutaṃ: ekaṃ samayaṃ bhagav
    ā sāvatthiyaṃ viharati jetavane anāthapiṇḍikassa ārāme. Tatra kho bhagavā bhikkhu āmantesi bhikkhavoti. Bhadanteti te bhikkhu bhagavato paccassosuṃ. Bhagavā etadavoca:

    Sappurisadhamma
    ñca vo bhikkhave, desessāmi asappurisadhammañca. Taṃ suṇātha sādhukaṃ manasi karotha. Bhāsissāmīti.

    Evaṃ bhanteti kho te bhikkhu bhagavato paccassosuṃ. Bhagavā etadavoca:

    Katamo ca bhikkhave, asappurisadhammo: idha bhikkhave, asappuriso uccākulā pabbajito hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khombhi uccākulā pabbajito ime panaññe bhikkhū na uccākulā pabbajitāti. So tāya uccākulīnatāya attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho uccākulīnatāya lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. Dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. Mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi uccākulā pabbajito hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmicipaṭipanno [PTS Page 038] [\q 38/] anudhammacārī. So tattha pujjo, so tattha pāsaṃsoti. So paṭipadaṃ yeva antaraṃ karitvā tāya uccākulīnatāya nevattānukkaṃseti. Na paraṃ vambheti. Ayaṃ bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso mahākulā pabbajito hoti so iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khombhi mahābhogakulā pabbajito ime panaññe bhikkhū na mahābhogakulā pabbajitāti. So tāya mahābhogakulīnatāya attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho mahābhogakulīnatāya lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti.
    Dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. Mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi mahābhotakulā pabbajito hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmicipaṭipanno anudhammacārī. So tattha pujjo, so tattha pāsaṃsoti. So paṭipadaṃ yeva antaraṃ karitvā tāya mahābhogakulīnatāya nevattānukkaṃseti. Na paraṃ vambheti. Ayaṃ bhikkhave, sappurisadhammo. Uḷārabhogakulā pabbajito hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati:
    'Ahaṃ khombhi uḷ
    ārabhogakulā pabbajito, ime panaññe bhikkhū na uḷārabhogakulā pabbajitā'ti. So tāya uḷārabhogatāya attānukkaṃseti, paraṃ vambheti.
    Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisa
    ñcikkhati: 'na kho uḷārabhogatāya lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti.
    Dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. Mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi uḷārabhogakulā pabbajito hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmicipaṭipanno anudhammacārī. So tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃ yeva antaraṃ karitvā tāya uḷārabhogatāya nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayaṃ bhikkhave, sappurisadhammo.
    [PTS Page 039] [\q 39/]
    [BJT Page 156] [\x 156/]

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso
    ñāto hoti yasassasī. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi ñāto yasassasī. Ime panaññe bhikkhū appaññātā1 appesakkhā'ti. So tena ñātattena2 attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca bhikkhave, itipaṭisañcikkhati: 'na kho ñātattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi ñāto hoti yasassasī, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmicipaṭipanno anudhammacārī. So tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena ñātattena. Nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambhoti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso lābhī hoti cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhārānaṃ. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi lābhī cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhārānaṃ. Ime panaññe bhikkhū na lābhino cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhārāna'nti. So tena lābhena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho lābhena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi lābhi hoti cīvarapiṇḍapātasenāsanagilānapaccayabhesajjaparikkhārānaṃ so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmicipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. Paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena lābhena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso bahussuto hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi bahussuto, ime panaññe bhikkhū na bahussutā'ti. So tena bāhusaccena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho bāhusaccena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi bahussuto hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃsoti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena bāhusaccena neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    ------------------------
    1.Appa
    ñatā-syā.
    2.
    Ñātena-sīmu.
    Ñattena-majasaṃ.

    [BJT Page 158] [\x 158/]

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso vinayadharo hoti. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi vinayadharo, ime panaññe bhikkh
    ū na vinayadharā'ti. So tena vinayadharattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho vinayadharattena [PTS Page 040] [\q 40/] lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi vinayadharā hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so ttatha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena vinayadharattena neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso dhammakathiko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi dhammakathiko, ime panaññe bhikkhū na dhammakathikā'ti. So tena dhammakathikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho dhammakathikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi dhammakathiko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so ttatha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena dhammakathikattena neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.
    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso āra
    ññiko hoti. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi āraññiko ime panaññe bhikkhū na āraññikā'ti. So tena āraññikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: na kho āraññikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi āraññiko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so ttatha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena āraññikattena neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso paṃsukūliko hoti. [PTS Page 041] [\q 41/] so iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi paṃsukūliko, ime panaññe bhikkhū na paṃsukūlikā'ti. So tena paṃsukūlikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho paṃsukūlikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi paṃsakūliko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so ttatha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena paṃsukūlikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    [BJT Page 160] [\x 160/]

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso piṇḍapātiko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi piṇḍapātiko, ime panaññe bhikkhū na piṇḍapātikā'ti. So tena piṇḍapātikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho piṇḍapātikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi piṇḍapātiko hoti, so ca hoti. Dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī. So tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena piṇḍapātikattena nevattānukkaṃseti. Na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso rukkhamūliko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi rukkhamūliko ime panaññe bhikkhū na rukkhamūlikā'ti. So tena
    Rukkhamūlikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisa
    ñcikkhati: 'na kho rukkhamūlikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi rukkhamūliko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So [PTS Page 042] [\q 42/] paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena rukkhamūlikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave,
    Asappuriso sosāniko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ
    Khomhi sos
    āniko, ime panaññe bhikkhū na sosānikā'ti. So tena sosānikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho sosānikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi sosāniko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena sosānikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso abbhokāsiko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi abbhokāsiko
    Ime pana
    ññe bhikkhū na abbhokāsikā'ti. So tena abbhokāsikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho abbhokāsikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi abbhokāsiko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena abbhokāsikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo. Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso nesajjiko hoti. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi nesajjiko, ime panaññe bhikkhū na nesajjikā'ti. So tena nesajjikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho nesajjikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti,
    Dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi nesajjiko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena nesajjikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso yathāsanthatiko hoti. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi yathāsanthatiko, ime panaññe bhikkhū na yathāsanthatikā'ti. So tena yathāsanthanikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'na kho yathāsanthatikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi yathāsanthatiko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so tattha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena yathāsanthatikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, ekāsaniko hoti so iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi ekāsaniko, ime panaññe bhikkhū na ekāsanikā'ti. So tena ekāsanikattena attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, itipaṭisañcikkhati: 'na kho ekāsanikattena lobhadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, dosadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti, mohadhammā vā parikkhayaṃ gacchanti. No cepi ekāsaniko hoti, so ca hoti dhammānudhammapaṭipanno sāmīcipaṭipanno anudhammacārī, so tattha pujjo, so ttatha pāsaṃso'ti. So paṭipadaṃyeva antaraṃ karitvā tena ekāsanikattena nevattānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso vivicceva kāmehi vivicca akusalehi dhammehi savitakkaṃ savicāraṃ vivekajaṃ pitisukhaṃ paṭhamaṃ jhānaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisa
    ñcikkhati: 'ahaṃ khomhi paṭhamajjhānasamāpattiyā lābhī, ime panaññe bhikkhū na paṭhamajjhānasamāpattiyā lābhino'ti. So tāya paṭhamajjhānasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'paṭhamajjhānasamāpattiyāpi kho atammayatā vuttā bhagavatā yena yena hi maññanti, tato taṃ hoti aññathā'ti so [PTS Page 043] [\q 43/] atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya paṭhamajjhānasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    [BJT Page 162] [\x 162/]

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso vitakkavicārānaṃ vūpasamā ajjhattaṃ sampasādanaṃ cetaso ekodibhāvaṃ avitakkaṃ avicāraṃ samādhijaṃ pītisukhaṃ dutiyaṃ jhānaṃ upasampajja viharati. Pītiyā ca virāgā upekkhako ca viharati sato ca sampajāno, sukha
    ñca kāyena paṭisaṃvedeti. Yaṃ taṃ ariyā ācikkhanti: upekkhako satimā sukhavihārīti, tatiyaṃ jhānaṃ upasampajja viharati. Sukhassa ca pahānā dukkhassa ca pahānā pubbeva somanassadomanassānaṃ atthaṅgamā adukkhaṃ asukhaṃ upekkhāsatipārisuddhiṃ catutthaṃ jhānaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi catutthajjhānasamāpattiyā lābhī, ime panaññe bhikkhū catutthajjhānasamāpattiyā na lābhino'ti. So tāya catutthajjhānasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'catutthajjhānasamāpattiyāpi kho atammayatā vuttā bhagavatā. Yena yena hi maññanti tato taṃ hoti aññathā'ti. So atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya catutthajajhānasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso sabbaso rūpasa
    ññānaṃ samatikkamā paṭighasaññānaṃ atthaṅgamā nānattasaññānaṃ amanasikārā ananto ākāsoti ākāsānañcāyatanaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi ākāsānañcāyatanasamāpattiyā lābhī. Ime panaññe bhikkhū ākāsānañcāyatanasamāpattiyā na lābhino'ti. So tāya ākāsānañcāyatanasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃvambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo.

    Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisa
    ñcikkhati:
    Ākāsānañcāyatanasamāpattiyā'pi atammayatā vuttā bhagavatā. Yena yena hi maññanti, tato taṃ hoti aññathā'ti. So atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya ākāsānañcāyatanasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso sabbaso ākāsāna
    ñcāyatanaṃ samatikkamma1 anattaṃ viññāṇanati viññāṇañcāyatanaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi viññāṇañcāyatanasamāpattiyā lābhī, ime panaññe [PTS Page 044] [\q 44/] bhikkhū viññāṇañcāyatanasamāpattiyā na lābhino'ti. So tāya viññāṇañcāyatanasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'viññāṇañcāyatanasamāpattiyāpi kho atammayatā vuttā bhagavatā, yena yena hi maññanti tato taṃ hoti aññathā'ti. So atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya viññāṇañcāyatanasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso sabbaso vi
    ññāṇañcāyatanaṃ samatikkamma1 natthi kiñcīti ākiñcaññāyatanaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi ākiñcaññāyatanasamāpattiyā lābhī, ime panaññe bhikkhū ākiñcaññāyatanasamāpattiyā na lābhino'ti. So tāya ākiñcaññāyatanasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'ākiñcaññāyatanasamāpattiyāpi kho atammayatā vuttā bhagavatā. Yena yena hi maññanti tato taṃ hoti aññathā'ti. So atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya ākiñcaññāyatanasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.

    -------------------------
    1.Samatikkamā-[PTS.]

    [BJT Page 164] [\x 164/]

    Puna ca paraṃ bhikkhave, asappuriso sabbaso āki
    ñcaññāyatanaṃ samatikkamma1 nevasaññānāsaññāyatanaṃ upasampajja viharati. So iti paṭisañcikkhati: 'ahaṃ khomhi nevasaññānāsaññāyatanasamāpattiyā lābhī, ime panaññe bhikkhū nevasaññānāsaññāyatanasamāpattiyā na lābhino'ti. So tāya nevasaññānāsaññāyatanasamāpattiyā attānukkaṃseti, paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, asappurisadhammo. Sappuriso ca kho bhikkhave, iti paṭisañcikkhati: 'nevasaññānāsaññāyatanasamāpattiyāpi kho atammayatā vuttā bhagavatā. Yena yena hi maññanti, tato taṃ hoti aññathā'ti. So atammayataṃyeva antaraṃ karitvā tāya nevasaññānāsaññāyatanasamāpattiyā neva attānukkaṃseti, na paraṃ vambheti. Ayampi bhikkhave, sappurisadhammo.
    [PTS Page 045] [\q 45/]
    Puna ca paraṃ bhikkhave, sappuriso sabbaso nevasa
    ññānāsaññāyatanaṃ samatikkamma1 saññāvedayitanirodhaṃ upasampajja viharati. Paññāya cassa disvā āsavā parikkhīṇā honti2 ayaṃ kho3 bhikkhave, bhikkhu na kiñci maññati, na kuhiñci maññati, na kenaci maññatī'ti.

    Idamavoca bhagavā, attamanā te bhikkhu bhagavato bhāsitaṃ abhinandunti.

    Sappurisa suttaṃ tatiyaṃ.

    -------------------------
    1.Samatikkamā-[PTS' 2.]Parikkhayāpenti-[PTS.]
    3.Ayampi-sīmu,[PTS.]
    Ayaṃ-majasaṃ.

    [BJT Page 166] [\x 166/]
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๔
    สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๖ มชฺฌิมนิกายสฺส อุปริปณฺณาสกํ
     
    สปฺปุริสสุตฺต
    [๑๗๘] เอวมฺเม สุต เอก สมย ภควา สาวตฺถิย วิหรติ
    เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
    อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ ฯ
    ภควา เอตทโวจ สปฺปุริสธมฺมฺจ โว ภิกฺขเว เทเสสฺสามิ
    อสปฺปุริสธมฺมฺจ ต สุณาถ สาธุก มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ ฯ
    เอว ภนฺเตติ โข เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ ฯ
    [๑๗๙] ภควา เอตทโวจ กตโม จ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    อิธ ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส อุจฺจากุลา ปพฺพชิโต โหติ ฯ โส อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ อุจฺจากุลา
    ปพฺพชิโต อิเม ปนฺเ
    ภิกฺขู น อุจฺจากุลา ปพฺพชิตาติ ฯ โส ตาย อุจฺจากุลีนตาย อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อย ๑ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส
    จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข อุจฺจากุลีนตาย โลภธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมาุ
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ อุจฺจากุลา
    ปพฺพชิโต โหติ โส
    จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส
    ตตฺถ ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา
    ตาย อุจฺจากุลีนตาย เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อย ภิกฺขเว
    สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    #๑ ยุ. อยมฺปิ ฯ
    [๑๘๐] ปุน จปร ภิกฺขเว อสปฺปุริโส มหากุลา ปพฺพชิโต โหติ
    มหาโภคกุลา
    ปพฺพชิโต โหติ อุฬารโภคกุลา ปพฺพชิโต โหติ ฯ
    โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ อุฬารโภคกุลา
    ปพฺพชิโต
    อิเม ปนฺเ น อุฬารโภคกุลา ปพฺพชิตาติ ฯ โส ตาย
    อุฬารโภคตาย อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว
    อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ
    น โข อุฬารโภคตาย โลภธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ
    อุฬารโภคกุลา
    ปพฺพชิโต โหติ โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
    สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ
    โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา ตาย อุฬารโภคตาย เนวตฺตานุกฺกเสติ
    น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๑] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส าโต โหติ ยสสฺสี ฯ
    โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ าโต ยสสฺสี อิเม ปนฺเ
    ภิกฺขู อปฺปาตา อปฺเปสกฺขาติ ฯ โส เตน าตตฺเตน ๑ อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข
    ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข าตตฺเตน โลภธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ าโต โหติ ยสสฺสี โส จ
    โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ
    #๑ โป. าเตน ฯ ม. ตฺเตน ฯ
    ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ๑ เตน าตตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ
    น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๒] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส ลาภี โหติ
    จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาราน ฯ โส อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ ลาภี จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจย-
    เภสชฺชปริกฺขาราน อิเม ปนฺเ ภิกฺขู น ลาภิโน จีวรปิณฺฑปาต-
    เสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขารานนฺติ ฯ โส เตน ลาเภน
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข ลาเภน
    โลภธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ
    โมหธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ ลาภี โหติ
    จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาราน โส จ โหติ
    ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส
    ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา เตน ลาเภน
    เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๓] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส พหุสฺสุโต โหติ ฯ โส
    อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ พหุสฺสุโต อิเม ปนฺเ ภิกฺขู
    น พหุสฺสุตาติ ฯ โส เตน พาหุสจฺเจน อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ
    อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ น โข พาหุสจฺเจน โลภธมฺมา วา ปริกฺขย
    #๑ ม. ยุ. โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา ฯ
    คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา วา ปริกฺขย
    คจฺฉนฺติ โน เจปิ พหุสฺสุโต โหติ โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
    สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส
    ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา เตน พาหุสจฺเจน
    เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๔] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส วินยธโร โหติ ฯ โส
    อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ วินยธโร อิเม ปนฺเ ภิกฺขู
    น วินยธราติ ฯ โส เตน วินยธรตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ
    อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ น โข วินยธรตฺเตน โลภธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ
    โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ
    โน เจปิ วินยธโร โหติ โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน
    อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ
    โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา เตน วินยธรตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ
    น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๕] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส ธมฺมกถิโก โหติ ฯ
    โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ ธมฺมกถิโก อิเม ปนฺเ
    ภิกฺขู น ธมฺมกถิกาติ ฯ โส เตน ธมฺมกถิกตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ
    โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข ธมฺมกถิกตฺเตน โลภธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ ธมฺมกถิโก โหติ โส จ โหติ
    ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ
    ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา
    เตน ธมฺมกถิกตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ
    ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๖] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส อารฺโก ๑ โหติ ฯ
    โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ อารฺโก อิเม ปนฺเ
    ภิกฺขู น อารฺกาติ ฯ โส เตน อารฺกตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข
    ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข อารฺกตฺเตน โลภธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา
    วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ อารฺโก โหติ โส จ โหติ
    ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ
    ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา
    เตน อารฺกตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ
    ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๗] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส ปสุกูลิโก โหติ ฯ โส
    อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ ปสุกูลิโก อิเม ปนฺเ ภิกฺขู
    น ปสุกูลิกาติ ฯ โส เตน ปสุกูลิกตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ ปร
    #๑ โป. ม. อารฺิโก ฯ
    วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข
    ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข ปสุกูลิกตฺเตน โลภธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ ปสุกูลิโก โหติ โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน
    สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส
    ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา เตน ปสุกูลิกตฺเตน
    เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๘] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส ปิณฺฑปาติโก โหติ ฯ
    โส อติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ ปิณฺฑปาติโก อิเม ปนฺเ
    ภิกฺขู น ปิณฺฑปาติกาติ ฯ โส เตน ปิณฺฑปาติกตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ
    โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข ปิณฺฑปาติกตฺเตน
    โลภธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ
    โมหธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ ปิณฺฑปาติโก โหติ
    โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี
    โส ตตฺถ ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร
    กริตฺวา เตน ปิณฺฑปาติกตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ
    อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๘๙] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส รุกฺขมูลิโก โหติ ฯ โส
    อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ รุกฺขมูลิโก อิเม ปนฺเ ภิกฺขู
    น รุกฺขมูลิกาติ ฯ โส เตน รุกฺขมูลิกตฺเตน อตฺตานุกฺกเสติ ปร
    วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข
    ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข รุกฺขมูลิกตฺเตน โลภธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โมหธมฺมา วา
    ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ รุกฺขมูลิโก โหติ โส จ โหติ
    ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตตฺถ ปุชฺโช โส
    ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร กริตฺวา เตน รุกฺขมูลิกตฺเตน
    เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๐] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส โสสานิโก โหติ ...
    อพฺโภกาสิโก โหติ ... เนสชฺชิโก โหติ ... ยถาสนฺถติโก โหติ ...
    เอกาสนิโก โหติ ฯ โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ เอกาสนิโก
    อิเม ปนฺเ ภิกฺขู น เอกาสนิกาติ ฯ โส เตน เอกาสนิกตฺเตน
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ น โข เอกาสนิกตฺเตน
    โลภธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โทสธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ
    โมหธมฺมา วา ปริกฺขย คจฺฉนฺติ โน เจปิ เอกาสนิโก โหติ
    โส จ โหติ ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี
    โส ตตฺถ ปุชฺโช โส ตตฺถ ปาสโสติ ฯ โส ปฏิปทเยว อนฺตร
    กริตฺวา เตน เอกาสนิกตฺเตน เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ
    อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๑] ปุน จปร ภิกฺขเว อสปฺปุริโส วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ
    อกุสเลหิ ธมฺเมหิ สวิตกฺก สวิจาร วิเวกช ปีติสุข ปม ฌาน
    อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ
    ปมชฺฌานสมาปตฺติยา ลาภี อิเม ปนฺเ ภิกฺขู ปมชฺฌานสมาปตฺติยา
    น ลาภิโนติ ฯ โส ตาย ปมชฺฌานสมาปตฺติยา
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ ปมชฺฌานสมาปตฺติยาปิ
    โข อคมฺมยตา ๑ วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ
    มฺนฺติ ตโต ต โหติ อฺถาติ ฯ โส อคมฺมยตฺเว
    อนฺตร กริตฺวา ตาย ปมชฺฌานสมาปตฺติยา เนวตฺตานุกฺกเสติ น
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๒] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส วิตกฺกวิจาราน วูปสมา
    อชฺฌตฺต สมฺปสาทน เจตโส เอโกทิภาว อวิตกฺก อวิจาร สมาธิช
    ปีติสุข ทุติย ฌาน ... ตติย ฌาน ... จตุตฺถ ฌาน อุปสมฺปชฺช
    วิหรติ ฯ โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ จตุตฺถชฺฌานสมาปตฺติยา
    ลาภี อิเม ปนฺเ ภิกฺขู จตุตฺถชฺฌานสมาปตฺติยา
    น ลาภิโนติ ฯ โส ตาย จตุตฺถชฺฌานสมาปตฺติยา อตฺตานุกฺกเสติ
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ
    #๑ ยุ. อตมฺมยตาติ ทิสฺสติ ฯ สี. อกมฺมยทา อกมฺมยตาตี ทุวิเธน ทิสฺสติ ฯ
    #ม. อตมฺมยาติ ทิสฺสติ ฯ
    โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ จตุตฺถชฺฌานสมาปตฺติยาปิ โข
    อคมฺมยตา วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ มฺนฺติ ตโต ต
    โหติ อฺถาติ ฯ โส อคมฺมยตฺเว อนฺตร กริตฺวา ตาย
    จตุตฺถชฺฌานสมาปตฺติยา เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ
    ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๓] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส [๑] รูปสฺาน
    สมติกฺกมา ปฏิฆสฺาน อตฺถงฺคมา นานตฺตสฺาน อมนสิการา
    อนนฺโต อากาโสติ อากาสานฺจายตน อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ อากาสานฺจายตนสมาปตฺติยา ลาภี
    อิเม ปนฺเ ภิกฺขู อากาสานฺจายตนสมาปตฺติยา น ลาภิโนติ ฯ
    โส ตาย อากาสานฺจายตนสมาปตฺติยา อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ
    อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ อากาสานฺจายตนสมาปตฺติยาปิ โข อคมฺมยตา
    วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ มฺนฺติ ตโต ต โหติ อฺถาติ ฯ
    โส อคมฺมยตฺเว อนฺตร กริตฺวา ตาย อากาสานฺจายตนสมาปตฺติยา
    เนวตฺตานุกฺกเสติ น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว
    สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๔] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส สพฺพโส อากาสานฺจายตน
    สมติกฺกมฺม ๒ อนนฺต วิฺาณนฺติ วิฺาณฺจายตน อุปสมฺปชฺช
    วิหรติ ฯ โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ วิฺาณฺจายตนสมาปตฺติยา
    #๑ ม. เอตฺถนฺตเร สพฺพโสติ ทิสฺสติ ฯ ๒ ยุ. สมติกฺกมา ฯ
    ลาภี อิเม ปนฺเ ภิกฺขู วิฺาณฺจายตนสมาปตฺติยา
    น ลาภิโนติ ฯ โส ตาย วิฺาณฺจายตนสมาปตฺติยา
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ วิฺาณฺจายตนสมาปตฺติยาปิ
    โข อคมฺมยตา วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ
    มฺนฺติ ตโต ต โหติ อฺถาติ ฯ โส อคมฺมยตฺเว อนฺตร
    กริตฺวา ตาย วิฺาณฺจายตนสมาปตฺติยา เนวตฺตานุกฺกเสติ น
    ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๕] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส สพฺพโส วิฺาณฺจายตน
    สมติกฺกมฺม นตฺถิ กิฺจีติ อากิฺจฺายตน อุปสมฺปชฺช
    วิหรติ ฯ โส อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ อากิฺจฺายตนสมาปตฺติยา
    ลาภี อิเม ปนฺเ ภิกฺขู อากิฺจฺายตนสมาปตฺติยา
    น ลาภิโนติ ฯ โส ตาย อากิฺจฺายตนสมาปตฺติยา
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ อากิฺจฺายตนสมาปตฺติยาปิ
    โข อคมฺมยตา วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ
    มฺนฺติ ตโต ต โหติ อฺถาติ ฯ โส อคมฺมยตฺเว
    อนฺตร กริตฺวา ตาย อากิฺจฺายตนสมาปตฺติยา เนวตฺตานุกฺกเสติ
    น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๖] ปุน จปร ภิกฺขเว
    อสปฺปุริโส [๑] อากิฺจฺายตน
    #๑ เอตฺถนฺตเร สพฺพโสติ ทิสฺสติ ฯ
    สมติกฺกมฺม เนวสฺานาสฺายตน อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส อิติ
    ปฏิสฺจิกฺขติ อห โขมฺหิ เนวสฺานาสฺายตนสมาปตฺติยา
    ลาภี อิเม ปนฺเ ภิกฺขู เนวสฺานาสฺายตนสมาปตฺติยา
    น ลาภิโนติ ฯ โส ตาย เนวสฺานาสฺายตนสมาปตฺติยา
    อตฺตานุกฺกเสติ ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว อสปฺปุริสธมฺโม ฯ
    สปฺปุริโส จ โข ภิกฺขเว อิติ ปฏิสฺจิกฺขติ เนวสฺานาสฺายตนสมาปตฺติยาปิ
    โข อคมฺมยตา วุตฺตา ภควตา เยน เยน หิ
    มฺนฺติ ตโต ต โหติ อฺถาติ ฯ โส อคมฺมยตฺเว อนฺตร
    กริตฺวา ตาย เนวสฺานาสฺายตนสมาปตฺติยา เนวตฺตานุกฺกเสติ
    น ปร วมฺเภติ อยมฺปิ ภิกฺขเว สปฺปุริสธมฺโม ฯ
    [๑๙๗] ปุน จปร ภิกฺขเว สปฺปุริโส สพฺพโส เนวสฺานาสฺายตน
    สมติกฺกมฺม สฺาเวทยิตนิโรธ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ
    ปฺายปสฺส ๑ ทิสฺวา อาสวา ปริกฺขีณา ๒ โหนฺติ ฯ อย โข ภิกฺขเว
    ภิกฺขุ น กิฺจิ มฺติ น กุหิฺจิ มฺติ น เกนจิ มฺตีติ ฯ
    อิทมโวจ ภควา อตฺตมนา เต ภิกฺขู ภควโต ภาสิต
    อภินนฺทุนฺติ ฯ
    สปฺปุริสสุตฺต นิฏฺิต ตติย ฯ
    ___________
    #๑ โป. ม. ยุ. ปฺายจสฺส ฯ ๒ ยุ. ปริกฺขยาเปนฺติ ฯ
     

แชร์หน้านี้

Loading...