@รวมความรู้กระทู้พระแท้ และตำหนิพระ@

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย stoes, 16 กรกฎาคม 2011.

  1. รับโชค

    รับโชค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    2,131
    ค่าพลัง:
    +11,878
    กระทู้สุดยอดอย่างนี้ต้องปักหมุดครับ
    ขอบคุณมากครับ จะคอยเฝ้ากระทู้นะครับท่าน
     
  2. tee_tores

    tee_tores กะยิราเจ กะยิราเถนัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    18,925
    ค่าพลัง:
    +53,093
    กระทู้นี้ จะดี และ เวิร์คมากๆ ถ้ามีใคร อาษา เอาภาพพระแท้ๆ ที่ถ่ายเอง มาลงใว้ให้ได้ชมบ้างนะครับ เพราะหลักการนี้เวิร์ค อยู่แล้ว จริงๆ
     
  3. ปูอัน

    ปูอัน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    304
    ค่าพลัง:
    +721
    ไปหาจากในตู้มาถ่ายครับ จำได้ว่ามีไปจองกับเขาเหมือนกัน แต่ดูแล้วไม่ค่อยสวยรบกวนพี่ๆวิจารณ์ด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCN1795.JPG
      DSCN1795.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.7 MB
      เปิดดู:
      727
    • DSCN1794.JPG
      DSCN1794.JPG
      ขนาดไฟล์:
      2.7 MB
      เปิดดู:
      369
  4. apiromsuk

    apiromsuk Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    115
    ค่าพลัง:
    +64
    กระทู้ดีเยี่ยมยอด อย่างนี้ขอยกนิ้วและขอดันด้วยนะครับ
     
  5. กำธร นครปฐม

    กำธร นครปฐม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    2,756
    ค่าพลัง:
    +7,202
    ครับ กระทู้ดีมีคุณภาพอีกกระทู้นึงครับขอบอก ขอบคุณท่าน อ.สโตว์มาก ๆ ครับ
     
  6. คิงคอง99

    คิงคอง99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    3,277
    ค่าพลัง:
    +23,769
    ขอบคุณครับ เยี่ยมมาก ช่วยๆกัน ต่อสู้กับของเก๊ อย่าปล่อยให้ของเก๊ลอยนวล หุหุ
     
  7. Zapp!

    Zapp! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    2,000
    ค่าพลัง:
    +3,191
    สุดยอดน้อง Stoes
    ขอเป็นแรงใจแรงเชียร์ให้...เยี่ยมๆ......pretty good indeed !!!!!!!!

    แล้วจะมาช่วยแจม....
     
  8. อินโนเซนต์

    อินโนเซนต์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    762
    ค่าพลัง:
    +81
    ตำหนิเหรียญ หลวงพ่อธรรมจักร ว.เขาธรรมมูล/ลพ.แดง ว.ใหญ่อินทาราม

    ขอบพระคุณที่มาของภาพ
    นิติยสาร พระเครื่องประยุกต์ ปีที่๙ ฉบับที่๒๕๓ ประจำวันที่๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓o
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. kameo

    kameo สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    29
    ค่าพลัง:
    +0
    ขอบคุณกระทู้นี้มากๆครับ ดีมากเลย น่าจะมีรูปพระแท้ๆมาอีกเยอะๆนะครับ ผมยังน้องใหม่อยู่เลย:cool::cool:
     
  10. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    ดูดีอยู่ครับ แต่บางครั้งภาพถ่ายก็ขาดรายละเอียดลองเทียบอีกทีครับ
    [​IMG]



    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[​IMG]

    [​IMG]



    การดูเก๊แท้ในเรื่องพระฉีดหลวงพ่อโสธร ปี 2538 ครบรอบ 80 ปีกรมตำรวจนั้นดูยากพอสมควร​

    ต้องดูโค๊ดที่ใต้ฐานโดยการดูตัวเลขและตัวหนังสือ ดูความคมชัดลึกในลายระเอียดพิมพ์​

    ตอบในกระทู้โสธร 80 ดูโค๊ดที่มีตัวเลขคมชัดลึก​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  11. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    ขอบพระคุณทุกท่านครับที่ให้กำลังใจผมฝากกระทู้ลิ้งค์ข้างล่างอีกนะครับ
    ถ้าทุกท่านมีภาพขอบเหรียญพระดี ๆ ก็นำมาลงได้ครับ
    เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ที่ต้องการเรียนรู้ ผมมีรูปพอประมาณแต่ถ้าผมลง
    คนเดียวก็เกรงว่าจะไม่ดีครับ ให้ท่านอื่นลงด้วยดีกว่า

    http://palungjit.org/threads/ขอบเลี่อย-ขอบกระบอก-ขอบปั้มตัดทีเดียวยุคปัจจุบัน.298983/
     
  12. โอ๋สะพาน

    โอ๋สะพาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    2,494
    ค่าพลัง:
    +3,973
    ขอบคุณครับพี่สโตร์ และทุกท่าน
     
  13. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    ขอบเลี่อย-ขอบกระบอก-ขอบปั้มตัดทีเดียวยุคปัจจุบัน<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start --><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "ca-pub-2576485761337625";/* 336x280 */google_ad_slot = "0551074580";google_ad_width = 336;google_ad_height = 280;//--> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript> </SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/js/r20110720/r20110719/show_ads_impl.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><IFRAME id=google_ads_frame1 name=google_ads_frame1 marginWidth=0 marginHeight=0 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-2576485761337625&output=html&h=280&slotname=0551074580&w=336&lmt=1311946905&ea=0&flash=10.1.102.64&url=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff128%2F%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%81-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99-298983.html&dt=1311946905205&shv=r20110720&jsv=r20110719&saldr=1&correlator=1311946905252&frm=4&adk=3881674297&ga_vid=382675374.1298887253&ga_sid=1311946905&ga_hid=1502098886&ga_fc=1&ga_wpids=UA-7034934-1&u_tz=420&u_his=0&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=770&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&dff=verdana&dfs=16&biw=811&bih=596&ref=http%3A%2F%2Fpalungjit.org%2Ff128%2F%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%89-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0-298232-3.html&fu=0&ifi=1&dtd=110" frameBorder=0 width=336 scrolling=no height=280 allowTransparency></IFRAME>
    เห็นถามกันบ่อย ๆ ผมจึงตั้งกระทู้นี้และพยายามจะรวบรวม ทั้งจากความรู้ที่มีอยู่และจากเว็บต่าง ๆ
    ที่เขาได้นำเสนอไว้ เป็นประโยชน์แก่สาธารณะชน ไม่ได้คิดเงิน
    ต้องขออนุญาตไว้นะที่นี้ด้วย ถ้าประสงค์จะให้ลบ ก็เข้ามาแสดงความคิดเห็นเลยนะครับ กระทู้นี้นำเสมอเรื่อง
    รอยตัดขอบเหรียญที่มีประโยชน์เท่านั้น เพื่อน ๆ มีข้อมูลก็สามารถนำมาร่วมกันได้นะครับ เฉพาะเนื้อโลหะครับ

    ปั้มตัดขอบแบบเครื่องทันสมัยครับ คือคม ที่ลงให้อ่านผมยังไม่ได้ตรวจทานอีกทีครับ
    แต่ก็คงใกล้เคียง การที่จะเก่งได้ต้องรู้จักศึกษาและวิเคราะห์ อย่างเชื่อใครง่ายจะได้ไม่โดนหลอก


    ผู้ชำนาญการทางด้านเหรียญพระคณาจารย์ต่างๆ จึงได้จำแนก พระเครื่อง พระเหรียญจากการปั๊มตัดข้างเหรียญไว้เป็น 3 ยุค


    1. พระเครื่องเหรียญ ยุคประมาณ พ.ศ. 2440-พ.ศ. 2485
    2. พระเครื่องเหรียญ ยุคประมาณ พ.ศ. 2485-พ.ศ. 2500
    3. พระเครื่องเหรียญ ยุคประมาณ พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน


    เหรียญช่วงปี พ.ศ. 2440-2485 นิยมสร้าง พระเหรียญ ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม รูปไข่ รูปทรงอาร์ม และทรงเสมา รูปทรงเหรียญทั้งสี่แบบนี้สามารถแยกกรรมวิธีการสร้างได้เป็น 2 ชนิดคือ เหรียญปั๊มชนิดข้างเลื่อยและเหรียญปั๊มชนิดข้างกระบอก ซึ่งเหรียญที่มีกรรมวิธีการสร้างทั้ง 2 ชนิดนี้มีรายละเอียดดังนี้ เหรียญข้างเลื่อยก็คือการนำเหรียญที่ปั๊มเรียบร้อยแล้วมาตัดส่วนที่เกินออก ด้วยการใช้เลื่อยตัดออกทีละเหรียญ ส่วนเหรียญข้างกระบอกนั้น เขาจะทำบล็อกรูปทรงของเหรียญนั้นๆ แล้วตัดแผ่นโลหะที่จะทำเหรียญมาใส่ลงไปแล้วจึงทำการปั๊มขึ้นรูปเหรียญ จึงทำให้สะดวกไม่มีส่วนเกินที่ข้างเหรียญ เหรียญในยุคนี้เช่นเหรียญหลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง (ข้างเลื่อย) เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติฯ (ข้างกระบอก) เป็นต้น


    2. เหรียญปั๊มข้างตัด (ปั๊มตัดแบบยุคเก่า) การสร้างเหรียญชนิดนี้จะอยู่ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2485-2500 เนื่องจากการสร้างชนิดแบบเก่าที่มีการเข้ากระบอก และแบบเลื่อยขอบ มีความยุ่งยากและเสียเวลา อีกทั้งในช่วงนี้เริ่มมีวิวัฒนาการในการสร้างเหรียญปั๊มขึ้นมาตลอด เครื่องจักรก็เริ่มมีความทันสมัยขึ้น ทางโรงงานได้มีการทำตัวตัดขึ้นเพื่อความสะดวกในการตัดเหรียญให้ขาดโดยไม่ ต้องมาเลื่อยให้เสียเวลาอีก แต่การปั๊มเหรียญและตัดในยุคนี้นั้นจะแตกต่างกับเหรียญในปัจจุบันคือ ด้านข้างของเหรียญจะมนๆ ไม่ค่อยมีริ้วรอยมากนัก อีกทั้งเหรียญช่วง พ.ศ.นี้ ลักษณะของเหรียญด้านหน้าจะนูนเล็กน้อย แต่ด้านหลังจะเป็นแอ่งกระทะ ซึ่งเกิดจากการปั๊มและตัดเหรียญนั่นเอง ตัวอย่างของ พระเหรียญ ที่สร้างขึ้นในยุคนี้คือพระเหรียญเกจิ เหรียญหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง บล็อกยันต์วรรค ปี 2486 และเหรียญหลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน เป็นต้น



    3. เหรียญปั๊มตัดยุค พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาตัวตัดด้านข้างเหรียญที่ทันสมัย เพื่อความสะดวกในการตัดเหรียญในจำนวนมากๆ การพัฒนาตัวตัดยุคนี้จึงค่อนข้างคมชัด บางครั้งในเหรียญหลวงพ่อเดียวกันมีตัวตัด 2 ตัว เนื่องจากการสร้างเหรียญในแต่ละครั้งมีจำนวนมากขึ้น เช่น เหรียญหลวงปู่ทวด วัดช้างให้ รุ่นแรก ปี พ.ศ. 2500 ด้วยเหตุนี้ตัวตัดในยุคนี้จึงค่อนข้างคมเพื่อสะดวกในการตัดเหรียญจำนวนมากๆ
    และผมจะค่อย ๆ นำภาพตัวอย่างการตัดจากขอบเหรียญมาให้ชมครับ<!-- google_ad_section_end -->​


    <!-- google_ad_section_end -->


    เหรียญช่วงปี พ.ศ. 2440-2485 นิยมสร้าง พระเหรียญ ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม รูปไข่ รูปทรงอาร์ม และทรงเสมา รูปทรงเหรียญทั้งสี่แบบนี้สามารถแยกกรรมวิธีการสร้างได้เป็น 2 ชนิดคือ เหรียญปั๊มชนิดข้างเลื่อยและเหรียญปั๊มชนิดข้างกระบอก ซึ่งเหรียญที่มีกรรมวิธีการสร้างทั้ง 2 ชนิดนี้มีรายละเอียดดังนี้ เหรียญข้างเลื่อยก็คือการนำเหรียญที่ปั๊มเรียบร้อยแล้วมาตัดส่วนที่เกินออก ด้วยการใช้เลื่อยตัดออกทีละเหรียญ ส่วนเหรียญข้างกระบอกนั้น เขาจะทำบล็อกรูปทรงของเหรียญนั้นๆ แล้วตัดแผ่นโลหะที่จะทำเหรียญมาใส่ลงไปแล้วจึงทำการปั๊มขึ้นรูปเหรียญ จึงทำให้สะดวกไม่มีส่วนเกินที่ข้างเหรียญ เหรียญในยุคนี้เช่น
    เหรียญหลวงพ่อโสธร 2460
    การนำเสนอในครั้งนี้ไม่มีวัตถุประสงค์ชี้นำว่าเก๊หรือแท้..
    เป็นการชี้ให้ดูว่าควรสังเกตุ อะไรได้บ้าง เพื่อเป็นแนวทางการดูเหรียญโบราณ

    อย่างเหรียญอาร์มหลวงพ่อโสธร เราต้องทราบก่อนว่า เป็นเหรียญ ปั้ม
    แล้วนำเหรียญมาใช้เลื่อยตัดปีกเหรียญส่วนนอกพื้นที่เหรียญออกไป
    ดังตัวอย่างภาพภาพบนส่วนภาพล่างขอบเหรียญหลวงพ่อโสธร 2460 ครับ
    รอยเลื่อยขอบเหรียญ
    1)ระนาบตรง..
    2)แนวระนาบจะไม่ตั้งฉากกับหน้าหรือหลังเหรียญเพราะ เลื่อยด้วยมือมักจะเอียง...และจะเอียงด้านล่างเข้าด้านในเหรียญเป็นส่วนใหญ่
    3)เส้นรอยเลื่อยไม่ตั้งฉาก..อาจจะเอียง โย้ไปด้านหน้า หรือถอยหลัง แล้วแต่ ธรรมชาติของคนเลื่อย..
    4)ตามมุมเหรียญเช่นซอกหูเหรียญ ต้องมีรอยหยุดประคองเลื่อยเพื่อเปลี่ยนแนวเลื่อย..


    [​IMG]

    [​IMG]



    สำหรับท่านที่สนใจรอยเลื่อยจริงๆ..มีแนวทางศึกษาแบบนี้ครับ
    1)หาพลาสติกที่หนาพอควร มาวาดรูปอาร์มหลวงพ่อนี่ละครับมาตราส่วน หนึ่งต่อหนึ่ง..แล้วใช้เลื่อยฉลุเลื่อยดูเลยละครับ
    2)หาซื้อเหรียญขอบเลื่อยเก่าแท้ ที่ราคาเบาๆ มาเป็นตัวอย่าง..มาเป็นครู..ต้องเห็นของจริงครับ จึงจะใส..
    3)หมั่นขอดูเหรียญแท้ จากเซียนใหญ่ หรือจากเพื่อนๆที่มี..แต่คงยากดูภาพในเว็บที่ผมนำเสนอไปก่อน
    รูปขนาดเล็ก

    [​IMG] [​IMG]

    <TABLE class=tborder id=post4905546 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_4905546 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">
    เมื่อมีขอบเลื่อยจริง แล้วก็มีตัวอย่างที่เป็นขอบเลื่อยไม่จริงมานำเสนอให้เช่นกัน
    เพราะว่าเหรียญย่อมมีสองด้านเสมอ แล้วความรู้ก็ควรที่จะมีสองด้านเช่นกัน

    ดั่งเช่นเหรียญที่เขาทำปลอมกัน ขอบเหรียญตัดเป็นอย่างไร ตอบได้ว่าหน้าหลังตำหนิครบ
    แต่ด้านขอบรอยตัด เขาจะตัดด้วยเครื่องจึงมีความคม และอีกภาพเขาใช้ตะไบ
    และจะตะไบเหรียญทีละเหรียญ และผมได้นำความรู้จากเว็บอื่นมานำเสนอด้วย
    ภาพแรกที่ผมเคยเปรียบไว้

    [​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG]

    ขอบข้างเหรียญตะไบ...ในเมื่อเป็นเหรียญขอบเลื่อย ด้านข้างก็ต้องเป็นขอบเลื่อย..
    เหรียญนี้เป็นรอยตะใบ ดูจากการมุมตะไบที่ไม่สามารถทำให้เป็นระนาบเดียวได้ จะเห็นเป็นสันโค้ง สอง-สามจังหวะ..



    [​IMG]
    <!-- google_ad_section_end -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> 2. เหรียญปั๊มข้างตัด (ปั๊มตัดแบบยุคเก่า) การสร้างเหรียญชนิดนี้จะอยู่ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2485-2500 เนื่องจากการสร้างชนิดแบบเก่าที่มีการเข้ากระบอก และแบบเลื่อยขอบ มีความยุ่งยากและเสียเวลา อีกทั้งในช่วงนี้เริ่มมีวิวัฒนาการในการสร้างเหรียญปั๊มขึ้นมาตลอด เครื่องจักรก็เริ่มมีความทันสมัยขึ้น ทางโรงงานได้มีการทำตัวตัดขึ้นเพื่อความสะดวกในการตัดเหรียญให้ขาดโดยไม่ ต้องมาเลื่อยให้เสียเวลาอีก แต่การปั๊มเหรียญและตัดในยุคนี้นั้นจะแตกต่างกับเหรียญในปัจจุบันคือ ด้านข้างของเหรียญจะมนๆ ไม่ค่อยมีริ้วรอยมากนัก อีกทั้งเหรียญช่วง พ.ศ.นี้ ลักษณะของเหรียญด้านหน้าจะนูนเล็กน้อย แต่ด้านหลังจะเป็นแอ่งกระทะ ซึ่งเกิดจากการปั๊มและตัดเหรียญนั่นเอง ตัวอย่างของ พระเหรียญ ที่สร้างขึ้นในยุคนี้คือพระเหรียญเกจิ เหรียญหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง บล็อกยันต์วรรค ปี 2486 พ่อทอง วัดดอนสะท้อน เป็นต้น
    เหรียญตีปลอกหรือขอบกระบอก เป็นเทคนิคสมัยก่อน ตัดโลหะให้ใกล้เคียงกับบล๊อคแล้วปั๊ม ขอบจึงเรียบ บางเหรียญก็จะมีขอบคม ๆ ปลิ้นมาด้านหลัง เช่นเหรียญมงคลบพิตรปี ๒๔๖๐ เหรียญยอดนิยมอย่างเหรียญขอเบ็ด ก็มีตำหนิธรรมชาติจากการปั๊มตีปลอก คือผิวเหรียญยุบตรงไหนนูนตรงไหน หน้าหลังถ้าเข้าใจก็จะหลงทางยากครับ
    ผมขอยกตัวอย่างผมขอเป็นเหรียญหลวงพ่อแช่ม วัดท่าฉลองจากหนังสือ
    เหรียญยอดนิยม อมตะแดนสยาม
    และเหรียญหลวงพ่อคง วัดบางกระพ้อม
    ค่อย ๆ อ่านทำความเข้าใจ

    [​IMG]
    [​IMG]

    เหรียญหลวงพ่อคงว้ดบางกระพร้อมปี 2484
    ต้องขออนุญาติเจ้าของหนังสือคุณบอย ท่าพระจ้นทร์ ถ้าท่านมาพบเจอ
    ประสงค์ให้ลบก็บอกเลยครับ (ป้องกันไว้ก่อนเดี๋ยวถูกฟ้อง)
    ในภาพจะเห็นรอยตัดแบบขอบบังคับในภาพแรกและอาจมองเห็นอีกชั้นเพราะไม่มีการแต่ง
    และอีกเหรียญจะมองเห็นเป็นขอบคล้ายเลื่อย ซึ่งบางคนเข้าใจว่าเลื่อยออก และเข้าใจว่า
    เหรียญรุ่นนี้มีขอบ 2 ชนิด คือขอบกระบอกและขอบสตางค์
    ความจริงมีชนิดเดียว แต่ภาพที่สองบรรยายว่าคล้ายรอยเลื่อย
    ในมุนของผม.....ขอบสตางค์ที่เห็นเกิดจากบล็อกขอบกระบอกเป็นล่องไม่เรียบ
    จึงเกิดขอบสตางค์ขึ้นมาเหมือนเหรียญห้า เหรียญบาท ที่เราใช้อยู่เป็นประจำ
    ซึ่งบางเว็บก็ยกตัวอย่างบรรยายไว้ว่าเป็นขอบเลื่อย ซึ่งทำให้คนเข้าใจไขว้เขวได้
    แต่ถ้าจะให้แน่นอนขอบสตางค์ที่เกิดจากบล็อคต้องมีเหรียญที่สองซึ่งมีขอบสตางค์ตรงกัน
    แต่หาตัวอย่างยากเพราะเหรึยญขอบสตางค์ในของแท้หายากกว่า
    การจะรู้จริงในเรื่องพวกนี้เราต้องเข้าถึงขบวนการผลิต process แต่ผมก็ไม่ได้ไปถึงขนาดนั้น
    ก็ขอแนะน้อง ๆ ที่ต้องการความเข้าใจในเรื่องนี้ถ้ามีโอกาสก็ลองหาทางไปดูโรงงานที่เขาผลิต
    รูปขนาดเล็ก

    [​IMG] [​IMG]


    รูปขนาดเล็ก

    [​IMG] [​IMG]

    เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ พิมพ์ขอเบ็ด เนื้อทองแดง และเนื้อเงินปั้มข้างขอบกระบอก


    เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ เนื้อเงินหน้าทองคำ ปั้มข้างขอบเลี่อยทีละองค์

    เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ เนื้อทองแดง ด้านหน้าเป็นขึ้กลาก
    ใช้บล็อกหน้าของเก่ามาปั้มใหม่ ส่วนด้านหลังแกะบล็อคขึ้นมาใหม่
    เรียกว่าบล็อกหลังเรียบ เป็นเหรียญปั้มข้างขอบเลี่อยทุกเหรียญ


    เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ เนื้อทองแดงด้านหน้าเป็นขึ้กลาก
    ใช้บล็อกหน้าของเก่ามาปั้มใหม่ ส่วนด้านหลังแกะบล็อคขึ้นมาใหม่
    เรียกว่าบล็อกหลังเรียบ แยกออกได้อีกบล็อกเรียกว่า บล็อกหลังเสี้ยนตอง
    เป็นเหรียญปั้มข้างขอบตัดโบราณแบบเดียวกับเหรียญหลวงพ่อแช่ม


    ขออนุญาติรวมให้นะครับ ข้อความทั้งหมดมาจาก

    http://palungjit.org/threads/ขอบเลี่อย-ขอบกระบอก-ขอบปั้มตัดทีเดียวยุคปัจจุบัน.298983/

    ของคุณสโตว์นั้นละครับ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    [​IMG]


    เหรียญหลวงพ่อโอภาสี รุ่นแรก 2495 พิมพ์นิยม ป.ใหญ่

    1. เป็นเหรียญห่วงเชื่อมทุกเหรียญ ยกเว้นแจกกรรมการ จะใช้บล็อกพิมพ์เดียวกัน แต่จะมีห่วงในตัว
    2. เปลือกตาและลูกตาจะคมชัดมาก แม้ผ่านการใช้สึกมาแล้วก็ยังเห็นชัดเจน
    3. เห็นฟันหลวงพ่อเป็นซี่ ๆ คมชัดเจน
    4. ริ้วจีวรจะพริ้วเป็นธรรมชาติ คมชัดไม่แข็งกระด้าง ยกเว้นแจกกรรมการ จีวรจะเบลอ ๆ ไปบ้าง เพราะบล็อกชำรุด
    5. ปลายหาง ป. คำว่า ปะฐะวีคงคา จะบี้แบน (เป็นที่มาของชื่อพิมพ์นิยม ป.ใหญ่)
    6. ส่วนโค้ง ค. และหัว ง. จะมีลักษณะคล้ายบล็อกเขยื้อนหรือปั๊มซ้ำ ตัวหนังสือทุกตัวคมชัด
    7. ผิวเหรียญตึงตัวตามธรรมชาติและมีความเก่าของโลหะ กลางเหรียญใช้มือลูบจะนูน ๆ รู้สึกได้
    8. ข้างเหรียญไม่ผ่านการใช้จะคม ๆ และรอยตัดขอบเหรียญจะสม่ำเสมอ

    [​IMG][​IMG]
    เหรียญหลวงพ่อโอภาสีรุ่น 3 พิมพ์นิยม (บล็อกไม่มีลูกกรงราวบันได) พ.ศ. 2497

    1.เส้นแตกเรียวเล็กด้านบนของวงรัศมี
    2.เส้นแตกเล็ก ๆ สั้น ๆ ด้านในวงรัศมี
    3.ใบหน้า ดวงตา จมูก ปาก ฟันเป็นซี่ ๆ ติดคมชัด
    4.เส้นขีดยาวพาดจากขอบวงรัศมีทะลุผ่านจีวรจนถึงสระ "อา"
    5.ขีดเกินแหลม ๆ จากบริเวณหัว "ส." จนชนขอบซุ้ม
    6.ติ่งเนื้อเกินที่ขยักสระ "โอ"
    7.พื้นเหรียญดูมีอายุ เก่าตามธรรมชาติและมีเส้นเสี้ยนคม ๆ เห็นชัดหลายเส้น
    8.มีรัศมีถี่ ๆ รอบยอดฉัตรมากบ้างน้อยบ้างและมีเส้นตรงเล็ก ๆ พาดจากหูเหรียญหลายเส้นไปบรรจบจุดเดียวที่หัวราวบันไดฝั่งขวามือ
    9.ขีดเกินหนา ๆ ที่ยอดช่อฟ้าบนฝั่งขวามือ
    10.รอยบุ๋มหรือรอยฉีกเห็นได้ชัดเจน เป็นตำหนิเกิดในบล็อก ต้องมีทุกเหรียญ (จุดตายชี้ขาดเหรียญรุ่นนี้)
    11.มีรอยคล้ายเล็บจิกเล็ก ๆ เรียงกัน 4 รอย เห็นได้ชัดเจน
    12.บริเวณขยักเลข 9 มีเนื้อเกินเกิดจากบล็อกเขยื้อน​
     
  15. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
  16. ปูอัน

    ปูอัน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    304
    ค่าพลัง:
    +721
    ขอบคุณครับพี่สโตร์ การฝึกดูพระเครื่องเป็นการช่วยฝึกความจำ และฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตุอีกทางหนึ่งนะครับ และขอขอบคุณพี่ๆทุกๆคนที่นำความรู้มาเผยแพร่ด้วยครับ
     
  17. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    เอากลับมาอีกทีเผื่อเอาไว้อ้างอิงได้
     
  18. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    หลวงพ่อเงิน บางคลานปี 15 พิมพ์คอแอล ครับ
    การแสดงความคิดเห็นนั้น เป็นเพียงแนวทางในการพิจารณาความแท้ หรือไม่แท้ ของพระเครื่องต่างๆเท่านั้น..บางครั้งการที่เราจะเชื่อข้อมูลในการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก ที่ร่วมแสดงความคิดเห็นมา ก็เป็นเรื่องธรรมดา ในทัศนะของสมาชิกแต่ละท่าน...ท่านไหนจะมีข้อมูลที่ละเอียด เด่นชัดเพียงใด แล้วที่มาของข้อมูล และ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด..ส่วนตัวผมขออนุญาตออกตัวเลยว่า ผมไม่ใช่เซียน เป็นแค่นักสะสมมือใหม่เท่านั้นเอง...
    ***** ตามข้อมูลที่ผมพอจะมีอยู่ว่า...พิธีมหาพุทธาภิเษก พระหลวงพ่อเงิน ปี 15 บันทึกไว้ว่า การลงอักระแผ่นโลหะที่นำมาเป็นชนวนเนื้อพระ ได้มาจากพระคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงจากทั่วประเทศ จำนวน 74 รูป นำไปหลอมและปั๊มเป็นรูปเหมือน และเหรียญ แล้วนำไปเข้าพิธีปลุกเสก ณ วัดสุทัศน์ในวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยนิมนต์พระคณาจารย์จากทั่วประเทศรวม 127รูป จากนั้นได้นำไปเข้าพิธีปลุกเสกอีกครั้ง ณ วัดหิรัญญาราม เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยมีพระคณาจารย์ร่วมพิธี 96 รูป
    ***** ลักษณะรูปเหมือนปั๊ม หลวงพ่อเงิน บางคลาน ปี 15 เป็นรูปเหมือนปั๊มแบบปั๊มเครื่อง ด้านในองค์ บรรจุเม็ดกริ่ง ฐานกว้างประมาณ 1.8 ซม. สูงประสาณ 2.5 ซม. มีด้วยกัน 2 เนื้อ คือ เนื้อทองเหลือง
    และเนื้ออัลปาก้า
    ***** ด้านหน้า เป็นรูปหลวงพ่อเงิน นั่งสมาธิบนฐานเขียงเตี้ยๆ คล้ายกับรูปหล่อหลวงพ่อเงินของเก่า แต่เนื่องจากเป็นพระ"ปั๊ม" จึงปรากฏรายละเอียดต่างๆ คมชัด มีเส้นจีวรที่หน้าอก 3 เส้น และเส้นชายจีวรที่ซอกแขนซ้ายรวม 7 เส้น
    ***** ใต้ฐาน จะทำการตอกโค๊ต "๑๔/๑๕ แต่เนื่องจาก...ทำการตอกโค๊ดไปเรื่อยๆ ทำให้โค๊ตเกิดความเสียหาย ฉะนั้น รูปเหมือนปั๊มรุ่นนี้ ในบางองค์จะมีโค๊ด<O:p</O:p
    บางองค์ไม่มีโค๊ดตอกไว้ เพราะโค๊ดพังแล้ว นั่นเอง
    ***** จุดพิจารณา รูปเหมือนปั๊ม หลวงพ่อเงิน ปี 15 พิมพ์คอแอล *****
    1. ในระหว่างแก้มขวาองค์พระ และใบหูขวา จะปรากฏเม็ดกลมเล็กๆ ลักษณะเหมือน "เม็ดสิว"
    2. ลำคอด้านขวาองค์พระ แตกเป็นเส้นตรง ตั้งฉาก เหมือน "ตัวแอล" เป็นเอกลักษณ์ของพิมพ์
    3. ลายเส้นจีวรเส้นกลาง จะแตกออกเป็น 2 แฉก
    4. มี "ติ่ง" แหลม วิ่งขึ้นจากแข้งขวา ตรงแนวเส้นสบง
    5. มีร่องแตกเป็น 2 แฉก บริเวณโหนกแก้มซ้ายองค์พระ ใกล้จมูก
    6. มี " เส้นแตก" ตัดเป็นรูปกากบาท ในร่องหูซ้ายองค์พระ
    7. ในซอกแขนซ้ายองค์พระมี "เส้นนูน" พาดเฉียงขวางอยู่
    ///// ข้อมูลจากหนังสือพระเครื่องคเณศพร ฉบับรวมเล่ม..ฉบับที่ 147 ประจำเดือนกันยายน พ.ศ.2544 หน้าที่47 ครับ/////
    จากคนที่จริงใจ
    ***ขออนุญาตเจ้าของพระ ด้วยนะครับ เพื่อเป็นวิทยาทานนะครับ...ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ***
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
     
  19. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    งง.กับหน้ากระทู้ ตั้งกระทู้ใหม่เถอะครับ น่าจะเป็นผมที่ทำกระทู้เขาพังซะละมั้ง
     
  20. bandidsqn401

    bandidsqn401 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    767
    ค่าพลัง:
    +566
    ช่วยดันกระทู้นี้ครับพี่ stoes พระเหรียญผิวมะขามเปียกหลวงปู่ทิมสวยครับ หลวงพ่อแดงรมดำเดิมสวยดูง่าย พระปั้มหลวงพ่อเงินขออนุญาตเสริมนิสนึงนะครับ เป็นความเห็นส่วนตัวครับ ดูการตัดปั๊มด้านข้างและรอยกระแทกปั๊มหลังเศียรพระ และฐานเพิ่มเติม หลวงพ่อแดงหากมีหนังสือพระสมัยประมาณ 15 ปีมาแล้วจะเห็นว่ามีหลายผิวมากและหูเหรียญมองจากด้านหน้ามีหลายลักษณะ แต่โดยทั่วไปผิวเหรียญต้องเรียบตึง พระเหรียญได้ความรู้จากพี่ ๆ เวปนี้และครับว่าผิวเหรียญและลักษณะตัดปั๊มจะบอกได้อย่างรวดเร็วว่าใช่หรือไม่ อยากให้พี่เพิ่มความรู้ตรงนี้เข้าไปด้วยครับ อนุโมทนาครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...