เกราะสนามแม่เหล็กโลกกำลังอ่อนกำลังลง? The reverse of the Magnetic Poles. "Pole Shift" "YELLOWSTONE"

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย k.kwan, 18 มกราคม 2011.

  1. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
  2. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    โพสท์โดยคุณ b0abb0bi<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_4560939", true); </SCRIPT>
    ผมคิดว่าสมาชิกในก๊วน คงจะเคยเห็นรูปภาพในตำนานที่เว็บไซต์ 2012 หลายๆเว็บนำมาให้ดู ตั้งแต่สมัยที่มีเรื่องเล่าว่าอยู่แถวๆ Orion Belt
    และพวกเราก็รอคอยว่าเมื่อไหร่จะได้เห็นจริงๆสักที
    และก็สงสัยว่ามันจะมีจริงๆหรือไม่?
    [​IMG]
    [​IMG][​IMG]

    [​IMG][​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    และแล้วลุงโลธ่าร์ ก็ทำให้ฝันนั้นเป็นจริง ได้เห็นใกล้ๆแล้ว Bravo!
    Mr. x please comment.
    [​IMG]
    Comment by Mister x 33 minutes ago


    <DL id=c_6bb class="comment vcard xg_lightborder" _id="3863141:Comment:427487"><DD>WOW !!! ...
    Greetingsx
    </DD></DL>Comment by Lavonne Luscombe 25 minutes ago
    Mister x - could you explain what you are seeing in Lothar's photo below just a bit? would greatly appreciate your take on this image. it looks amazing and I do follow both of your informations/writings so any little defining comments help. Thank you in advance!
    Comment by Mister x 20 minutes ago
    It' the image of PX that me and Lothar where waiting for...

    *** Comment by Mister x 15 minutes ago
    [​IMG]

    อ้างอิง : PX VISIBLE NOW on both STEREO C2 & C3 !.. - Earth Changes and the Pole Shift<!-- google_ad_section_end -->

    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]
    </FIELDSET>
    สถานีถ่ายทอดสัญญาณ เซต้าส์<!-- google_ad_section_end -->
     
  3. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
  4. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:40:37 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.098 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.527 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>25.1 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:39:28 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.094 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.515 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>33.6 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.5 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:34:30 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.102 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.514 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>17.7 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.5 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:23:30 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.015 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.458 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>22.5 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:22:40 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.098 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.501 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>25.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:11:46 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.097 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.503 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>30.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:07:33 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.106 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.515 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>16.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:02:08 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.056 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.517 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>26.7 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 06:00:10 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.123 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.513 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>25.1 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 05:49:58 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.118 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.511 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>15.5 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 05:31:16 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>17.771 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.107 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>45.7 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 05:11:03 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.147 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.487 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>13.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 04:41:55 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>60.089 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-152.759 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>98.5 </TD><TD vAlign=top>SOUTHERN ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.2 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 04:34:42 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-7.070 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>106.059 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>42.7 </TD><TD vAlign=top>JAVA, INDONESIA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 04:25:29 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>38.884 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>142.386 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>46.8 </TD><TD vAlign=top>NEAR THE EAST COAST OF HONSHU, JAPAN</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>5.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 04:10:08 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-17.633 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-178.524 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>565.5 </TD><TD vAlign=top>FIJI REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 04:03:47 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.144 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.502 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.9 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.9 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:42:05 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.155 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.490 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>21.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:40:30 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>32.062 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-115.209 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>12.2 </TD><TD vAlign=top>BAJA CALIFORNIA, MEXICO</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:37:34 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>18.993 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.495 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>11.2 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:36:47 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.120 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.489 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>23.7 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:31:08 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.128 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.504 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>20.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 03:08:39 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.128 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.503 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>25.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:35:25 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.053 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.487 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>15.4 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.3 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:32:00 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>18.873 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-64.189 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>61.7 </TD><TD vAlign=top>VIRGIN ISLANDS REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.6 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:29:12 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>39.759 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>141.939 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>43.3 </TD><TD vAlign=top>EASTERN HONSHU, JAPAN</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:20:46 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.143 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.483 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>16.5 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:18:24 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.112 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.491 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>14.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:09:42 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.115 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.498 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>25.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.8 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:04:30 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.090 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.501 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>11.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:03:12 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.085 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.508 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>11.1 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.0 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 01:01:35 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.123 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.523 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>14.9 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 00:44:07 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.055 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.514 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>6.4 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.7 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 00:34:47 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.103 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.492 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>14.1 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>3.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 00:28:39 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.115 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.509 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>14.0 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>4.1 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 00:26:43 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>62.473 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-148.224 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>35.2 </TD><TD vAlign=top>CENTRAL ALASKA</TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle>MAP</TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2.9 </TD><TD vAlign=top noWrap align=middle>2011/04/05 00:14:36 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>19.008 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>-66.486 </TD><TD vAlign=top noWrap align=right>5.9 </TD><TD vAlign=top>PUERTO RICO REGION</TD></TR></TBODY></TABLE>
    0-degree Map Centered at 20°N,65°W

    Skip to earthquake lists [​IMG] [​IMG]<!-- google_ad_section_end -->

    โดยคุณ Falkman ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)5-9/4/11 warning!!!<!-- google_ad_section_end -->
     
  5. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    http://palungjit.org/threads/ดาวหางอีลินิน-elenin-comet-จะมาถึงเดือนสิงหาคม-11-นี้.281795/page-5
     
  6. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    "Second Sun" Still Visible via NASA Stereo Images - March 16, 2011

    <EMBED height=390 type=application/x-shockwave-flash width=640 src=http://www.youtube.com/v/XWw6mfMWWWs?version=3 allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always">

    Moon Orbit Wrong
    <EMBED height=390 type=application/x-shockwave-flash width=640 src=http://www.youtube.com/v/w4FlElhom7w?version=3 allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always">

    Something Is Wrong with the Moon
    <EMBED height=390 type=application/x-shockwave-flash width=640 src=http://www.youtube.com/v/nhTpJt5mVxI?version=3 allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always">

    The Moon Isn't Right
    <EMBED height=390 type=application/x-shockwave-flash width=640 src=http://www.youtube.com/v/aHmT2fEgxhM?version=3 allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always">

    เครดิตคุณ zz ดาวหางอีลินิน Elenin comet - จะมาถึงเดือนสิงหาคม 11 นี้<!-- google_ad_section_end -->
     
  7. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เมษายน 2, 2011

    [​IMG]

    ภาพแสงเหนือ ถ่ายโดย Warren Gammel จากอลาสกา
    การเกิดแสงเหนือ โดยปกติจะไม่พลาดไปจากระบบการแจ้งเตือนให้เฝ้าสังเกตุสิ่งสวยงามแปลกตานี้ โดยอุตุนิยมของประเทศแถบซีกโลกเหนือในละติจูดสูงๆ มักจะตรวจพบการเข้ารบกวนสนามแม่เหล็กโลกของพายุสุริยะ จึงสามารถพยากรณ์การเกิดแสงเหนือได้ค่อนข้างแม่นยำ

    แต่ปราศจากการแจ้งเตือนใดๆ เมื่อ 1 เมษายน Warren Gammel นักล่าแสงเหนือจากเมือง Fairbanks รัฐ อลาสกา ออกไปเดินสำรวจท้องฟ้ายามค่ำคืนตอนตีสองพร้อมกล้องคู่ใจ Canon T1i ทันใดนั้น ท้องฟ้าก็สว่างไปด้วแถบแสงเหนือเคลื่อนไหววูบวาบ เขาจึงรีบกดชัตเตอร์ได้รูปสวยงามแปลกตานี้มาแบ่งกันชม

    ภาพถ่ายแสงเหนือที่เกิดโดยไม่มีการเตือนล่วงหน้า
     
  8. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    มษายน 4, 2011

    ค่า Mw Mb Ms ML ในรายงานแผ่นดินไหว คืออะไร
    Filed under: ภัยพิบัติ — ป้ายกำกับ:มาตรวัด, ริกเตอร์, แผ่นดินไหว, mb, MD, ML, Ms, Mw — Mr.Vop @ 01:44
    ML (Local Magnitude) แสดงขนาดแผ่นดินไหวท้องถิ่นหรือแผ่นดินไหวใกล้ (ระยะทาง<1,000 km)
    mb (Body wave Magnitude) แสดงขนาดแผ่นดินไหวใกล้และไกล ข้อจำกัดก็คือรายงานสูงสุดได้เพียงระดับที่ 6.5-6.8
    MD (Duration Magnitude) แสดงขนาดแผ่นดินไหวที่วัดจาก seismogram เป็นแผ่นดินไหวใกล้
    Ms (Surface Magnitude) แสดงขนาดแผ่นดินไหวไกล (ระยะทาง>1,000 km) และมีขนาดใหญ่ มีข้อจำกัดอยู่ที่ระดับ 8.0
    Mw ; ขนาดโมเมนต์ (Moment Magnitude) เป็นปริมาณที่แสดงถึงพลังงานของคลื่นแผ่นดินไหวได้ดีกว่าชนิดอื่น เป็นที่ยอมรับและแพร่หลายในปัจจุบัน ในการคำนวณจะต้องทราบ seismic moment (Mo) ความยาวของรอยเลื่อน (fault length) ความลึก (depth) และระยะการเลื่อน (slip distance) ดังนั้นการหาขนาดโดยวิธีนี้จึงต้องใช้เวลา

    โดยทฤษฎีแล้ว มาตรแผ่นดินทุกมาตร จะมีค่าเท่ากันเสมอไม่ว่าจะวัดจากที่ใดในโลก แต่ที่ไม่เท่ากันเพราะการสูญเสียพลัง ในระหว่างการเดินทางมายังสถานีวัด ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวกลางที่คลื่นเดินทางมา

    MS และ mb ถูกกำหนดเอาไว้ให้เป็นระดับรายงานขั้นพื้นฐานที่ต้องใช้รายงานทั่วโลก เพราะแผ้นดินไหวโดยทั่วไปจะอยู่ที่ระดับ 3-5 ขนาดแผ่นดินไหว MS และ mb จะคงที่เมื่อถึงค่าหนึ่ง (magnitude saturation) เช่น mb ไม่สามารถคำนวณขนาดของแผ่นดินไหวที่ได้เกินกว่า 6.8 และ Ms ไม่สามารถคำนวณขนาดของแผ่นดินไหวที่ได้ค่าเกินกว่า 8.0 ( Geller,1976 ) แต่เป็นไปได้ที่จะอ่านค่า mb และ Ms เกินกว่าค่าคงที่ดังกล่าวแต่เป็นขนาดที่ไม่แม่นยำ ดังนั้น Mw จึงเป็นขนาดที่ใช้คำนวณแผ่นดินไหวระยะไกลและมีขนาดใหญ่ได้แม่นยำที่สุด

    ภาคคำนวน http://www.hdrtnsrs.com/magnitude.htm

    2011 เมษายน
     
  9. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ความเห็นแย้งเรื่อง Arctic Oscillation กับอากาศหนาววิปริตปลายมีนา 54 ในไทย
    Filed under: ภัยพิบัติ — ป้ายกำกับ:ความเห็นแย้งเรื่อง Arctic Oscillation กับอากาศหนาววิปริตปลายมีนา 54 ในไทย — Mr.Vop @ 10:13

    ค่า AO Indexของ NOAA วัดจาก 16 ธ.ค. 54 ถึงวานนี้ 1 เม.ย. 54

    [​IMG]

    จากการที่ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านออกมาให้ความเห็นเรื่องสาเหตุของอาการหนาววิปริตที่เกิดขึ้นในวันที่ 27-31มี.ค.นั้น โดยอ้างถึงสาเหตุ จากการผันแปรของกระแสลมอาร์คติกหรือ AO (กระแสลมอาร์คติก เปรียบเหมือนกรงขัง ซึ่งจะพัดหมุนวนรอบขั้วเหนือของโลกที่บริเวณเส้นละติจูดที่ 20 องศาเหนือ ที่จะกั้นไม่ให้ความหนาวเย็นของขั้วโลกแผ่ลงมามากเกินไป แต่บางครั้งอาจจะมีความความผันแปรเกิดขึ้น เช่น หากกระลมนี้มีความเข้มข้นสูง ก็จะปิดกั้นความเย็น ไม่ให้รั่วไหลลงมาถึงละติจูดต่ำ ทำให้ปีนั้น ประเทศในบริเวณซีกโลกเหนือจะมีอากาศร้อนผิดปกติ มีพายุ และ ฝนตกหนัก หากกระแสลมนี้ มีความเข้มข้นต่ำความเย็นจากขั้วโลกก็จะรั่วไหล ลงมาด้านล่างมาก ทำให้ในปีนั้นประเทศต่างๆในซีกโลกเหนือเกิดความหนาวเย็นผิดปกติ)

    การติดตามความผิดแปรของกระแสลมอาร์คติกสามารถทำได้ ด้วยการบันทึกค่าเป็น Ao indexหากค่า Ao index มีค่าเป็นบวกแสดงว่า กระแสลมอาร์คติก กำลังพัดแรง ในทางตรงกันข้ามหามีค่าเป็นลบ ก็แสดงว่า กระแสลมอาร์คติกอ่อนกำลังกว่าปกติ

    จากการสังเกตุค่า Ao index โดยใช้ตัวเลขจาก NOAA พบว่า ค่า Ao index มีค่าเป็นบวกตั้งแต่ต้นเดือน ก.พ. 54 จนกระทั่ง ปลายเดือน มี.ค. 54 ซึ่งขัดแย้งกับทฤษฏีความผันแปรของกระแสลมอาร์คติกเพราะในขณะที่เกิด ความกดอากาศสูง ในประเทศจีน แผ่ลงปกคลุมไทย จนเกิดหน้าหนาววิปริตช่วง 27-31 มี.ค. ที่ผ่านมา ค่า Ao index ของ NOAA กับแสดงอยู่ในด้านบวก พิสูจน์ให้เห็นว่าสาเหตุ ของการหนาววิปริต น่าจะมาจากเหตุอื่น มิใช่ความผันแปรของกระแสลมอาร์คติกตามที่กล่าวอ้างกัน
    2011 เมษายน
     
  10. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เมษายน 1, 2011

    ปรากฏการณ์เกาะร้อน (Urban Heat Island Effect)
    Mr.Vop @ 01:42
    ปรากฏการณ์เกาะร้อน Urban Heat Island Effect (UHI)

    [​IMG]

    ในเมืองใหญ่มักขาดต้นไม้ ขาดร่มเงา เต็มไปด้วยกระจกและอาคารบ้านเรือนที่สะท้อนแสงอาทิตย์ในยามกลางวัน จนทวีความร้อนขึ้นเป็น โดม หรือ เกาะ ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณโดยรอบ จึงเรียกว่า เกาะร้อน หรือ Heat Island

    ต้นไม้ขนาดใหญ่ มีพลังในการดูดซับความร้อนจากแสงอาทิตย์เป็นอย่างดี สังเกตุจากเวลาเราเข้าไปในร่มไทรหรือโพธิ์ต้นใหญ่ จะรู้สึกเย็นขึ้นมาเพราะอุณภูมิใต้ร่มไม้ใหญ่ในตอนกลางวันนั้นต่ำกว่าบริเวณที่โดนแสงแดดโดยตรง 2-3 องศาโดยประมาณ

    การที่เมืองใหญ่ๆขาดตันไม้ จึงเกิดการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นความร้อน แสงแดดจะกระทบกับพื้นดินและสิ่งก่อสร้างโดยตรง กลายเป็นความร้อนในวัตถุ และถ่ายเทออกสู่อากาศ รอบๆอีกที เมื่อรวมตัวกันปริมาณมาก จะกลายเป็นโดมความร้อนสูงครอบเมืองไว้



    อิทธิพลความร้อนของเกาะร้อน ยังสามารถแผ่ออกในทิศทางตามลมได้ไกลถึงสามสิบกิโลเมตร โดยอากาศในโดมของเกาะร้อน จะสูงกว่าในบริเวณอื่น 3-6 องศา

    ปรากฏการณ์การณ์เกาะร้อน เป็นปัญหาใหญ่และใกล้ตัว ที่คนมักจะมองข้ามและมักสับสนกับภาวะโลกร้อน ทั้งที่เป็นคนละกรณี การเกิดปรากฎการณ์เกาะร้อนนั้น โดยเฉพาะกรุงเทพซี่งเป็นเมืองที่มีปัญหาเกาะร้อนสูงเมืองหนึ่ง มีการแก้ปัญหาในปลายทางโดยการใช้เครื่องปรับอากาศ โดยมีการสำรวจพบว่า กว่า 50% ขอวพลังงานไฟฟ้าที่คนกรุงเทพใช้ไปนั้น ใช้เพื่อจ่ายไฟให้เครื่องปรับอากาศทั้งนั้น และการผลิตพลังงานไฟฟ้าขนาดนี้มาป้อนกรุงเทพ จะทำให้เกิดการปลดปล่อยกาซ Co2 หลายล้านตันต่อปี

    การแก้ปัญหาเริ่มต้นที่ต้นไม้ขนาดใหญ่ที่มีร่มเงา สามารถฟอกอากาศ ดูดซับแสงอาทิตย์ ลดความร้อนในเมืองได้อย่างมีประสทิธิผลสูง การเปลี่ยนกระจกประดับอาคาร การเลือกใช้วัสดุ การจัดผังเมืองให้มีการถ่ายเทอากาศ เป็นหนทางที่ช่วยลดปรากฎการณ์นี้ได้ทั้งสิ้น
    2011 เมษายน
     
  11. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    เมษายน 5, 2011

    20 อันดับ ภัยธรรมชาติที่คร่าชีวิตมนุษย์มากที่สุดในประวัติศาสตร์
    Filed under: ภัยพิบัติ, สถิติโลก — ป้ายกำกับ:20 อันดับ, ที่สุดในโลก, ประวัติศาสตร์, ภัยธรรมชาติ, ภัยพิบัติ — Mr.Vop @ 13:19
    อันดับที่ 1 ปีที่เกิด : 1931 สถานที่ : แม่น้ำแยงซี, แม่น้ำฮวงโห ประเภทภัยธรรมชาติ : น้ำท่วม จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 2,000,000-4,000,000

    อันดับที่ 2 ปีที่เกิด : 1887 สถานที่ : แม่น้ำฮวงโห ประเภทภัยธรรมชาติ : น้ำท่วม จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 900,000-2,000,000

    อันดับที่ 3 ปีที่เกิด : 1201 สถานที่ : ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 1,100,000

    อันดับที่ 4 ปีที่เกิด : 1970 สถานที่ : ปากแม่น้ำคงคา ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไซโคลน จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 500,000- 1,000,000

    อันดับที่ 5 ปีที่เกิด : 1556 สถานที่ : มณฑลซานซี สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 830,000

    อันดับที่ 6 ปีที่เกิด : 1976 สถานที่ : เมืองถังซาน มณฑลเหอเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 242,000-655,000

    อันดับที่ 7 ปีที่เกิด : 1839 สถานที่ : เขตโคธาวารีตะวันออก รัฐอันตรประเทศ อินเดีย ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไซโคลน จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 300,000

    อันดับที่ 8 ปีที่เกิด : 1881 สถานที่ : เมืองไฮฟอง เวียดนาม ประเภท ภัยธรรมชาติ : พายุไต้ฝุ่น จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 300,000

    อันดับที่ 9 ปีที่เกิด : 1642 สถานที่ : เมืองไคเฟิง มณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : น้ำท่วม จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 300,000

    อันดับที่ 10 ปีที่เกิด : 2004 สถานที่ : มหาสมุทรอินเดีย ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว, คลื่นสึนามิ จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 225,000-275,000

    อันดับที่ 11 ปีที่เกิด : 526 สถานที่ : เมืองโบราณแอนติโอก ตุรกี ประเภท ภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 250,000

    อันดับที่ 12 ปีที่เกิด : 1975 สถานที่ : เขื่อนปันเฉียว เมืองจูหม่าเตี้ยน มณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไต้ฝุ่น (นีน่า), น้ำท่วม จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 242,000

    อันดับที่ 13 ปีที่เกิด : 1920 สถานที่ : เขตการปกครองตนเองหนิงเซียหุย สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 200,000-240,000

    อันดับที่ 14 ปีที่เกิด : 1138 สถานที่ : เมืองอเลปโป ซีเรีย ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 230,000

    อันดับที่ 15 ปีที่เกิด : 1927 สถานที่ : เมืองซีหนิง มณฑลชิงไห่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 200,000

    อันดับที่ 16 ปีที่เกิด : 1856 สถานที่ : เมืองดามกาน อิหร่าน ประเภท ภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 200,000

    อันดับที่ 17 ปีที่เกิด : 1876 สถานที่ : อ่าวเบงกอล ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไซโคลน จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 200,000

    อันดับที่ 18 ปีที่เกิด : 1893 สถานที่ : เมืองอาร์ดาบิล อิหร่าน ประเภทภัยธรรมชาติ : แผ่นดินไหว จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 150,000

    อันดับที่ 19 ปีที่เกิด : 2008 สถานที่ : พม่า ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไซโคลน (นาร์กีส) จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 146,000

    อันดับที่ 20 ปีที่เกิด : 1991 สถานที่ : บังกลาเทศ ประเภทภัยธรรมชาติ : พายุไซโคลน จำนวนผู้เสียชีวิตโดยประมาณ : 138,000



    **ยอดรวมแยกตามประเทศ

    จีน-น้ำ 4,000,000+2,000,000+300,000 = 6,300,000

    จีน-ดิน 830,000+655,000+240,000+200,000 = 1,925,000

    จีน-ลม 242000

    รวมจีน = 8,467,000

    เมดิเตอร์เรเนียน- ดิน 1,100,000

    อินเดีย-ลม 1,000,000+300,000+200,000 = 1,500,000

    เวียดนาม-ลม 300,000

    สึนามิปี 47 275,000

    ตุรกี-ดิน 250,000

    ซีเรีย-ดิน 230,000

    อิหร่าน-ดิน 200,000+150,000 = 350,000

    พม่า-ลม 146,000

    บังคลาเทศ-ลม 138,000



    **แยกตามภัย

    น้ำ 6,300,000 (จีนที่เดียว)

    ดิน 3,855,000

    ลม 2,326,000

    สึนามิ 275,000

    2011 เมษายน
     
  12. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    มีนาคม 24, 2011

    ภาพเคลื่อนไหวของแสงเหนือ
    Mr.Vop @ 02:13

    <object style="height: 390px; width: 640px"><param name="movie" value="http://www.youtube.com/v/HYPARXwVVaM?version=3"><param name="allowFullScreen" value="true"><param name="allowScriptAccess" value="always"><embed src="http://www.youtube.com/v/HYPARXwVVaM?version=3" type="application/x-shockwave-flash" allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always" width="640" height="390"></object>

    เอามาให้ดูกัน เผื่อนึกไม่ออกว่าแสงเหนือที่เห็นเป็นภาพนิ่งกันอยู่เสมอนั้น จริงๆมันขยับไปมาเหมือนม่านผืนใหญ่ ภาพนี้ถ่ายจากอลาสกาเมื่อปีที่แล้ว (2010) ไม่เกี่ยวกับ CME ของดวงอาทติย์ที่เกิดขึ้นเมื่อวานซืนนี้

    ภาพเคลื่อนไหวของแสงเหนือ
     
  13. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    Northern Lights - The Sky At Night - BBC Four
    <object style="height: 390px; width: 640px"><param name="movie" value="http://www.youtube.com/v/Z7kqueltv00?version=3"><param name="allowFullScreen" value="true"><param name="allowScriptAccess" value="always"><embed src="http://www.youtube.com/v/Z7kqueltv00?version=3" type="application/x-shockwave-flash" allowfullscreen="true" allowScriptAccess="always" width="640" height="390"></object>

    จาก: BBC | สร้างเมื่อ: 24 ก.พ. 2009
    Dr Chris Lintott travels to a radar facility in northern Norway to discover how the magical Aurora Borealis are created.
     
  14. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    DOUBLE ASTEROID FLYBY: It's notable when an asteroid flies past Earth closer than the Moon. Today, April 6th, two asteroids will do this. Newly-discovered space rocks 2011 GW9 and 2011 GP28 will zip through the Earth-Moon system at Earth-distances of 77,000 km and 192,000 km, respectively. Both are ten-meter class asteroids two to three times smaller than the Tunguska impactor of 1908. There is no danger of a collision.

    มีอุกาบาตสองอันวิ่งผ่านโลก ระยะใกล้กว่าระยะระหว่างโลกกับดวงจันทร์ วันนี้ 6 เมษายน มีอุกาบาตสองอันวิ่งผ่าน พึ่งจะเจอไอ้เจ้าสองอันเนี่ยะ ผ่านระหว่างโลกและดวงจันทร์ ระยะห่างระหว่าโลก 77,000 กม. กับ ระยะ 192,000 กม. ตามลำดับ สองอันเป็นอุกาบาตระดับ สิบเมตร สองสามเท่าเล็กว่า Tunguska impactor ในปี 1908 ไม่มีอันตรายใดๆ และไม่ชนโลก:cool:<!-- google_ad_section_end -->

    UNSTABLE FILAMENT: An active filament of solar magnetism is snaking around the sun's southeastern limb today. Measuring more than 200,000 km along its sinuous backbone, the vast structure is in a constant state of motion. NASA's Solar Dynamics Observatory froze it in this snapshot taken 20:16 UT on April 5th:



    [​IMG]
    Filaments as agitated as this one is often erupt and hurl parts of themselves into space. Because of the filament's location on the sun's limb, any such blast would not be Earth-directed, but it would be photogenic! Readers with solar telescopes are encouraged to monitor the action.<!-- google_ad_section_end -->

    [​IMG]

    [​IMG]

    เครดิต คุณ Falkman http://palungjit.org/threads/เหตุกา...าติ-เดือนเมษาน่าจับตาเป็นพิเศษ.275082/page-21
     
  15. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    แผ่นเปลือกโลก ลอย-จม ย่านเอเชียแปซิฟิค

    ตามไปอ่านได้ที่ ลิ้งนี้ สรุปข้อมูลจาก Zeta http://ainews1.com/article567.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 เมษายน 2011
  16. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
  17. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE height=36 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="80%"><BIG><BIG>ข้อสังเกต ว่าแผ่นดินไหวมากขึ้น ....หรือไม่..... </BIG></BIG></TD><TD vAlign=top noWrap align=right width="20%"> <!--InformVote=0-->
    <SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[0], 0);</SCRIPT> </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <!--VoteBody--><!--MsgIDBody=0-->จาก

    Are Earthquakes Really on the Increase?

    Are Earthquakes Really on the Increase?

    We continue to be asked by many people throughout the world if earthquakes are on the increase. Although it may seem that we are having more earthquakes, earthquakes of magnitude 7.0 or greater have remained fairly constant.

    เรายังคงถูกถามโดยคนจำนวนมากทั่วโลกหากเกิดแผ่นดินไหวมีเพิ่มมากขึ้น แม้ว่ามันอาจดูเหมือนว่าเราจะมีการเกิดแผ่นดินไหวมากขึ้นของการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 หรือสูงกว่ายังคงมีความคงที่เป็นธรรม

    A partial explanation may lie in the fact that in the last twenty years, we have definitely had an increase in the number of earthquakes we have been able to locate each year. This is because of the tremendous increase in the number of seismograph stations in the world and the many improvements in global communications. In 1931, there were about 350 stations operating in the world; today, there are more than 8,000 stations

    คำอธิบายบางส่วนอาจอยู่ในความเป็นจริงว่าในช่วงยี่สิบปีเราได้แน่นอนมีการเพิ่มจำนวนของการเกิดแผ่นดินไหวที่เราได้รับสามารถหาตำแหน่งของแต่ละปี นี้เนื่องจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากในจำนวนของสถานีวัดแผ่นดินไหวในโลกนี้และปรับปรุงมากมายในการสื่อสารทั่วโลก ในปี 1931 มีประมาณ 350 สถานีดำเนินงานในโลกเป็นไปในวันนี้มีกว่า 8,000 สถานี

    and the data now comes in rapidly from these stations by electronic mail, internet and satellite. This increase in the number of stations and the more timely receipt of data has allowed us and other seismological centers to locate earthquakes more rapidly and to locate many small earthquakes which were undetected in earlier years. The NEIC now locates about 20,000 earthquakes each year or approximately 50 per day.

    และข้อมูลในขณะนี้มาอย่างรวดเร็วจากสถานีเหล่านี้ได้ด้วยอินเทอร์เน็ตอิเล็กทรอนิกส์ mail และดาวเทียม การเพิ่มจำนวนของสถานีและใบเสร็จรับเงินทันเวลามากขึ้นข้อมูลนี้จะช่วยให้เราและศูนย์ seismological อื่น ๆ เพื่อระบุตำแหน่งของแผ่นดินไหวได้รวดเร็วยิ่งขึ้นและเพื่อระบุตำแหน่งเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กจำนวนมากที่มีการตรวจพบในปีก่อนหน้านี้ NEIC ตอนนี้ตั้งอยู่ประมาณ 20,000 เกิดแผ่นดินไหวแต่ละปีหรือประมาณ 50 ต่อวัน

    Also, because of the improvements in communications and the increased interest in the environment and natural disasters, the public now learns about more earthquakes.

    According to long-term records (since about 1900), we expect about 17 major earthquakes (7.0 - 7.9) and one great earthquake (8.0 or above) in any given year.

    นอกจากนี้เนื่องจากการปรับปรุงในการติดต่อสื่อสารและดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นในสภาพแวดล้อมและภัยธรรมชาติของประชาชนตอนนี้เรียนรู้เกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวมากขึ้น

    ตามบันทึกระยะยาว (ตั้งแต่ประมาณ 1900) เราคาดว่าเกี่ยวกับแผ่นดินไหว 17 หลัก (7.0 - 7.9) และอีกหนึ่งแผ่นดินไหว (8.0 หรือสูงกว่า) ในปีใดก็ตาม

    ##############################################
    *** 7.0-7.9 ประมาณ 17 ปีอื่นๆ ไม่เถียง แต่ปี 2010 มันกระโดดไป 21 ผิดคาดเยอะ

    มีคนพยายามบอก่า เพราะเพิ่ม censor เลยวัดได้มากขึ้น จากข้อความ

    แน่นอนมีการเพิ่มจำนวนของการเกิดแผ่นดินไหวที่เราได้รับสามารถหาตำแหน่งของแต่ละปี นี้เนื่องจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากในจำนวนของสถานีวัดแผ่นดินไหวในโลกนี้และปรับปรุงมากมายในการสื่อสารทั่วโลก ในปี 1931 มีประมาณ 350 สถานีดำเนินงานในโลกเป็นไปในวันนี้มีกว่า 8,000 สถานี

    ตั้งแต่ 1931 มี 350 สถานี จนปัจจุบัน 8000 สถานี

    เราเริ่ม เทียบค่า ที่ 1990 - 2009 *

    2009 - 1931 = 78 ปี

    ในระยะ 78 ปี เพิ่ม จาก 350 เป็น 8000 (ค่าคร่าวๆ)

    เฉลี่ย ปีละ 8000 - 350 = 7650/78 =98.07 ประมาณ 98 สถานีต่อปี

    ตารางที่เราอ้างอิงเริ่ม 1990 ดังนั้น ตั้ง แต่ 1990 - 2009 มีสถานีเพิ่มขึ้น

    2009-1990 = 19 ปี = 98*19 = 1862 สถานี ที่เพิ่มขึ้น

    จาก 1931 ถึง 1990 ระยะเวลา 59 ปี จึงน่าจะมีจำนวนสถานี ในปี 1990 ประมาณ 59*98 = 5782 สถานี

    เมื่อปี 2000 ห่างจาก 1990 10 ปี จึงน่าจะมี จำนวนเซ็นเซอร์ เพิ่ม อีก 980 สถานี

    เป็น 5782+980 = 6762 สถานี ในปี 2000

    **แต่ผล ที่ได้จากตาราง พบว่า มีสถานีเพิ่มขึ้นแล้ว กลับพบช่วงข้อมูล ที่ติดลบ และ จำนวน ที่ไม่ติดลบ เมื่อ ลบ เทียบ ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

    เช่น 2000-1990

    2001-1991

    2002-1992...

    2005-1995...

    2006-1996...

    ลองดูผลจาก ตาราง ที่ 3 แสดงว่า จำนวนตัวแปรที่เพิ่มขึ้นช่วงนั้น ไม่ได้มีผลเรื่องจำนวนแผ่นดินไหว จะต้อง มากขึ้น เพียงอย่างเดียว...

    โดยเฉพาะ ช่วง 7.0-7.9 แม้ใกล้ๆ ปี 2010 ก็ ยังพบ ว่าติดลบ....

    เมื่อ บวก ทั้งหมดในคอลัมน์สุดท้าย พบว่า ติด ลบ 16 แต่ ข้อมูล ระดับ 8-9.9 6-6.9 5-5.9 มีค่าป็น + คือมากขึ้น....O__o

    ผลจากตารางที่ 3 อาจไม่ยืนยันว่า censor เพิ่มแล้ว จึงวัดได้ เพิ่ม เพราะ ขนาด 7.0-7.9 นั้น สวนทาง ชัดเจน....

    ยิ่งบอกว่า สื่อสารมากขึ้น ถามคน หรือคน report มากขึ้น ทำไม 7.0-7.9 ถึงยังสวนทางอีก ทั้งๆที่ น่าจะ เพิ่มขึ้น ตาม หรือ จำนวน บางช่วง ปีก็ เป็น บวก แต่ไม่มาก โดยเฉพาะ ขนาด 6-6.9 ขึ้นไป

    ก็ลองเอามาให้ลองคิดกันดู นะครับ..... <!--MsgEdited=0-->

    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 เม.ย. 54 01:56:36[/SIZE] <!--MsgEdited=0-->
    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 เม.ย. 54 01:53:25[/SIZE] <!--MsgFile=0-->
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#204080 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#204080 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    [​IMG]

    ...เที่ยบ ปีที่แล้วกับ 10 ปี ก่อน หรือ จำนวน censor อาจจะเริ่มนิ่ง และไม่มาก ขึ้น ในอัตราเดิมแล้วก็ได้ <!--MsgFile=3-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    ที่มาของ up to up <!--MsgFile=4-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>2007 และ 1994 มากสุด ในรอบ แต่ละช่วง 10 ปี ดูความต่าง จำนวน เมื่อลบกันแล้ว <!--MsgFile=5-->
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    ตลอดทั้งปี มีแผ่นดินไหวประมาณ 500,000 ครั้ง และมี 100,000 ครั้ง ที่คนเราจะรู้สึกได้

    U.S. Geological Survey. "Earthquake Facts." U.S. Geological Survey Earthquake Hazards Program. 19 Mar. 2011. Web. 05 Apr. 2011. <
    http://earthquake.usgs.gov/learn/facts.php>. <!--MsgFile=6-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#442244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#442244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    ปี 2011 แค่ 3 เดือน ก็ มี % มากมาย เมื่อเทียบกับ ปีก่อน 2010

    หาก ทุกๆ 3 เดือน มีแผ่นดินไหว สม่ำเสมอเช่น 3 เดือนที่ผ่านมาผลคือ <!--MsgFile=8-->


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    จริงๆแล้วไม่อยาก ให้เราเชื่ออะไรง่ายๆ แม้กระทั่ง คำพูดของฝรั่ง หรือสถิติ แบบมากมาย เลยคิดว่ามันปกติโดยไม่ได้ ลงรายละเอียด ด้วยข้อสังเกตของตัวเอง

    และเอาข้อมูลดิบมากลั่นกรอง เพื่อยืนยันคำพูดฝรั่งก่อนจะเชื่อว่าจริงมั้ย เราได้คิด พิสูจน์เองก่อน นี่เข้าหลักการวิทย์ มาก....ดีกว่าเชื่อ ตามความรู้สึกตัวเอง หรือเค้างั้น หรือ เค้าบอกงี้ เฉยๆนะ <!--MsgFile=15-->

    <TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=15-->think4223 [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ลองดู ความสัมพันธ์ นะ <!--MsgFile=17-->
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    เบื้อง ต้น aftershock มากขึ้น แสดงถึงความหนืดลดลงของ ลาวา...แผ่นเปลือกโลกจึงอาจขยับได้ง่ายขึ้น หลังจาก เกิด Main <!--MsgFile=24-->
    <TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=24-->think4223 [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom noWrap width=75>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=24-->วันจักรี 54 10:07:47 <!--MsgIP=24-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore24 vAlign=top noWrap width=75></TD><TD id=score24></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ตาม คห 22 เนื่องจาก ไม่ได้มีการระบุ เฉพาะ Main ในบันทึก กลุ่มข้อมูลที่เรา วิเคราะห์

    ดังนั้น aftershock ส่วนมาก จะต่ำกว่า 6 ผมเลย มองที่ระดับ 6-6.9 เป็น ตัวแทน Main

    ก็จะเห็นตารางล่างสุด เมื่อ เทียบ ทุกๆ 10 ปี กลุ่มข้อมูลกระจายทั้ง มากขึ้น ลดลง

    และ เมื่อ เอามา บวก ลบ แล้ว ได้ผลตารางล่างขวาสุด เห็นว่ามีผลเป็น + ที่ 6-6.9 และ 8-9.9 ส่วน 7-7.9 ติดลบ 16 <!--MsgEdited=25-->

    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 เม.ย. 54 10:19:39[/SIZE] <!--MsgFile=25-->
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=25-->think4223</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สำหรับแผ่นดินไหว ขนาดใหญ่ เช่น 8-9.9 ลองดูผล การลบเทียบทุก 10 ปีดังตารางพบว่า

    มีค่าเป็น + คือ มาก กว่าเดิม 6 ครั้ง

    มีค่า เท่าเดิม 2 ครั้ง และ มีค่าลดลง 2 ครั้ง

    สถิติ คือ 60 % มากขึ้น เท่าเดิม 20 % ลดลง 20 % <!--MsgFile=26-->


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=26-->think4223</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ต่อไป เราต้องสังเกตแผ่นดินไหวที่ลึกไม่มากเช่นไม่เกิน 10 กม เพราะ อาจ บ่งบอกสัญญาณ อะไรบางอย่าง ...เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลาวาในระดับ ใกล้ชั้นดิน ...และ แผ่นดินไหวตื้นๆจะส่งผลกระทบที่พื้นผิวโลกมากขึ้น <!--MsgFile=28-->
    <TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=28-->think4223 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมขอเสริมปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อ "จำนวน" หน่อยละกันครับ
    และอาจทำให้การเก็บสถิติเรื่องจำนวนอย่างเดียวใช้ได้ไม่แม่นยำนัก

    - ขนาดแผ่นดินไหวมันจะแปรผันตรงกับอาฟเตอร์ช็อก เพราะงั้นถ้าปีไหนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ขึ้น จำนวนแผ่นดินไหวที่เล็กกว่าหน่อยจะเกิดเป็นกลุ่มจำนวนมาก
    ชัดๆก็ที่ญี่ปุ่นปีนี้ นับพวก 5+ ก็หลายร้อยเข้าไปแล้ว (เลยดูเยอะ)

    - Volcanic Activity สัมพันธ์กับแผ่นดินไหวด้วย ดังนั้นปีไหนที่ภูเขาไฟมีการปะทุหรือเคลื่อนไหวมาก ก็จะมีกลุ่มแผ่นดินไหวเกิดรอบๆมันมากตามไปด้วย

    - บริเวณที่เกิด อย่างน้อยแผ่นดินไหวเป็นปรากฎการณ์ที่รอวันจะเกิด ดังนั้นหากว่าแนวแ่ผ่นทวีปที่ปะทะกันกว้างมาก พอถึงเวลาทีมันจะปลดปล่อยแรงเครียดมันก็อาจปล่อยเป็นลูกโซ่ต่อเนื่องยาวตลอดรอย
    ตรงข้าม พวกแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนที่นานๆเกิดที หรือจากจุดร้อนต่างๆ อาจมีจำนวนน้อย นานๆมาที แต่ส่งผลต่อการทำนายการเกิดในอนาคตของพวกมันได้เหมือนกัน

    ฯลฯ ยังนึกไม่ออก... <!--MsgFile=32-->

    <TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=32-->ECOS (thelegendofm)</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ช่วง 1999-2000 ก็มีกระแสอย่างนี้เหมือนกัน แต่ยังไม่ค่อยดังในประเทศไทย เอาเอกสารที่เขียนช่วงนั้นมาให้อ่านแล้วกัน อันนี้มีข้อมูลแผ่นดินไหวใหญ่ย้อนหลังไปเป็นร้อยปี

    จากกราฟก็จะเห็นว่าจำนวนครั้งมันขึ้นๆลง มากบ้างน้อยบ้าง มากถึง 40 ครั้งต่อปีก็มี หรือบางปีมีไม่ถึง 10 ครั้ง

    http://ldolphin.org/quakes2.html <!--MsgEdited=35-->

    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 เม.ย. 54 18:27:15[/SIZE] <!--MsgFile=35-->
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=35-->Nexus</TD></TR></TBODY></TABLE>

    อันนี้อีกกราฟหนึ่ง จะเห็นว่าผู้เชี่ยวชาญที่เขาพูดเขามีข้อมูลหลายสิบปีอยู่ในมือ (จริงๆก็หาได้ใน internet นะ เมื่อวานผมเข้าไปดูเล่นๆอยู่) <!--MsgFile=36-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=36-->Nexus</TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากกราฟ 35 36 แสดงว่า การสื่อสารมากขึ้น จุดวัดมากขึ้น จึงไม่ใช่ข้อที่จะใช้อ้างได้ว่า แผ่นดินไหวมากขึ้น...

    แต่มีข้อสงสัยดังรูป <!--MsgFile=37-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=37-->think4223</TD></TR></TBODY></TABLE>
    According to long-term records (since about 1900), we expect about 17 major earthquakes (7.0 - 7.9) and one great earthquake (8.0 or above) in any given year.

    http://earthquake.usgs.gov/learn/topics/increase_in_earthquakes.php

    ค่าเฉลี่ย ต่างกัน 3 ครั้งเลย 17 กับ 20

    เวปนี้ จำนวนเซ็นเซอร์กี่จุด...

    http://ldolphin.org/quakes2.html <!--MsgEdited=38-->
    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 06 เม.ย. 54 20:53:59[/SIZE] <!--MsgFile=38--><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=38-->think4223 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE cellSpacing=1 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap width=75>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=41-->think4223</TD></TR></TBODY></TABLE>

    PANTIP.COM : X10421541
     
  18. winny11

    winny11 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +4
    วันก่อนผมก็ตั้งกระทู้เรื่อง การระเบิดของ ลมสุริยะ วันนี้ก็มี ข่าวเรื่อง


    กรมอุตุนิยมวิทยาโลกเตือนประชาชนเตรียมรับมือรังสียูวีเพิ่มขึ้นในระดับสูง ฤดูร้อนนี้ หลังตรวจพบชั้นโอโซนลดลงอย่างน่าใจหาย กว่า 40%

    เมื่อวันที่ 6 เมษายนที่ผ่านมา เว็บไซต์เดลิเมล์ ของอังกฤษ รายงานว่า กรมอุตุนิยมวิทยาโลก หรือ WMO เปิดเผยข้อมูลน่าตกใจเกี่ยวกับสภาพอากาศบนโลกว่า ขณะนี้ชั้นโอโซนที่ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันรังสี UV ระดับอันตรายจากแสงอาทิตย์ มีปริมาณลดลงกว่า 40% ซึ่งจะส่งผลให้มนุษย์ได้รับรังสี UV เพิ่มมากขึ้น และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งผิวหนัง ผิวไหม้ และปัญหาเกี่ยวกับดวงตา

    รายงานระบุว่า ตอนนี้ชั้นโอโซนบริเวณแถบอาร์กติก หรือขั้วโลกเหนือ ลดลงในระดับที่ไม่เคยเป็นมาก่อน เนื่องจากมีการก่อตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องของสสารในชั้นบรรยากาศที่ทำลายชั้นโอโซน ประกอบกับอากาศที่เย็นจัดในชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์ ทำให้น้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็วขึ้นไปอีก และถ้าหากบริเวณที่ชั้นโอโซนต่ำนี้ เคลื่อนตัวจากขั้วโลกเหนือลงมาในละติจูดที่ต่ำกว่า ก็จะส่งผลให้บริเวณประเทศแคนาดา รัสเซีย อลาสก้า สหรัฐฯ และหลายประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย ได้รับผลกระทบจากปริมาณรังสีอัลตราไวโอเลต ที่เพิ่มมากขึ้นกว่าที่เคยเป็น สภาพอากาศบนโลกจะร้อนขึ้น ทำให้เป็นมะเร็งผิวหนัง มะเร็งต้อกระจก รวมถึงส่งผลต่อพืชผลทางการเกษตรบางประเภทด้วย

    นอกจากนี้ WMO ยังได้เปิดเผยอีกว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา การลดลงของชั้นโอโซนบริเวณขั้วโลกเหนือที่เคยตรวจพบในระดับสูงที่สุด คือลดลงประมาณ 30% ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา แต่ล่าสุดนี้ ชั้นโอโซนลดลงถึง 40% ดังนั้น ประชาชนที่อยู่บริเวณที่อาจได้รับผลกระทบ ก็ควรเตรียมรับมือกับรังสี UV ที่เพิ่มสูงนี้ด้วย เพราะกว่าจะฟื้นตัวได้คงใช้เวลาอีกหลายปี โดย WMO คาดว่าชั้นโอโซนนอกเขตขั้วโลกจะฟื้นตัวขึ้นได้ภายในปี 2030-2040 หรืออีก 20 ปีข้างหน้าเลยทีเดียว

    ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้ นักวิทยาศาสตร์ได้มีรายงานว่า ขณะนี้ น้ำแข็งขั้วโลกละลายรวดเร็วขึ้นถึง 100 เท่า เมื่อเทียบกับตลอด 350 ปีที่ผ่านมา ซึ่งการที่น้ำแข็งเปลี่ยนสภาพเป็นกระแสน้ำเย็นเฉียบนี้ ได้ส่งผลให้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปทั่วโลกอย่างที่เป็น
     
  19. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ขอบคุณ คุณ winny11 ที่มาช่วยแบ่งปันข้อมูล

    ^^"
     
  20. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    รูปนี้ผมถ่ายเล่นๆเมื่อธ้นวาที่แล้ว

    [​IMG]

    วันนี้ผมลองถ่ายใหม่

    [​IMG]

    ตอนนี้เกิดตะวันอ้อมข้าวจริงๆครับ

    แต่ที่น่าสนใจ ในทางดาราศาสตร์
    ตะวันจะอ้อมสุุุุุุึุุุดๆ(ประมาณ 23 องศา)ไปทางใต้ในช่วงปลายปี
    อย่างที่โพสท์ไปก่อนหน้า
    และจะค่อยๆกลับมาทางเหนือในช่วงต้นปี
    เอ่อ..แต่ตอนนี้ใกล้สงกรานต์แย้ว
    พี่แกยังไม่ยอมอ้อมกลับมาซักที
    ถ่างอยู่นั่นแล้ว สยองนะเนี่ย
    ใครช่วยไปลากพี่แกกลับมาที

    คิดแบบโลกแตก
    หากเป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ
    ข้อมูลของนาซ่าระบุว่าตอนนี้
    ขั้วเหนือเคลื่อนไปทางเมกาเหนือ
    บ้านเราอยู่ตรงข้าม
    ก็จะหน้าแหงนไปเรื่อยๆ
    แผนที่ ZT อาจไม่ได้ใช้
    เพราะเราจะกลายเปง เอสกิโม อลาสก้า
    อยู่ในโดมน้ำแข็ง ล่าแมวน้ำ เอิ๊กๆๆ

    และชาวเราอาจจะรอดกันหมด
    เพราะ PX มาทางใต้
    ไม่ต้องลุ้น รอถูกชนหัวปูด
    สยามประเทศของแรงงงงงงง เจงๆ
    ทำเปงเ่ล่นไป 5555 ุุุ6666

    โดยคุณ AmpeerA http://palungjit.org/threads/ไม่รู้ว่ามีใครเห็น-planet-x-หรือยัง.253139/page-159
     

แชร์หน้านี้

Loading...