ของที่ป้องกันกัมมันตภาพรังสีได้

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ตันติปาละ, 17 มีนาคม 2011.

  1. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    ใครมีพระคำข้าว พระหางหมากหลวงพ่อฤๅษี พระผงจักรพรรดิ์ พระผงชานหมากหลวงตามหาบัว เหรียญทำน้ำมนต์

    ตอนนี้เอามาใช้งานได้แล้ว ถึงเวลาแล้วครับ ตามที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านได้เตรียมไว้ให้


    วิทยาศาสตร์ทำให้เกิดแต่แก้ไม่ได้ เตรียมไว้ก่อนที่กัมมันตภาพรังสีจะมาถึงตัว


    ไม่เชื่ออก็ไม่ต้องวิจารนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  2. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td bgcolor="#cccccc"> กัมมันตภาพรังสี </td> </tr> <tr> <td> ในปี ค.ศ. 1896 นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล (Antoine Henri Becquerel, 1852-1908) ได้ค้นพบการแผ่รังสีของนิวเคลียสขึ้น จากการศึกษาเกี่ยวกับการแผ่รังสีฟิสิกส์นิวเคลียร์ต่อมาทำให้ทราบถึง ธรรมชาติของธาตุ และสามารถนำเอาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้มาก เช่น นำไปใช้เพื่อการบำบัดรักษามะเร็ง การทำ CT SCANNERS เป็นต้น</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffcc"> 1 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี</td> </tr> <tr> <td> ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Elements) หมายถึงนิวไคลด์หรือธาตุที่มีสภาพไม่เสถียร ซึ่งจะมีการสลายตัวของนิวเคลียสอยู่ตลอดเวลาทำให้กลายเป็น นิวไคลด์ ใหม่หรือธาตุ ในขณะเดียวกันก็สามารถปลดปล่อยรังสีได้</td> </tr> <tr> <td> กัมมัตภาพรังสี (Radioactivity) เป็นปรากฎการณ์อย่างหนึ่งของสารที่มีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้เอง กัมมันตภาพรังสี ที่แผ่ออกมามีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน คือ รังสีแอลฟา รังสีเบตา และรังสีแกมมา </td> </tr> <tr> <td> โดยเมื่อนำสารกัมมันตรังสีใส่ลงในตะกั่วที่เจาะรูเอาไว้ให้รังสีออกทางช่องทางเดียวไป ผ่านสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีหนึ่งจะเบนเข้าหาขั้วบวกคือรังสีเบตา อีกรังสีหนึ่งเบนเข้าหาขั้วลบคือรังสีแอลฟาหรืออนุภาคแอลฟา ส่วนอีกรังสีหนึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้าจึงไม่ถูกดูดหรือผลักด้วยอำนาจแม่เหล็กหรืออำนาจนำไฟฟ้า ให้ชื่อรังสีนี้ว่า รังสีแกมมา ดังรูปที่ 4</td> </tr> <tr> <td><table width="57%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>[FONT=&quot][​IMG][/FONT]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    แสดงการเบี่ยงเบนของรังสีชนิดต่าง ๆ ในสนามไฟฟ้า
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> ก. รังสีแอลฟา (Alpha Ray) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีขนาดใหญ่และมีมวลมากเพื่อเปลี่ยนแปลงให้เป็นนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพสูงขึ้น ซึ่งรังสีนี้ถูกปล่อยออกมาจากนิวเคลียสด้วยพลังงานต่าง ๆ กัน รังสีแอลฟาก็คือนิวเคลียสของฮีเลียม แทนด้วย [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] มีประจุบวกมีขนาดเป็น 2 เท่าของประจุอิเล็กตรอน คือเท่ากับ +2e และมีนิวตรอน อีก 2 นิวตรอน (2n) มีมวลเท่ากับนิวเคลียสของฮีเลียมหรือประมาณ 7000 เท่าของอิเล็กตรอน เนื่องจากมีมวลมากจึงไม่ค่อยเกิดการเบี่ยงเบนง่ายนัก เมื่อวิ่งไปชนสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เช่น ผิวหนัง แผ่นกระดาษ จะไม่สามารถผ่านทะลุไปได้ แต่จะถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วแล้วจะถ่ายทอดพลังงานเกือบทั้งหมดออกไป ทำให้อิเล็กตรอนของอะตอมที่ถูกรังสีแอลฟาชนหลุดออกไป ทำให้เกิดกระบวนการที่เรียกว่า การแตกตัวเป็นไอออน </td> </tr> <tr> <td><table width="40%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    รูปที่ 5 แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแอลฟา
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแอลฟา เป็นดังนี้</td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td> </td> <td>
    [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td>[FONT=&quot][​IMG][/FONT]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>[FONT=&quot]+[/FONT]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] </td> <td>(5)</td> </tr> <tr> <td>จากรูป </td> <td>
    [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td>[​IMG]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>+ </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td> </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td> ข. รังสีเบตา (Beta Ray) เกิดจากการสลายตัวของนิวไคลด์ที่มีจำนวนโปรตอนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป โดยรังสีเบตาแบ่งได้ 2 แบบคือ</td> </tr> <tr> <td> 1. เบตาลบหรือหรืออิเล็กตรอน ใช้สัญลักษณ์ [FONT=&quot]<sub> [​IMG]</sub>[/FONT] หรือ[FONT=&quot]<sub> [​IMG]</sub>[/FONT] เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีนิวตรอนมากกว่าโปรตอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนนิวตรอน ลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ </td> </tr> <tr> <td><table width="55%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>
    [FONT=&quot][​IMG][/FONT]​
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาลบ
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาลบ เป็นดังนี้</td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="14%"> </td> <td width="13%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="19%">[​IMG]</td> <td width="11%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="5%">+ </td> <td width="24%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="14%">(6)</td> </tr> <tr> <td>จากรูป</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>[​IMG]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>+ </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td> </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  4. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td>2. เบตาบวกหรือหรือโพสิตรอน ใช้สัญลักษณ์ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]หรือ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีโปรตอนมากเกินกว่านิวตรอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนโปรตอนลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ </td> </tr> <tr> <td><table width="46%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>
    [FONT=&quot][​IMG][/FONT]​
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    รูปที่ 7 แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาบวก
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาบวก เป็นดังนี้</td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="16%"> </td> <td width="14%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="21%">[​IMG]</td> <td width="14%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="6%">+</td> <td width="20%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="9%"> (7)</td> </tr> <tr> <td>จากรูป </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>[​IMG]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>+</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> นื่องจากอิเล็กตรอนนั้นเบามาก จึงทำให้รังสีเบตาเกิดการเบี่ยงเบนได้ง่าย สามารถเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กได้ มีความเร็วสูงมากคือมากกว่าครึ่งของ ความเร็วแสงหรือประมาณ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการทะลุทะลวงมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา</td></tr></tbody></table>
     
  5. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td> ค. รังสีแกมมา(Gamma Ray) ใช้สัญลักษณ์ [FONT=&quot]<sub> [​IMG]</sub>[/FONT] เกิดจากการที่นิวเคลียสที่อยู่ในสถานะกระตุ้นกลับสู่สถานะพื้นฐานโดยการปลดปล่อยรังสีแกมมาออกมา รังสีแกมมา ก็คือโฟตอนของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกับรังสีเอ็กซ์ แต่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าและมีอำนาจในการทะลุทะลวงสูงมากกว่ารังสีเอ็กซ์ ไม่มีประจุไฟฟ้าและมวล ไม่เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่ เหล็กและ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าแสง </td> </tr> <tr> <td><table width="52%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>
    [FONT=&quot][​IMG][/FONT]​
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    รูปที่ 8 แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแกมมา
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแกมมา เป็นดังนี้</td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="15%"> </td> <td width="18%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="18%">[​IMG]</td> <td width="11%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="6%">+</td> <td width="17%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="15%">(8)</td> </tr> <tr> <td>จากรูป</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>[​IMG]</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>+</td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> การเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียสและมีการแผ่รังสีออกมาโดยที่นิวเคลียสเดิมจะเปลี่ยนเป็นนิวเคลียสใหม่ ซึ่งเรียกว่า การสลายตัว (Decay) ดังเช่น</td> </tr> <tr> <td><hr color="#ff0000"></td></tr></tbody></table>
     
  6. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td bgcolor="#cccccc"> การสลายตัวให้รังสีแอลฟา ของนิวเคลียส [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> <tr> <td><table width="40%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td><table width="40%" align="center" border="0"> <tbody><tr bgcolor="#cccccc"> <td width="19%">
    [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td width="17%">[​IMG]</td> <td width="64%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] เป็นนิวไคลด์ใหม่เรียกว่า Daughter Nuclide ส่วน [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] เป็นนิวไคลด์เดิมเรียกว่า Parent Nuclide</td> </tr> <tr> <td>การสลายตัวให้รังสีเบตา ของนิวเคลียส [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> <tr> <td><table width="40%" align="center" border="0"> <tbody><tr bgcolor="#cccccc"> <td width="18%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="24%">[​IMG]</td> <td width="58%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>การสลายตัวให้รังสีแกมมา ของนิวเคลียส [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] สถานะกระตุ้น</td> </tr> <tr> <td><table width="40%" align="center" border="0"> <tbody><tr bgcolor="#cccccc"> <td width="20%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="23%">[​IMG]</td> <td width="57%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>โดยที่ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] จะเป็นนิวเคลียสที่สถานะพลังงานต่ำ</td></tr></tbody></table>
     
  7. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td bgcolor="#cccccc">2 สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี</td> </tr> <tr> <td> จากการทดลองพบว่าอัตราการสลายตัวของนิวเคลียสจะเป็นปฏิภาคกับจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่ขณะนั้น เขียนเป็นสมการได้ว่า </td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="20%"> </td> <td width="20%">[FONT=&quot] - <sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="7%"><sub>[​IMG]</sub></td> <td width="38%">N</td> <td width="15%"> </td> </tr> <tr bgcolor="#cccccc"> <td>หรือ </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>=</td> <td>[FONT=&quot]- <sub>[​IMG]</sub>[/FONT]N</td> <td> (9)</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>โดยที่ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] แทนค่าคงที่ของการสลายตัว (decay constant)</td> </tr> <tr> <td height="24"> ถ้าให้ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] เป็นจำนวนนิวเคลียสเริ่มต้นที่เวลา t = 0 และ [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] เป็นจำนวนนิวเคลียสที่เหลือ เมื่อเวลาผ่านไป t จะได้ </td> </tr> <tr> <td><table width="60%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="40%">
    [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td width="8%">= </td> <td width="37%">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td width="15%"> </td> </tr> <tr> <td>
    [FONT=&quot]ln <sub> [​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td>= </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td> </td> </tr> <tr bgcolor="#cccccc"> <td>
    [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]
    </td> <td>= </td> <td>[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> <td>(10)</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  8. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    <table width="780" align="center" border="0"><tbody><tr><td bgcolor="#cccccc"> การสลายตัวของสารกัมมันตรังสีแสดงได้ดังรูปที่ 9 </td> </tr> <tr> <td><table width="50%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td>
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">
    รูปที่ 9 แสดงกราฟการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง ๆ จะแสดงลักษณะที่แตกต่างกันด้วยเวลาของการสลายตัวที่เรียกว่า ครึ่งชีวิต (Half – Life) แทนด้วย [FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT] ซึ่งหมายถึงช่วงเวลาที่ธาตุมันตรังสีหนึ่งจะสลายไปเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณที่มีอยู่เดิม ซึ่งจากรูปที่ 7 พบว่า </td> </tr> <tr> <td><table width="70%" align="center" border="0"> <tbody><tr> <td width="35%">ในเวลาเริ่มต้น </td> <td width="16%" bgcolor="#cccccc">
    t = 0
    </td> <td width="35%">จำนวนนิวไคล์ทั้งหมดเป็น </td> <td width="14%" bgcolor="#cccccc">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> <tr> <td>เมื่อเวลาผ่านไปครึ่งชีวิต</td> <td bgcolor="#cccccc">
    t = T<sub>1/2</sub>
    </td> <td>จำนวนนิวไคล์ที่เหลือเป็น </td> <td bgcolor="#cccccc">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td> </tr> <tr> <td>และเมื่อเวลาผ่านไป</td> <td bgcolor="#cccccc">
    t = 2T<sub>1/2</sub>
    </td> <td>จำนวนนิวไคล์ที่เหลือเป็น </td> <td bgcolor="#cccccc">[FONT=&quot]<sub>[​IMG]</sub>[/FONT]</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  9. Nat_usp

    Nat_usp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    677
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +2,394
    มีแต่พระผงจักรพรรดิของหลวงตาม้า
     
  10. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    พระผงจักรพรรดิ์ใช้ได้ทุกสำนักครับ
     
  11. Nat_usp

    Nat_usp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    677
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +2,394
    แน่...ผมลืมไปมีพระคำข้าวอีก 1 องค์ครับ ^_^"
     
  12. pizza1717

    pizza1717 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2011
    โพสต์:
    103
    ค่าพลัง:
    +63
  13. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
  14. wanakonth

    wanakonth เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2009
    โพสต์:
    2,151
    ค่าพลัง:
    +5,773
    ที่บ้านผมติดผ้ายันต์พิชัยสงครามอะครับ ส่วนตัวผมจะพกปฐวีธาตุของหลวงปู่คำพันอะครับ
     
  15. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,422
    ค่าพลัง:
    +4,651
    ท่านใดมีข้อมูลเพิ่ม หรือลิงค์แจกฟรีวัตถุที่กล่าวมา ขอเน้นะครับเป็นการแจกฟรีเท่านั้น ไม่ได้มากระตุ้นใหเกิดการเช่านะครับ แจ้งกันมาได้ครับ
     
  16. pizza1717

    pizza1717 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2011
    โพสต์:
    103
    ค่าพลัง:
    +63
  17. wanakonth

    wanakonth เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2009
    โพสต์:
    2,151
    ค่าพลัง:
    +5,773
    จะว่าไปปีก่อนๆก็ได้เอาพระผงจักรพรรดิใส่ในองค์พระพุทธรูปแล้วก็ถวายไว้บางวัดแถวๆบ้าน กับเอาลูกแก้วจักรพรรดิติดองค์พระถวายไว้บางวัดด้วยเช่นกัน ปีนี้ว่าจะทำอีกครับ
     
  18. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,927
    ค่าพลัง:
    +9,209
    ผมเชื่อครับ .................
     
  19. Chiewvampz

    Chiewvampz เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    253
    ค่าพลัง:
    +239
    มีแต่ของเหล่านี้หรอครับที่ช่วยได้
    ใครมีพระคำข้าว พระหางหมากหลวงพ่อฤๅษี พระผงจักรพรรดิ์ พระผงชานหมากหลวงตามหาบัว เหรียญทำน้ำมนต์

    มีอย่างอื่นไหมครับ
    ขอบคุณมากครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  20. blackky

    blackky Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2009
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +27
    มีใครเคยลองมั่งอ่ะ ตัวผมก็เชื่อครูบาอาจารย์นะครับ แต่ยังไมเคยลองเลย^^
    แต่พกหางหมากติดตัวตลอด^^ ที่บ้านมีเป็นร้อย
     

แชร์หน้านี้

Loading...