*เปียโนพระเครื่อง*ปิดกระทู้นี้ชั่วคราว*ลพ.โหน่ง /กรุวัดชนะสงคราม*

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย prakrueng, 22 กรกฎาคม 2010.

  1. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พุทโธน้อย แม่ชีบุญเรือน วัดอาวุธ ฐาน อ รุ่นกรุแตก พิมพ์ใหญ่ เนื้อผสมผงปูนเสก หลังยันต์พุทโธ สภาพสวย ราคา 800 บาท มีหลายองค์ครับ สนใจจองได้เลยครับ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBanana%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:EucrosiaUPC; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777217 0 0 0 65536 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> กรุแตก !!!!! วัดอาวุธวิกสิตาราม พระสมเด็จ-พุทโธน้อย จำนวนมาก<o></o>
    วัดอาวุธวิกสิตาราม ตั้งอยู่เลขที่ 436 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ซอย 72 (ซอยวัดอาวุธฯ) แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพ มหานคร ได้ทำพิธีเปิดกรุพระเก่าอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีเซียนพระชื่อดังร่วมเป็นสักขีพยานพิสูจน์หลายท่าน อาทิ
    จ่าทวี วงษ์สิทธิ์ เจ้าของนิตยสารมรดกพระเครื่อง วันชัย สุพรรณ ผู้ดำเนินรายการ คุยเฟื่องเรื่องพระ ทางช่องเอ็มวี สตาร์แชนแนล และ วัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ หรือ อุ๊ กรุงสยาม นายกสมาคมผู้สื่อข่าวและช่างภาพพระเครื่อง<o></o>
    <o></o>

    กลายเป็นข่าวฮือฮาในวง การนักสะสมพระเครื่อง เมื่อพบพระเครื่องยอดนิยมจำนวนมาก ทั้งพระพิมพ์สมเด็จมงคลมหาลาภ สร้างเมื่อปี 2499 พระสมเด็จพิมพ์ประจำวัน เนื้อผงผสมว่าน เนื้อดินเผา และพระพุทโธน้อย
    <o></o><o></o>
    วัตถุมงคลทั้งหมด สร้างในยุคของ หลวงพ่อสงวน โฆสโก อดีตเจ้าอาวาสวัดอาวุธวิกสิตาราม และ แม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม ซึ่งปัจจุบันวัตถุมงคลของแม่ชีบุญเรือนได้รับความนิยมอย่างมาก โดยเฉพาะ
    พระพุทโธน้อย พิมพ์ จัมโบ้เนื้อขาว สร้างปี 2494 สนนราคาเล่นหาหลักแสนขึ้น รวมถึงพิมพ์พระสมเด็จหลังยันต์และหลังเรียบ และพระสมเด็จพิมพ์ประจำวัน สนนราคาเล่นหาสูงมากเช่นกัน<o></o><o></o>
    พระเทพปัญามุนี เจ้าอาวาสวัดอาวุธวิกสิตาราม กล่าวว่า อาตมาพร้อมคณะสงฆ์ ได้อนุญาตให้เจ้าหน้าที่เปิดกรุพระเก่าใต้ฐานชุกชี พระพุทธชินราชจำลอง พระประธานในพระอุโบสถอย่างเป็นทางการ ซึ่งพระอุโบสถหลังนี้สร้างขึ้นเมื่อปี 2507 วางศิลาฤกษ์ โดย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฐายี) สมเด็จพระสังฆราช วัดมกุฏกษัตริยาราม สมัยยังดำรงสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์
    <o></o>
    ส่วนพระประธานเททองหล่อสร้างขึ้นเมื่อปี 2509 หลังจากนั้นได้นำวัตถุมงคลจากโบสถ์เก่าทั้งหมดที่สร้างไว้ในยุคของ พระสิทธิสารโสภณ หรือ พระอาจารย์สงวน โฆสโก อดีตเจ้าอาวาสวัดอาวุธวิกสิตาราม และ แม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม มาบรรจุไว้จำนวนมาก มีทั้ง พระพุทโธน้อย แกะพิมพ์โดย อาจารย์ชอบ อนุจารี พระพิมพ์สมเด็จมงคลมหาลาภเนื้อผงผสมว่าน และมวลสารอันเป็นมงคลต่างๆ สร้างเมื่อปี 2499 โดยพระอาจารย์สงวน สร้างโดยมีหลวงพ่อลี วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ เป็นผู้ประสานงาน ได้นิมนต์พระเกจิอาจารย์สายพระกัมมัฏฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร หลวงพ่อตื้อ อัจธรรมโม พระอาจารย์วัน อุตตโม และพระเกจิอาจารย์อีกหลายรูป ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกครั้งแรกที่วัดสัมพันธวงศ์ เมื่อวันที่ 5-10 มี.ค.2499 จากนั้นได้นำไปเข้าพิธีอีกครั้งหนึ่งที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยอง ในวันที่ 23-31 มี.ค.2499 ถึง 19 วัน 19 คืน โดยมี แม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมทั้งร่วมอธิษฐานธรรมด้วย<o></o>
    จ่าทวี วงษ์สิทธิ์ เจ้า ของนิตยสารมรดกพระเครื่อง กล่าวว่า จากการได้ดูพระเครื่องทั้งหมด เป็นพระเก่าเก็บที่มีอายุมากพอสมควร โดยเฉพาะพระพิมพ์สมเด็จที่มีอยู่หลายพิมพ์นั้น สร้างประมาณปี 2499 ทุกองค์ทันยุคแม่ชีบุญเรือน ส่วนพระพุทโธน้อยนั้นน่าจะสร้างหลังจากแม่ชีบุญเรือนเสียชีวิตแล้วคือหลัง จากปี 2507 สันนิษฐานว่าสร้างไว้เมื่อปี 2511 โดยหลวงพ่อสงวน โฆสโก อดีตเจ้าอาวาสวัดอาวุธฯ ซึ่งภายหลังท่านมีสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระสิทธิสารโสภณ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2511 เป็นพระราชาคณะองค์แรกของวัดอาวุธฯ ท่านเป็นเจ้าอาวาสปกครอง ตั้งแต่ปี 2483-2517 เป็นเวลารวม 35 ปี ท่านก็มรณภาพ
    <o></o><o></o>
    การสร้างพระพุทโธน้อยปีนั้น น่าจะจัดสร้างขึ้นเพื่อฉลองสมณศักดิ์ พระสิทธิสารโสภณ ด้วยการ นำมวลสารพระพุทโธน้อยยุคแม่ชีบุญเรือนมาเป็นส่วนผสม และใช้พิมพ์เก่ามาเป็นต้นแบบ ด้านหน้าบางองค์ จะมีอักษรตัว ซึ่งคงหมายถึง วัดอาวุธวิกสิตาราม
    <o></o>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCN3408_resize.JPG
      DSCN3408_resize.JPG
      ขนาดไฟล์:
      138 KB
      เปิดดู:
      54
    • DSCN3411_resize.jpg
      DSCN3411_resize.jpg
      ขนาดไฟล์:
      113.7 KB
      เปิดดู:
      57
    • DSCN3412_resize.jpg
      DSCN3412_resize.jpg
      ขนาดไฟล์:
      108.1 KB
      เปิดดู:
      62
    • 118.jpg
      118.jpg
      ขนาดไฟล์:
      117.8 KB
      เปิดดู:
      43
    • 116.jpg
      116.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127.7 KB
      เปิดดู:
      46
    • 114.jpg
      114.jpg
      ขนาดไฟล์:
      64.2 KB
      เปิดดู:
      58
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 สิงหาคม 2010
  2. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    สมเด็จรุ่นแรก ลพ.บุญเทียม วัดลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี สภาพสวย หายากครับ ราคา 1000 บาท
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBanana%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:EucrosiaUPC; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777217 0 0 0 65536 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> หลวงพ่อเทียม วัดลาดหลุมแก้ว เดิมชื่อ บุญเทียม เอกเอี่ยม เป็นบุตรคุณพ่อเมฆ-คุณแม่ควด ชาตะ เมื่อวันที่ 22 พ.ย. 2461 ที่บ้านหมู่ 1 ต.ลาดหลุมแก้ว อ.ลาดหลุมแก้ว อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดลาดหลุมแก้ว เมื่อ พ.ศ.2483 มีพระอธิการปลื้ม วัดบัวเกษร ต.บ้านระแหง เป็นพระอุปัชฌาย์<o></o>
    หลวง พ่อเทียมท่านเป็นพระนักศึกษามาก่อน แต่เมื่อมีเวลาว่างท่านจะไปศึกษากัมมัฏฐานในสำนักต่างๆ ที่มีพระวิปัสสนาจารย์ผู้มีชื่อเสียงเป็นเจ้าสำนัก จึงทำให้ท่านมีความรู้แตกฉานในเรื่องของกัมมัฏฐาน<o></o><o></o>
    การเป็นเจ้าอาวาสวัดในสมัยก่อนไม่ใช่ของง่าย เพราะนอกจากจะต้องเป็นนักปกครองภิกษุ-สามเณรในวัด และเด็กวัดจอมเกเรที่พ่อ-แม่เอามาพึ่งวัดดัดสันดานแล้ว ยังต้องเป็นหมอยากลางบ้าน เป็นพระเกจิที่สามารถกำราบพวกนักเลงหัวไม้ให้อยู่ในตำแหน่งไม่ล้ำเส้นออกไป ทำให้ชาวบ้านเดือดร้อน ต้องเป็นผู้ไล่ภูตผีปีศาจ เรียกง่ายๆ ว่าต้องเก่งครอบจักรวาล จะมาเทศนาลูกเดียวท่านว่าไปไม่รอด<o></o>
    หลวงพ่อเทียมท่านได้ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณจากหมอสุด หมอสุดผู้นี้มีฉายา หมอเทวดา เพราะเมื่อมีคนไข้มาหา หมอสุดดูแล้วหากจัดยาให้ละก็หายแน่นอน แต่ถ้าหมอสุดดูแล้วบอกว่าเอายาไปประทังตัวหมดหม้อแล้วไม่ต้องมาหาอีก อย่างนี้บอกใบ้ว่ายาหมดก็กลับบ้านเก่า ถ้าหมอสุดจัดยาให้แล้วบอกให้มาเอายาใหม่ ร้อยทั้งร้อยหายดีแน่นอน หมอสุดได้ครอบวิชามอบตำราครูให้หลวงพ่อเทียมทั้งหมด เมื่อหมอสุดถึงแก่กรรม หลวงพ่อเทียมต้องทำหน้าที่แทนหมอสุดช่วยชีวิตญาติโยมไว้มากมาย<o></o>
    หลวงพ่อเทียมท่านได้ไปเรียนวิชากับพระเกจิอาจารย์สองรูปด้วยกัน คือ หลวงพ่อชื่น วัดตำหนัก เรียนตรีนิสิงเหมอญ และวิชาอาคมด้านรามัญ หลวงพ่อทองสุก วัดตาล เรียนตรีนิสิงเหแบบไทยคืออักขระขอม ทั้งสองพระเกจิถ่ายทอดวิชาให้หลวงพ่อเทียมจนหมดความรู้ ได้ตำราอาคมรามัญมาจากหลวงพ่อชื่นเป็นมรดกตกทอด โดยหลวงพ่อชื่นบอกว่าสิ้นท่านแล้วก็ขอให้ใช้ตำราช่วยประชาชน ช่วยทหารหาญที่ไปรบให้แคล้วคลาดอันตราย<o></o>
    อันยันต์ตรีนิสิงเหเป็นยันต์ครอบจักรวาล จะลบผง ลงตะกรุด โดยแบ่งยันต์ออกเป็นตาราง แต่ละตาราง ใช้เลขแทนอักขระ โดยตามตำราระบุว่า
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBanana%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:EucrosiaUPC; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777217 0 0 0 65536 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เลข 3 ให้ภาวนาเวลาลงว่า มะอะอุ ตรีนิสิงหะทะเย<o></o>
    เลข 7 ให้ภาวนาว่า สัตตะนาเคราชา<o></o>
    เลข 5 ให้ภาวนาว่า ปัญจะเพชรฉะลูกันเจวะ<o></o>
    เลข 4 ให้ภาวนาว่า จตุโลกะปาลานะมามิหัง<o></o>
    เลข 5 ให้ภาวนาว่า ปัญจะเทวานะมามิหัง<o></o>
    เลข 1 ให้ภาวนาว่า พุทธานุภาเวนะ<o></o>
    เลข 9 ให้ภาวนาว่า นวะโลกุตระธัมมานุภาเวนะ<o></o>
    เลข 5 ให้ภาวนาว่า ปัญจะพุทธานุภาเวนะ<o></o>
    เลข 8 ให้ภาวนาว่า อัฏฐอะระหันตานุภาเวนะ<o></o>
    <o></o>
    หลวงพ่อเทียมออกตะกรุดโทนรุ่นแรกด้วยตะกั่ว มีสองขนาด ยาวประมาณ 7 ซม. แจกผู้ชาย กับขนาด 4 ซม. แจกผู้หญิง ท่านลงอักขระเอง รุ่นแรกนี้มีเนื้อทองแดงด้วยแต่ไม่มากนัก ก่อนม้วนท่านได้ใช้สิ่วตัดมุมแผ่นตะกรุด เพื่อเวลาม้วนจะได้เห็นรอยตัดที่ปลาย ถือเป็นเอกลักษณ์ของท่านตลอดมา<o></o>
    <o></o>
    ต่อมาตะกรุดของท่านไปดังด้วยประสบการณ์ ทั้งด้านมหาอุด คงกระพัน และในสงครามเวียดนามตะกรุดของท่านก็ดังระเบิด ทำให้ท่านต้องสร้างตะกรุดเพิ่มมากขึ้นท่านจึงต้องใช้แกะแม่พิมพ์ปั๊มเป็น ตะกรุดสำเร็จ ตัดมุมแล้วท่านสอนให้พระ-เณรช่วยกันม้วน ส่วนท่านปลุกเสกเอง ก็ปรากฏว่าขลังเป็นอย่างยิ่ง จนหลายคนได้ไปแล้วไปดูถูกว่าเป็นตะกรุดโหล ใช้ปั๊มแทนการลงด้วยมือ ทดลองยิงดูปรากฏว่าไม่ออก กระบอกบวมปืนเสียไปเลย จึงเพิ่มคำเล่าลือให้มากขึ้นอีกเป็นทวีคูณ<o></o>
    หากใครได้เห็นหลวงพ่อเทียมปลุกเสกตะกรุดจะรู้สึกว่าแปลก ท่านจะเอาตะกรุดที่ลงแล้วม้วน แล้วลงไปแช่ในน้ำมนต์ เมื่อถามท่าน ท่านตอบว่า<o></o>
    <o></o>
    [FONT=&quot]“[/FONT] ฉันปลุกเสกด้วยเตโชกสิณ (ธาตุไฟ) หากปลุกเสกโดยไม่เอาน้ำมาเป็นฉนวนละก็ ตะกรุดตะกั่วจะเยิ้มติดกันหมด ส่วนทองแดงก็จะละลาย แล้วจะแจกกันอย่างไร[FONT=&quot]”[/FONT]<o></o><o></o>
    เนื่องจากตลอดชีวิตของหลวงพ่อท่านต้องปลุกเสกวัตถุมงคล ต้องสูดดมควันธูปและควันเทียน จนกระทั่งปอดของท่านมีจุดและขยายใหญ่ จนที่สุดก็ทำให้ท่านต้องเข้าโรงพยาบาลบ่อยๆ แต่พอออกจากโรงพยาบาลแล้วท่านก็ไม่หยุด ยังคงรดน้ำมนต์ ปลุกเสกของ ดมควันธูปอย่างต่อเนื่อง หลวงพ่อตรากตรำอยู่จนถึง วันที่ 4 สิงหาคม 2529 หลวงพ่อก็ถึงแก่มรณภาพ
    <o></o><o></o><o></o>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2010
  3. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    สังกัจจายน์ เนื้อโลหะผสม ลพ.บุญให้ วัดท่าม่วง นครศรีธรรมราช ตอกโค๊ตและหมายเลขกำกับ สร้างจำนวนน้อยมากครับ ราคา 800 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    ปิดตา เนื้อดิน กรุวัดโพธิ์บางปะอิน สภาพสวย ราคา 500 บาท

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBanana%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot] วัดโพธิ์บางปะอิน ตั้งอยู่เลขที่ [/FONT][FONT=&quot]23 หมู่ 3 ตำบล บ้านโพธิ์ อำเภอ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี เนื้อที่ 13 ไร่ 1 งาน 92 ตารางวา สร้างสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ประมาณปี พ.ศ. 2300 ไม่ปรากฎนามผู้สร้างแน่ชัด บูรณะปฏิสังขรณ์ในปี 2491 โดยรื้อพระอุโบสถหลังเก่าและวางศิลาฤกษ์อุโบสถหลังใหม่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2491 เสร็จเรียบร้อยในปี 2494 และในปี 2509 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระสมเด็จพระนางเจ้าบรมราชินีนาถเสด็จพระราช ดำเนินมาทรงประกอบพิธียกช่อฟ้าพระอุโบสถในวันที่ 24 มิถุนายน 2509 และเททองหล่อรูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และรูปเหมือนหลวงปู่คง เพื่อประดิษฐานไว้ด้านเหนือและด้านใต้ของพระอุโบสถ <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ประวัติความเป็นมาของพระกรุเนื้อดินนี้ นับได้ว่าเป็นเรื่องราวที่แสดงถึง ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและเจตนาบริสุทธิ์ของฆาราวาสท่านหนึ่ง ผู้ซึ่งมีความมุ่งมั่น มานะศรัทธาอย่างแรงกล้าที่จักสร้างพระไว้เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา โดยไม่หวั่นเกรงต่อคำครหา และผลบุญกุศลในการมุ่งมั่นหวังที่จะสร้างพระให้ได้ 84,000 องค์ตามอายุพระธรรมขรรค์ ได้ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์บางอย่างในท้องถิ่นบ้านโพธิ์บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตลอดจนวงการพระเครื่องในปัจจุบันนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ตา หนอม เป็นชื่อของชายชราไทยเชื้อสายจีน ผูกเรืออาศัยอยู่ริมน้ำปากคลองบ้านโพธิ์ แกมีอาชีพพายเรือขายหมากขายพลู ด้วยที่แกมีความศรัทธาอันแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนา จึงใช้เวลาว่างจากการงาน ประดิษฐ์พิมพ์พระขึ้นมาหลายพิมพ์ เช่น พิมพ์พระสมเด็จพิมพ์พระปิดตาพิมพ์พระพุทธองค์ทรงเม่น (สันนิษฐานว่าล้อพิมพ์พระหลวงพ่อปานวัด บางนมโค) เมื่อปั๊มกดพิมพ์และเผาตามกระบวนการเรียบร้อยแล้ว แกก็ได้นำพระไปบรรจุกรุโกฎิเจดีย์ร้างเก่าทรุดโทรมองค์เล็กๆองค์หนึ่ง ที่ประดิษฐานภายในวัดโพธิ์บางปะอิน พระเจดีย์องค์นี้ค่อนข้างเก่าทรุดโทรมจึงมีโพรงอยู่ด้านบน การสร้างพระนั้นตาหนอมจะทำไปเรื่อยๆในเวลาว่างจากการงาน ช่วงเวลาการสร้างพระประมาณปี 2450-249...เห็นจะได้หากคำนวณตามอายุของแกตอนมีชีวิตอยู่ ตามคำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแกในละแวกบ้านโพธิ์บางปะอิน หากนับจากวันเวลาตามนั้นก็ล่วงเวลามากว่าร้อยปีแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อตาหนอม สร้างพระได้จำนวนหนึ่งแกก็จะนำพระไปเทใส่ในเจดีย์องค์เล็กๆองค์นั้น แกทำของแกอยู่อย่างนั้นทุกเมื่อเชื่อวัน โดยชาวบ้านในละแวกนั้นมองแกว่าเป็นคนจิตไม่ปกติ แต่ก็ชาวบ้านก็เห็นพ้องต้องกันว่าตาหนอมแกนั้นเป็นคนดียึดมั่นอยู่ในศิลใน ธรรม ความไม่ปกติของแกที่ชาวบ้านลือกันจนทุกวันนี้ อาจเป็นเพราะความมุ่งมั่นสร้างพระอย่างไม่มีวันสิ้นสุดของตาหนอมนั้นเอง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]บั้น ปลายชีวิตของตาหนอมได้เสียชีวิตลงไปอย่างไม่มีใครทราบสาเหตุและไม่มีคนสนอก สนใจเหมือนคนชราที่อาศัยอยู่ตัวคนเดียวอย่างสันโดษไม่ข้องแวะกับทางโลก เหลือไว้เพียงเจดีย์เล็กๆเก่าทรุดโทรมข้างพระอุโบสถ ก็เป็นอันรู้กันว่าภายในมีพระเครื่องของ ตามหนอมสร้างบรรจุไว้ พระของแกออกมาปรากฏให้เห็นก็ล่วงเวลานานเมื่อมีเด็กๆแถววัด ได้เก็บพระที่คงทะลักออกมาตามรอยแตกของพระเจดีย์ นำมาเล่นทอยเส้นกัน โดยบางคนได้ใช้ดินเหนียวผูกเชือกหย่อนลงไปในโพรงและดึงขึ้นมาก็จะติดพระขึ้น มาด้วย ผู้ใหญ่บางคนที่พบเห็นก็จะนำไปใส่ไว้ในกรุเหมือนเดิม จนเวลาล่วงเลย ปี พ.ศ. 2509 ทางวัดได้พยายามหาทุนเพื่อสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ มีคนหัวใสขุดกรุพระที่ตาหนอมสร้างไว้นำออกจำหน่ายพร้อมเขียนประวัติเผยแพร่ โดยนั่งเทียนเขียนผูกเรื่องกับสมเด็จพระพุฒาจารย์โต (ซึ่งเป็นคนละยุคสมัยกัน) มีการเชื้อเชิญคนใหญ่คนโตในจังหวัด มีการถ่ายทอดสภานีโทรทัศน์ในการทำพิธิยกช่อฟ้าพระอุโบสถ จนเป็นที่โจษจันท์กันไปทั่วประเทศ ในวาระนั้นยังคงตอกย้ำด้วยการสร้างรูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์โตไว้ที่วัด[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ชาวบ้านที่รู้ความเป็นมาของพระตาหนอม ไม่มีใครกล้าปริปาก ส่วนหนึ่งก็ไม่มีใครยากขวางความเจริญที่เข้ามาสู่วัดโพธิและท้องถิ่น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยเหตุ เพราะพระที่สร้างโดยชายชราชาวบ้านคนหนึ่ง หรือจะเทียบกับพระที่สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์โต แม้จะเป็นเรื่องอุบายเสริมแต่งก็ตามที แต่ที่ทุกคนมองข้ามไปก็คือ เจตนาบริสุทธิของชาวพุทธที่หาได้ยากยิ่ง คำครหาที่ว่าตาหนอมวิกลจริต คงไม่ต่างกับคำครหาที่มีต่อพระเถระอาจารย์ และฆาราวาสผู้เรืองเวทย์ในอดีตหลายๆท่านเหมือนกัน[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อ พิจารณาพระเครื่องกรุวัดโพธิ์บางปะอิน น่าจะเป็นพระเครื่องที่นักนิยมพระรุ่นใหม่ควรให้ความสนใจ เนื่องด้วยมีเหตุผลหลักๆ ดังต่อไปนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT][FONT=&quot]
    1.พระมีอายุการสร้างเก่าแก่เป็นร้อยปี ราคาไม่แพง<o></o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot]2.สร้างด้วยเจตนาอันบริสุทธิและศรัทธาอย่างแรงกล้ายิ่งรวมถึงความมานะอุตสาหะซึ่งหาได้ยากยิ่งในปัจจุบัน<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]3.เป็นพระที่มีประสบการณ์เป็นที่โจษจรรย์มากและมีมานานแล้ว<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]4.เป็นพระที่ก่อให้เกิดความเจริญต่อพระพุทธศาสนา และวัดโพธิ์บางปะอิน อย่างเป็นรูปธรรมที่เห็นได้<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]5.เป็นพระที่กาลเวลาพิสูจน์ได้ว่า ตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้สร้าง คือ สืบทอดพระพุทธศาสนา<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกวันนี้ เมื่อเราไปทำบุญ ณ วัดโพธิ์บางปะอิน จะพบเห็นสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นของใหม่เกือบทั้งหมด มองดูล้วนครบถ้วนสมบูรณ์ดีทุกๆสิ่ง แต่ก็ยังรู้สึกว่าขาดอะไรไปบางอย่างที่ วัดอื่นๆที่มีพระกรุพระเกจิอาจารย์ดังๆ เขามีกันแต่วัดนี้ไม่มี ทางวัดยังลืมหรือขาดซึ่งรูปหล่อรูปเหมือนของตาหนอม[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ฆาราวาสผู้ซึ่งอุปถัมป์ค้ำชูและจรรโลงพระพุทธศาสนาไว้นั่นเอง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2010
  5. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    เหรียญ M16 ลพ.แพ วัดพิกุลทอง สิงห์บุรี เหรียญดีมีประสพการณ์มากมายครับ ราคา 600 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระสมเด็จพลอย นพเก้า วัดราชนัดดาฯ ลพ.กวย เป็นประธานเศก จัดสร้างโดยพระมหาโกเมส คณะ 6 วัดราชนัดดาฯ ปี2512ปลุกเศกโดย หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม และคณาจารย์ชื่อดังยุคนั้นมากมายหลายท่านครับ มีหลายพิมพ์ซึ่งจากพิธีนี้หลวงพ่อกวยท่านได้นำรูปแบบพระเครื่องบางพิมพ์ที่ ท่านชื่นชอบนี้ นำไปประยุกต์สร้างที่วัดโฆษิตาราม เช่น ปรกโพธิ์ 9 ใบ พระชินราช เป็นต้น พระชุดนี้ถือว่า เป็นของดีราคาถูก มีประวัติการสร้างที่แน่นอน ถือเป็นพระนอกวัด(วัดโฆษิตาราม) ที่หลวงพ่อกวยท่านเศก น่าสนใจอีกรุ่นหนึ่งนะครับ พบหาได้ยากเหมือนกันครับพระสมเด็จพลอยนพเก้า วัดราชนัดดาฯ ลพ.กวย เป็นประธานเศก จัดสร้างโดยพระมหาโกเมส คณะ 6 วัดราชนัดดาฯ ปี2512ปลุกเศกโดย หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม และคณาจารย์ชื่อดังยุคนั้นมากมายหลายท่านครับ มีหลายพิมพ์ซึ่งจากพิธีนี้หลวงพ่อกวยท่านได้นำรูปแบบพระเครื่องบางพิมพ์ที่ ท่านชื่นชอบนี้ นำไปประยุกต์สร้างที่วัดโฆษิตาราม เช่น ปรกโพธิ์ 9 ใบ พระชินราช เป็นต้น พระชุดนี้ถือว่า เป็นของดีราคาถูก มีประวัติการสร้างที่แน่นอน ถือเป็นพระนอกวัด(วัดโฆษิตาราม) ที่หลวงพ่อกวยท่านเศก น่าสนใจอีกรุ่นหนึ่งนะครับ พบหาได้ยากเหมือนกันครับฯ ลพ.กวย เป็นประธานเศก จัดสร้างโดยพระมหาโกเมส คณะ 6 วัดราชนัดดาฯ ปี2512ปลุกเศกโดย หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม และคณาจารย์ชื่อดังยุคนั้นมากมายหลายท่านครับ มีหลายพิมพ์ซึ่งจากพิธีนี้หลวงพ่อกวยท่านได้นำรูปแบบพระเครื่องบางพิมพ์ที่ ท่านชื่นชอบนี้ นำไปประยุกต์สร้างที่วัดโฆษิตาราม เช่น ปรกโพธิ์ 9 ใบ พระชินราช เป็นต้น พระชุดนี้ถือว่า เป็นของดีราคาถูก มีประวัติการสร้างที่แน่นอน ถือเป็นพระนอกวัด(วัดโฆษิตาราม) ที่หลวงพ่อกวยท่านเศก น่าสนใจอีกรุ่นหนึ่งนะครับ พบหาได้ยากเหมือนกันครับ ราคา 650 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. chumsakchee

    chumsakchee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    488
    ค่าพลัง:
    +1,651
    ได้รับพระที่ส่งมาแล้วครับ
     
  8. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    เหรียญหมดห่วง รุ่น"รัตนตรัย" หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ สภาพสวย ราคา 400 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระสมเด็จพิมพ์ข้างแจกัน เนื้อดินที่เหลือจากการปั้นหุ่นหล่อสมเด็จฯ(โต)องค์ใหญ่ผสมผงพุทธคุณและผงเก่าของสมเด็จฯ(โต) จัดสร้างโดยเจ้าคุณฯเที่ยง วัดระฆังฯ ประมาณปี 2506 ด้านหลังมีปั้มตรา คณะ4วัดระฆังฯ ปลุกเสกโดย หลวงปู่หิน หลวงปู่นาค แห่งวัดระฆังฯ หายาก สภาพสวย ราคา 650 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. wn

    wn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2008
    โพสต์:
    245
    ค่าพลัง:
    +887
    รูปเหมือนและพระพุทธ รุ่นปฐวีธาตุ ลป.คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย นครพนม ปี 2536 กล่องเดิม ราคาองค์ละ 400 บาท ถ้ารับเป็นคู่ๆละ 700 บาท มีหลายองค์ครับ<!-- google_ad_section_end -->

    ขอจองครับ
     
  11. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระสมเด็จ เนื้อผงน้ำมัน ปี๒๕๑๒ พระมหาโกเมส วัดราชนัดดา กทม. (พิธีปลุกเสก พิธีเดียวกับพระสมเด็จ"พระพุทธบาทประชารักษ์" ลป.โต๊ะ,ลพ,กวย,ลพ.หน่าย ฯลฯ ปลุกเสก)
    สภาพสวย ถือว่าเป็นพระนอกวัด ของดีราคาถูกของ ลพ.กวยครับ สภาพสวย ราคา 650 บาท


    ***สมเด็จพระพุทธบาทประชารักษ์***
    พระสมเด็จรุ่นนี้พระธรรมรัตนากร(หลวงพ่อใหญ่)เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาท เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี(ในขณะนั้น)ได้เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้างเนื่องจากท่านเห็นว่าวัดพระพุทธบาทยังไม่เคยมีการจัดสร้าง พระพิมพ์สมเด็จมาก่อนเลยและท่านได้เห็นดอกไม้ที่ประชาชนนำมาใส่บาตรพระช่วงเทศกาลเข้าพรรษาเป็นจำนวนมาก ท่านจึงได้ให้รวบรวมไว้นำมาเป็นมวลสารในการจัดสร้างและอีกวัตถุประสงค์หนึ่งเพื่อแจกแก่ผู้ที่เข้ามาแสดงมุตาจิตที่ท่าน ได้เลื่อนสมณศักดิ์ และส่วนหนึ่งนำมาจำหน่ายแก่ประชาชนที่มานมัสการรอยพระพุทธบาทในราคาองค์ละสิบบาทเพื่อเป็นที่ระลึก
    การจัดสร้างมีการดำเนินการโดยทางวัดเองเริ่มประมาณในปีพ.ศ.2512 โดยมี “พระมหาโกเมศ” จากวัดราชนัดดาซึ่งมีความสนิทกับท่านพระธรรมรัตนากรเป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง โดยพิมพ์พระเป็นพิมพ์ที่ท่านพระมหาโกเมศจัดหามาเท่าที่ทราบมีประมาณสิบกว่าพิมพ์ โดยเรียกชื่อพิมพ์คล้ายกันกับสมเด็จบางขุนพรหมแต่ได้แกะพิมพ์ให้แตกต่างกันออกไป และการพิมพ์องค์พระทำเป็นแบบสองหน้าก็มี ที่เรียกชื่อเท่าที่พบ
    ๑) พิมพ์ทรงเจดีย์
    ๒) พิมพ์ฐานขาสิงห์
    ๓) พิมพ์เกศบัวตูม
    ๔) พิมพ์ปรกโพธิ์
    ๕) พิมพ์อกครุฑ
    ๖) พิมพ์ฐานแซม
    ๗) พิมพ์วัดเกศ
    ****พิมพ์นอกจากนี้จะเป็นพิมพ์พิเศษที่ทำขึ้นมาเพื่อแจกแก่ผู้ที่มาช่วยงาน เช่น ทำเป็นพิมพ์สองหน้า****
    ส่วนเนื้อพระจะแบ่งออกเป็นสามสีคือ
    ๑)เนื้อสีน้ำตาลหรือเนื้อเกสร สร้างจำนวนไม่มาก ไม่ได้นำออกจำหน่าย
    ๒) เนื้อสีเปลือกมังคุด สร้างจำนวนน้อยสุด ไม่ได้นำออกจำหน่าย
    ๓) เนื้อสีขาวสร้างจำนวนมากและนำมาจำหน่ายองค์ละสิบบาท
    พระทั้งหมดจัดสร้างจำนวนเท่าใดไม่ทราบ
    เมื่อทำการกดพิมพ์พระเป็นจำนวนพอแก่ความต้องการแล้วได้จัดพิธีพุทธาภิเศกที่ศาลาหอเย็นใกล้รอยพระพุทธบาทในปี พ.ศ.๒๕๑๕ พิธีใหญ่มาก มีพระเกจิอาจารย์ดังๆในยุคนั้นได้รับนิมนต์ให้มาร่วมในพิธีปลุกเสกมากมาย อาทิ..
    หลวงปู่โต๊ะวัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
    หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โกร่งธนู
    หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
    ฯลฯ
    และในปีพ.ศ. ๒๕๒๒ได้เข้าพิธีอีกครั้งหนึ่ง มีพระเกจิมาร่วมปลุกเสก เช่น
    หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
    หลวงพ่อเชื้อวัดใหม่บำเพ็ญบุญ
    พระราชอุทัยกวี (หลวงพ่อพุธ)เจ้าคณะจังหวัดอุทัย (องค์นี้งูเห่าแผ่แม่เบี้ยท่านชี้มือสยบเลยจากคำบอกเล่าของผู้ที่ไปนิมนต์ท่าน)
    หลวงปู่นาค วัดหนองโปร่ง
    หลวงพ่อสุวรรณ วัดเขาบ่มกล้วย
    หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โกร่งธนู
    ฯลฯ
    และยังมีพระอีกส่วนหนึ่งที่พระมหาโกเมศได้นำมาร่วมในพิธีด้วยท่านจะสร้างในคราวเดียวกันหรือนำมาจากวัดราชนัชดาก็ไม่ทราบ สอบถามได้ใจความไม่ตรงกันบ้างว่ากดพิมพ์พร้อมกันเป็นพระพิมพ์คลายกันแต่มีเศษพลอยสีต่างๆผสมอยู่ในเนื้อพระส่วนเนื้อพระจะเป็นสีขาว และได้นำมาแจกในงานฉลองยศของท่านพระธรรมรัตนากรเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทเท่านั้นและหลวงพ่อกวยได้นำพระบางส่วนกลับไปด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2010
  12. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    คุณ wn รบกวนแจงรายละเอียดด้วยว่า จองแบบไหนครับ
     
  13. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระคง เนื้อดินผสมผง ลป.ดู่ วัดสะแก ปี 2520 สภาพสวย นิยมครับ ราคา 600 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    รูปเหมือน เนื้อผง ลพ.โต วัดเขาบ่อทอง ระยอง สภาพสวย ลป.ทิม วัดละหารไร่ปลุกเสกครับ ราคา 750 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2010
  15. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระเนื้อดิน พระเจ้าห้าพระองค์ พิมพ์ทรงพญานาค ลพ.โบ้ย วัดมะนาว หายาก สภาพสวย ราคา 1000 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระเนื้อดินผสมผงใบลาน ลพ.เล็ก วัดท่าอิฐ เก่า หายากครับ ราคา 800 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระสมเด็จ จุลมงกุฎ พระพุทธบาท หลวงพ่อกวย และ หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสก เนื้อน้ำตาล พิธีใหญ่สภาพสวย ราคา 750 บาท

    ***สมเด็จพระพุทธบาทประชารักษ์***
    พระสมเด็จรุ่นนี้พระธรรมรัตนากร(หลวงพ่อใหญ่)เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาท เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี(ในขณะนั้น)ได้เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้างเนื่องจากท่าน เห็นว่าวัดพระพุทธบาทยังไม่เคยมีการจัดสร้าง พระพิมพ์สมเด็จมาก่อนเลยและท่านได้เห็นดอกไม้ที่ประชาชนนำมาใส่บาตรพระช่วง เทศกาลเข้าพรรษาเป็นจำนวนมาก ท่านจึงได้ให้รวบรวมไว้นำมาเป็นมวลสารในการจัดสร้างและอีกวัตถุประสงค์หนึ่ง เพื่อแจกแก่ผู้ที่เข้ามาแสดงมุตาจิตที่ท่าน ได้เลื่อนสมณศักดิ์ และส่วนหนึ่งนำมาจำหน่ายแก่ประชาชนที่มานมัสการรอยพระพุทธบาทในราคาองค์ละ สิบบาทเพื่อเป็นที่ระลึก
    การจัดสร้างมีการดำเนินการโดยทางวัดเองเริ่มประมาณในปีพ.ศ.2512 โดยมี “พระมหาโกเมศ” จากวัดราชนัดดาซึ่งมีความสนิทกับท่านพระธรรมรัตนากรเป็นผู้ดำเนินการจัด สร้าง โดยพิมพ์พระเป็นพิมพ์ที่ท่านพระมหาโกเมศจัดหามาเท่าที่ทราบมีประมาณสิบกว่า พิมพ์ โดยเรียกชื่อพิมพ์คล้ายกันกับสมเด็จบางขุนพรหมแต่ได้แกะพิมพ์ให้แตกต่างกัน ออกไป และการพิมพ์องค์พระทำเป็นแบบสองหน้าก็มี ที่เรียกชื่อเท่าที่พบ
    ๑) พิมพ์ทรงเจดีย์
    ๒) พิมพ์ฐานขาสิงห์
    ๓) พิมพ์เกศบัวตูม
    ๔) พิมพ์ปรกโพธิ์
    ๕) พิมพ์อกครุฑ
    ๖) พิมพ์ฐานแซม
    ๗) พิมพ์วัดเกศ
    ****พิมพ์นอกจากนี้จะเป็นพิมพ์พิเศษที่ทำขึ้นมาเพื่อแจกแก่ผู้ที่มาช่วยงาน เช่น ทำเป็นพิมพ์สองหน้า****
    ส่วนเนื้อพระจะแบ่งออกเป็นสามสีคือ
    ๑)เนื้อสีน้ำตาลหรือเนื้อเกสร สร้างจำนวนไม่มาก ไม่ได้นำออกจำหน่าย
    ๒) เนื้อสีเปลือกมังคุด สร้างจำนวนน้อยสุด ไม่ได้นำออกจำหน่าย
    ๓) เนื้อสีขาวสร้างจำนวนมากและนำมาจำหน่ายองค์ละสิบบาท
    พระทั้งหมดจัดสร้างจำนวนเท่าใดไม่ทราบ
    เมื่อทำการกดพิมพ์พระเป็นจำนวนพอแก่ความต้องการแล้วได้จัดพิธีพุทธาภิเศกที่ ศาลาหอเย็นใกล้รอยพระพุทธบาทในปี พ.ศ.๒๕๑๕ พิธีใหญ่มาก มีพระเกจิอาจารย์ดังๆในยุคนั้นได้รับนิมนต์ให้มาร่วมในพิธีปลุกเสกมากมาย อาทิ..
    หลวงปู่โต๊ะวัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
    หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โกร่งธนู
    หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
    ฯลฯ
    และในปีพ.ศ. ๒๕๒๒ได้เข้าพิธีอีกครั้งหนึ่ง มีพระเกจิมาร่วมปลุกเสก เช่น
    หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
    หลวงพ่อเชื้อวัดใหม่บำเพ็ญบุญ
    พระราชอุทัยกวี (หลวงพ่อพุธ)เจ้าคณะจังหวัดอุทัย
    หลวงปู่นาค วัดหนองโปร่ง
    หลวงพ่อสุวรรณ วัดเขาบ่มกล้วย
    หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โกร่งธนู
    ฯลฯ
    และยังมีพระอีกส่วนหนึ่งที่พระมหาโกเมศได้นำมาร่วมในพิธีด้วยท่านจะสร้างใน คราวเดียวกันหรือนำมาจากวัดราชนัชดาก็ไม่ทราบ สอบถามได้ใจความไม่ตรงกันบ้างว่ากดพิมพ์พร้อมกันเป็นพระพิมพ์คลายกันแต่มี เศษพลอยสีต่างๆผสมอยู่ในเนื้อพระส่วนเนื้อพระจะเป็นสีขาว และได้นำมาแจกในงานฉลองยศของท่านพระธรรมรัตนากรเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทเท่า นั้นและหลวงพ่อกวยได้นำพระบางส่วนกลับไปด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2010
  18. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระเนื้อดินผสมผง พิมพ์สมเด็จ ปางประจำวันพฤหัสบดี วัดห่อหมก อยุธยา ปี 2476 พิมพ์นี้หายาก ลพ.จง ปลุกเสก / ลป.ทอง วัดราชโยธา เป็นประธานพิธี พิธีใหญ่ รวมเกจิดังๆในยุคนั้นร่วมกันปลุกเสก ขนาดองค์พระ 1.8 x 2.8 ซม.ครับ ราคา 1000 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2010
  19. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระเนื้อดิน ผสมผง พิมพ์ยืน ปางประจำวันศุกร์ วัดห่อหมก อยุธยา ปี 2476 ลพ.จง ปลุกเสก / ลป.ทอง วัดราชโยธา เป็นประธานพิธี พิธีใหญ่ รวมเกจิดังๆในยุคนั้นร่วมกันปลุกเสกครับ ขนาดองค์พระ 1.5 x 3.5 ซม. ราคา 700 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. prakrueng

    prakrueng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    14,063
    ค่าพลัง:
    +1,867
    พระเนื้อดิน ผสมผง พิมพ์นาคปรก ปางประจำวันเสาร์ วัดห่อหมก อยุธยา ปี 2476 พิมพ์นี้หายาก ลพ.จง ปลุกเสก / ลป.ทอง วัดราชโยธา เป็นประธานพิธี พิธีใหญ่ รวมเกจิดังๆในยุคนั้นร่วมกันปลุกเสก ขนาดองค์พระ 1.7 x 3 ซม.ครับ ราคา 850 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

แชร์หน้านี้

Loading...