สมาธิในบ้านทุกท่านทำได้จริง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย บดินทร์จ้า, 17 มิถุนายน 2008.

  1. Leopud

    Leopud สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +24
    กราบอนุโมทนาบุญ กับ คุณบดินทร์ ครับ ที่นำประสพการณ์จริงของการปฏิบัติมาเล่าให้ฟัง
    เป็นประโชชน์ กับผู้ที่กำลังปฏิบัติ แล้วเกิดความลังเลสงสัยอยู่ และทำให้เกิดกำลังใจ
    และความตั้งใจในการปฏิบัติมากยิ่งขึ้น ขอกราบอนุโมทนากับทุกท่านที่ได้เข้ามาอ่าน
    และ share ประสพการณ์ สอบถามและเสนอแนะทุกท่านครับ ขอความเจริญก้าวหน้าใน
    ธรรมจงมีแด่ทุกท่าน ครับผม
     
  2. ทดแทน

    ทดแทน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    580
    ค่าพลัง:
    +116
    ขอบคุณสำหรับบทความและคำชี้เเนะครับ ขออนุโมทนาในบุญที่ได้ทำมาครับอนุโมทนากับเจ้าของกระทู้ครับ สาธุ สาธุ สาธุ
     
  3. mooo

    mooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +360
    อนุโมทนาบุญครับ กับความรู้ดีๆที่นำมาฝึกปฎิบัติอยู่ครับ
     
  4. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]โพธิปักขิยธรรม[/FONT][FONT=&quot]ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้[/FONT], [FONT=&quot]ธรรมที่เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี ๓๗ ประการคือ[/FONT][FONT=&quot]สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ [/FONT]<o></o> [FONT=&quot]พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘[/FONT] <o></o>
    [FONT=&quot]

    โพชฌงค์[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมที่เป็นองค์แห่งการ[/FONT][FONT=&quot]ตรัสรู้หรือองค์ของผู้ตรัสรู้มี ๗ อย่าง คือ ๑. สติ ๒. ธัมมวิจยะ[/FONT] ([FONT=&quot]การสอดส่องเลือกเฟ้นธรรม) ๓. วิริยะ ๔. ปิติ ๕. ปัสสัทธิ ๖. สมาธิ ๗.[/FONT][FONT=&quot]อุเบกขา[/FONT]
    <o></o>

    [FONT=&quot]พละ[/FONT][FONT=&quot]กำลัง [/FONT]1.[FONT=&quot]พละ ๕[/FONT][FONT=&quot]คือธรรมอันเป็นกำลัง ซึ่งเป็นเครื่องเกื้อหนุนแก่อริยมรรค จัดอยู่ในจำพวกโพธิปักขิยธรรม มี ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา[/FONT]; [FONT=&quot]ดู[/FONT][FONT=&quot]อินทรีย์ ๕[/FONT]<o></o><o></o>
    [FONT=&quot]อินทรีย์[/FONT][FONT=&quot]ความเป็นใหญ่[/FONT], [FONT=&quot]สภาพที่เป็นใหญ่ในกิจของตน[/FONT], [FONT=&quot]ธรรมที่เป็นเจ้าการในการทำหน้าที่อย่างหนึ่งๆ[/FONT][FONT=&quot]เช่น ตาเป็นใหญ่หรือเป็นเจ้าการในการเห็น หูเป็นใหญ่ในการได้ยิน[/FONT][FONT=&quot]ศรัทธาเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธาเป็นต้น [/FONT]1) [FONT=&quot]อินทรีย์ ๖[/FONT][FONT=&quot]ได้แก่[/FONT][FONT=&quot]อายตนะภายใน ๖[/FONT][FONT=&quot]คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ [/FONT]2) [FONT=&quot]อินทรีย์ ๕ ตรงกับ[/FONT][FONT=&quot]พละ ๕[/FONT][FONT=&quot]คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ธรรม ๕ อย่างชุดเดียวกันนี้ เรียกชื่อต่างกันไป ๒ อย่าง ตามหน้าที่ที่ทำ คือ เรียกชื่อว่า[/FONT][FONT=&quot]พละ[/FONT][FONT=&quot]โดยความหมายว่า เป็นกำลังทำให้เกิดความเข้มแข็งมั่นคง ซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างจะเข้าครอบงำไม่ได้ เรียกชื่อว่า[/FONT][FONT=&quot]อินทรีย์[/FONT][FONT=&quot]โดย[/FONT][FONT=&quot]ความหมายว่าเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างคือความ[/FONT][FONT=&quot]ไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงงมงาย[/FONT][FONT=&quot]ตามลำดับ[/FONT]
    [FONT=&quot]อินทรียสังวร[/FONT][FONT=&quot]สำรวมอินทรีย์[/FONT][FONT=&quot]๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง[/FONT][FONT=&quot]ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ[/FONT], [FONT=&quot]ระวังไม่ให้กิเลสครอบงำใจในเวลารับรู้อารมณ์ทางอินทรีย์ทั้ง ๖ [/FONT]<o></o><o></o>

    [FONT=&quot]สติปัฏฐาน[/FONT][FONT=&quot]ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ[/FONT], [FONT=&quot]ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน[/FONT], [FONT=&quot]การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง[/FONT], [FONT=&quot]การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย[/FONT][FONT=&quot]โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย[/FONT][FONT=&quot]ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่างคือ[/FONT][FONT=&quot]๑.กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน[/FONT][FONT=&quot]การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย[/FONT], [FONT=&quot]การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย[/FONT][FONT=&quot]๒.เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน[/FONT][FONT=&quot]การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา[/FONT], [FONT=&quot]การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันเวทนา[/FONT], [FONT=&quot]๓.จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน[/FONT][FONT=&quot]การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต[/FONT], [FONT=&quot]การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการของจิต[/FONT][FONT=&quot]๔.ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน[/FONT][FONT=&quot]การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม[/FONT], [FONT=&quot]การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันธรรม[/FONT]; [FONT=&quot]เรียกสั้น ๆ ว่า กาย เวทนา จิต ธรรมpity_pig[/FONT]<o></o>
     
  5. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]อิทธิบาท[/FONT][FONT=&quot]คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ[/FONT], [FONT=&quot]คุณเครื่องสำเร็จประสงค์[/FONT], [FONT=&quot]ทางแห่งความสำเร็จมี ๔ คือ[/FONT][FONT=&quot]๑) ฉันทะ[/FONT][FONT=&quot]ความพอใจรักใคร่สิ่งนั้น[/FONT][FONT=&quot]๒) วิริยะ[/FONT][FONT=&quot]ความพยายามทำสิ่งนั้น[/FONT][FONT=&quot]๓) จิตตะ[/FONT][FONT=&quot]ความเอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น[/FONT][FONT=&quot]๔) วิมังสา[/FONT][FONT=&quot]ความพิจารณาใคร่ครวญหาเหตุผลในสิ่งนั้น[/FONT]; [FONT=&quot]จำง่ายๆ ว่า มีใจรัก พากเพียรทำ เอาจิตฝักใฝ่ ใช้ปัญญาสอบสวน[/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]มรรค[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT], [FONT=&quot]หนทาง [/FONT]1.[FONT=&quot]มรรค[/FONT][FONT=&quot]ว่าโดยองค์ประกอบ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เรียกเต็มว่า[/FONT][FONT=&quot]อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่าทางมีองค์ ๘ ประการอันประเสริฐ เรียกสามัญว่า[/FONT][FONT=&quot]มรรคมีองค์ ๘ คือ[/FONT][FONT=&quot]๑.สัมมาทิฏฐิ[/FONT][FONT=&quot]เห็นชอบ[/FONT][FONT=&quot]๒.สัมมาสังกัปปะ[/FONT][FONT=&quot]ดำริชอบ[/FONT][FONT=&quot]๓.สัมมาวาจา[/FONT][FONT=&quot]เจรจาชอบ ๔.สัมมากัมมันตะ[/FONT][FONT=&quot]ทำการชอบ[/FONT][FONT=&quot]๕.สัมมาอาชีวะ[/FONT][FONT=&quot]เลี้ยงชีพชอบ[/FONT][FONT=&quot]๖.สัมมาวายามะ[/FONT][FONT=&quot]เพียรชอบ[/FONT][FONT=&quot]๗.สัมมาสติ[/FONT][FONT=&quot]ระลึกชอบ[/FONT][FONT=&quot]๘.สัมมาสมาธิ[/FONT][FONT=&quot]ตั้ง[/FONT][FONT=&quot]จิตมั่นชอบ [/FONT]2.[FONT=&quot]มรรค ว่าโดยระดับการให้สำเร็จกิจ คือ[/FONT][FONT=&quot]ทางอันให้ถึงความเป็นอริยบุคคลแต่ละขั้น[/FONT], [FONT=&quot]ญาณที่ทำให้ละสังโยชน์ได้ขาด[/FONT][FONT=&quot]เป็นชื่อแห่งโลกุตตรธรรม คู่กับผล มี ๔ ชั้นคือ โสดาปัตติมรรค ๑[/FONT][FONT=&quot]สกทาคามิมรรค ๑ อนาคามิมรรค ๑ อรหัตตมรรค ๑[/FONT]<o></o>
    <o></o>
    พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค - สัมมัปปธานสังยุตต์<o></o>
    พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน<o></o>
    สัมมัปปธานสังยุต<o></o>
    ว่าด้วยสัมมัปปธาน ๔<o></o>
    [๑๐๙๐] สาวัตถีนิทาน. ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายแล้วตรัส<o></o>
    ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัมมัปปธาน ๔ เหล่านี้ สัมมัปปธาน ๔ เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย<o></o>
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมยังฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ตั้งจิตไว้<o></o>
    เพื่อไม่ให้บาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น ๑ เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๑ เพื่อให้<o></o>
    กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น ๑ เพื่อความตั้งอยู่ เพื่อความไม่เลือนหาย เพื่อความมียิ่งๆ ขึ้นไป<o></o>
    เพื่อความไพบูลย์ เพื่อความเจริญ เพื่อความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่บังเกิดขึ้นแล้ว ๑ ดูกรภิกษุ<o></o>
    ทั้งหลาย สัมมัปปธาน ๔ เหล่านี้แล.<o></o>


    [๑๐๙๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม่น้ำคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน หลั่งไปสู่ทิศปราจีน บ่า<o></o>

    ไปสู่ทิศปราจีน แม้ฉันใด ภิกษุเจริญสัมมัปปธาน ๔ กระทำให้มากซึ่งสัมมัปปธาน ๔ ย่อมเป็น<o></o>
    ผู้น้อมไปสู่นิพพาน โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่นิพพาน ฉันนั้นเหมือนกัน.<o></o>


    [๑๐๙๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเจริญสัมมัปปธาน ๔ กระทำให้มาก ซึ่งสัม<o></o>

    มัปปธาน ๔ อย่างไรเล่า ย่อมเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่นิพพาน?<o></o>
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมยังฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ตั้งจิตไว้<o></o>
    เพื่อไม่ให้บาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น ๑ เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๑ เพื่อให้<o></o>
    กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น ๑ เพื่อความไม่เลือนหาย เพื่อความมียิ่งๆ ขึ้นไป เพื่อความ<o></o>
    ไพบูลย์ เพื่อความเจริญ เพื่อความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย<o></o>
    ภิกษุเจริญสัมมัปปธาน ๔ กระทำให้มากซึ่งสัมมัปปธาน ๔ อย่างนี้แล ย่อมเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน<o></o>
    โน้มไปสู่นิพพาน โอนไปสู่นิพพาน.
    <o></o>
     
  6. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ตอนนี้นั่งดูอยู่หน้าคอม ท่านหายใจอย่างไร ก็อย่างนั้นล่ะครับ เพียงแค่เติมคำภาวนาเท่านั้น ให้มีอยู่ทุกเวลา ทุกอริยาบถครับ
     
  7. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ตามรูู้ไปนะครับ อย่าบังคับ..... การหายใจเบาจริงๆนั้น อย่าไปฝืน ให้มันเบาเองไปเรื่อยๆ แล้วท่านจะเข้าภวังค์ ลมหายใจก็จะละเอียดมากขึ้น เพื่อเข้าสู่ระดับที่ละเอียดมากขึ้น
    และอีกอย่างจงอย่าสนใจ ว่าจะต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ จนเกิดอาการจิตปักหมุดพอจิตมาถึงจุดที่เราปักไว้จะเกิดหลุดจากองค์สมาธินะครับ สรุปไปเรื่อยๆครับ
     
  8. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ประสบการณ์ แรงดึงดูดแห่งวิญญาณของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ประสบการณ์นี้เกิดขึ้นในคืนหนึ่งของเดือน กุมภาพันธ์ 52 ช่วงนั้นสมาธิของผู้เขียนมีอารมณ์ หนักแน่นมาก คือ ร่างกายหยาบกับร่างกายละเอียด เตรียมพร้อมที่จะแยกออกจากกันอยู่ทุกขณะเวลา ในคืนนั้นข้าพเจ้ากำเนิดลมหายใจปกติ แล้วก็รู้สึกว่าเจ้ากายทิพย์นั้นพร้อมที่จะออกมาจากกายหยาบ ข้าพเจ้าจึงปล่อยกายทิพย์นี้ออกมา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ครั้งแรก พอออกมา ข้าพเจ้าก็พิจารณาเจ้าร่างกายทิพย์ ดู เอ๋ ทำไมไม่มีแสงสว่างออกมาจากกาย ด้วยความว่าไม่รู้ ว่าอวิชชากำลังครอบงำอยู่ (คือหลง ยึดติดว่ากายทิพย์จะต้องคงสภาวะเดิมอยู่ตลอด) ดังนั้นข้าพเจ้า จึง กำเนิดจิตกลับเข้ากายหยาบอีกครั้งหนึ่ง แล้วก็ถอดกายทิพย์ออกเป็นครั้งที่ สอง ก็ยังเหมือนเดิมอีก ก็กลับเข้ากายหยาบอีกครั้ง แล้วก็ถอดกายทิพย์อีกรอบที่ สาม ก็เหมือนเดิมอีก ทีนี้ก็ถอดอีกรอบที่ สี่ (ระยะเวลาในการถอดกายทิพย์ ทั้ง 4 ครั้ง ใช้ระยะเวลาที่ไม่เกิน 1 ชั่วโมง ) พอถอดกายทิพย์ออกมารอบที่ สี่ ก็พิจารณาดูอีก ก็เหมือนเดิม ก็ช่างมันไม่สนใจแล้วว่าจะต้องคงสภาวะเดิมตลอด ก็เตรียมพร้อมที่จะนำเจ้ากายทิพย์นี้ออกนอกห้อง ทันใดนั้นแรงดึงดูดมหาศาล เกิด ดูดกายทิพย์นี้ไป มันมีแรงดึงดูดที่มาก ตัวข้าพเจ้าก็รวบรวมสมาธิทั้งหมดกำเนิดจิตกลับร่างกายหยาบ ด้วยความที่ถอดเข้าถอดออกบ่อยๆจนเป็นวสี จึงทำให้ผู้เขียนกลับมาพูดคุยและเล่าประสบการณ์เหล่านี้ได้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ทีนี้ก็มาพิจารณาดู เอ๋เหตุการณ์ นี้ มันเกิดขึ้นได้อย่างไร แรงดึงดูดเหล่านี้มาจากไหน จนได้ข้อสรุปที่ว่าเราถอดกายทิพย์นี้มากเกินไปคือ ถอดถึง 4 ครั้ง ภายในระยะเวลาไม่ถึง 1 ชั่วโมง ทำให้กายทิพย์นี้มีกำลังลดน้อยถอยลงไปตามลำดับ จนกระทั้งกายเป็นวิญญาณ ที่อ่อนแอและหมดกำลังไปเอง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สำหรับแรงดึงดูดมหาศาลนั้น โดยปกติแล้วข้าพเจ้าก็พอจะรู้ว่านั่นคือแรงดึงดูดแห่งพื้นธรณี ที่จะดูดเหล่าวิญญาณของสัตว์ทั้งหลายที่มีกำลังวิญญาณที่อ่อนแอ เช่น นก หมู หมา กา ไก่ หรือบุคคลที่หมดอายุขัย เป็นต้น ให้ไปรวมกันที่จุดใดจุดหนึ่งในโลกเบื้องต่ำ เพื่อรอการตัดสิน ผลบาปและผลบุญ ที่ยังมีติดค้าง อยู่ครับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สิ่งมี่ผู้เขียนได้รับจากประสบการณ์ในครั้งนี้ คือ
    [/FONT]

    [FONT=&quot] 1.เกิดวสีในการเข้าออกของกายทิพย์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] 2.หายข้อสงสัยในเรื่องดวงวิญญาณของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]3.ไม่ควรถอดกายทิพย์เกิน 3 ครั้ง <o></o>[/FONT]

    ;36rabbit_
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2009
  9. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ประสบการณ์สมาธิ [/FONT]:[FONT=&quot](ผลที่พึงได้รับจากการสวดมนตร์ก่อนเจริญสมาธิเป็นประจำ)[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ประสบการณ์นี้เป็นประสบการณ์ต่อเนื่องอีกวันหนึ่งต่อจากประสบการณ์(แรงดึงดูดของวิญญาณ)ในคืนนี้นั้นข้าพเจ้าได้ถูกทดสอบจิตอีกครั้งหนึ่ง (ซึ่งโดยปกติก็โดนทดสอบหลายครั้งแล้วจึงเป็นเรื่องปกติธรรมดามากครับ คิดเสมอว่า มารไม่มี บารมีไม่เกิด ) ในขณะที่เข้าภวังค์กึ่งหลับกึ่งตื่น ได้ปรากฏงูยักษ์ ตัวใหญ่ขนาดเท่าคนปกติ ห้อยขื่อลงมาจากตัวบ้าน ทั้งสองตัวมากอดรัดตัวผู้เขียนไว้ ด้วยความเคยชิน ก็ท่องคาถาไปหลายชุด แต่ก็ยังไม่สงบ ถูกรัดแน่นขึ้นเรื่อยๆ มือทั้งสองข้างของข้าพเจ้าก็จับที่หัวเจ้างูทั้งสองตัว มันพยายามที่จะกลืนกินร่างกายของข้าพเจ้าให้ได้ เอาล่ะสิ เริ่มจะเหนื่อยแล้ว ก็เลยนึกถึงบทสวดมนต์อีกบทหนึ่ง คือ บทสวดมนต์ อิติปิโส ภาควา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พอท่องบทนี้ ปุ๊บ ปรากฏว่า เจ้างูใหญ่ทั้ง สองตัวเริ่มหมดแรง และก็ตัวเริ่มเล็กลงเรื่อยๆ หากสวดมนต์ผิด เจ้างูทั้งสองตัวก็มีแรงสู้ขึ้นมา ต้องคุมสติไว้ไม่ให้สวดผิด สวดเร็วเสียงสุภาพสตรี มาจากไหนไม่รู้ ก็บอกว่า ไวไป ........สวดช้าเกิน ก็บอกว่าช้าไป ต้องสวดมนต์ให้ไม่เร็วเกินและไม่ช้าเกินไป จนกระทั่ง เจ้างุใหญ่ทั้ง สองตัว ก็กลายเป็นตัวเล็ก ความยาวไม่เกินช่วงแขน ข้าพเจ้าก็หัวเราะมัน แหม..... พอหัวเราะมันหน่อยเดียว เจ้างูนั่นก็เริ่มขยายใหญ่ขึ้นแฮะ เผลอไม่ได้เลย ก็สวดมนต์ใหม่ จนกระทั้งเจ้างูทั้งสองตัวสงบลง จนกระทั้งหายไป พร้อมกับการออกจากภวังค์ แต่ก็ยังท่องบทสวดมนต์อยู่ซักพัก จนแน่ใจว่าผ่านบททดสอบ แล้ว ก็ลุกมานั่งหัวเราะอยู่คนเดียว ........ ผ่านไปอีกบททดสอบหนึ่ง ....สนุกดี ครับ[/FONT]
    [FONT=&quot] จะเห็นได้ว่า [/FONT][FONT=&quot]ผลของการสวดมนต์นั้น......ดีอย่างนี้ นี่เอง ไว้ต่อสู่กับพวกเสนามารทั้งหลาย ซึ่งมีกำลังที่แตกต่างกันไปเรื่อยๆ คำภาวนาจะเปลี่ยนไปเองโดยอัตโนมัติ อย่างเช่น จากบท "พุธโธ" เปลี่ยนเป็นบท "พาหุง" หรือ "บทอิติปิโส" เป็นต้น ไม่จำกัดตายตัว... ว่าจะต้องเป็นบทนั้น บทนี้[/FONT][FONT=&quot] เปลี่ยนไปตามเหตุการณ์นั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นพวกลองวิชา หรือ เหล่ามาร ก็พ่ายแพ้หมดด้วยอำนาจแห่งพระรัตนตรัย


    :z8[/FONT]
    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 เมษายน 2009
  10. nutt2522

    nutt2522 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    106
    ค่าพลัง:
    +70
    ลองนั่งสมาธิมานานแล้ว แต่มีเรื่องสงสัยอยู่อย่างนึงค่ะ เวลาเรานอนทำสมาธิ พอจิตตกภวังค์(เคลิ้มๆ)แต่เรามีสติรู้ตัวตลอด ตอนนี้จะเห็นตัวเราอีกคนนึงพยายามสลัดตัวเองออกจากกายเนื้อ ซึ่งข้าพเจ้าก็ทำได้ หลังจากลองมาหลายครั้งแล้ว

    ตนเองคิดว่าอาจจะไม่ใช่การถอดกายทิพย์เพราะ มันหนักอึ้งมากๆ มืดไปหมด ตอนที่ลุกออกมาจากกายเนื้อแล้ว บางทีก็เสียวจี๊ดไปทั้งศีรษะ ก็เลยเลิกไป กลัวมากๆตอนนั้น

    แต่พักหลังๆเริ่มชิน มีครั้งนึง ร่างกำลังลอยขึ้นไปบนเพดาน ก็มีมือของผู้ใดไม่ทราบ ฉุดกระชากให้กลับเข้าร่าง ตกใจมากๆจนตื่นเลยทีเดียว

    ก็เลอยากทราบว่า ทั้งหมดที่เล่ามานี้ มันคือการถอดจิตหรือเปล่าคะ หรือเราฝัน(ก็ไม่น่าจะใช่ เพราะมันเกิดตอนกลางวันเป็นส่วนมาก และ มีสติตลอด) ขอคุณบดินทร์ช่วยตอบทีนะคะ

    อนุโมทนากับสิ่งดีๆค่ะ
     
  11. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ลองนั่งสมาธิมานานแล้ว แต่มีเรื่องสงสัยอยู่อย่างนึงค่ะ เวลาเรานอนทำสมาธิ[/FONT] [FONT=&quot]พอจิตตกภวังค์(เคลิ้มๆ)แต่เรามีสติรู้ตัวตลอด[/FONT] [FONT=&quot]ตอนนี้จะเห็นตัวเราอีกคนนึงพยายามสลัดตัวเองออกจากกายเนื้อ[/FONT] [FONT=&quot]ซึ่งข้าพเจ้าก็ทำได้ หลังจากลองมาหลายครั้งแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]แรกๆจะเห็นตัวเราครับ ซึ่งในขณะแรกออกนั้นจะเป็นในรูปของวิญญาณ ออกจากร่างครับ[/FONT] [FONT=&quot]หากเข้าออกบ่อยๆก็จะกลายเป็นจิตพรหม หรือ กายพรหม หรือ กายทิพย์พรหม ( ผู้เข้าถึงฌาน 4) [/FONT][FONT=&quot]มีสติสมบูรณ์[/FONT][FONT=&quot]กายเบาจิตเบา [/FONT][FONT=&quot] หากเป็น ฌาน 5 ก็จะเบาขึ้นไปตามลำดับ แต่ในฌาน 5 จะพบว่าโลกนี้ไม่มีอะไร มีแต่อากาศเท่านั้น ว่างเปล่า แม้แต่ตัวเรา ก็เปลี่ยนกลมกลืนไปตามอากาศ ไปตามลำดับของฌานครับ [/FONT][FONT=&quot]ด้วยเหตุนี้พระองค์ถึงให้โน้มจิตมาทางวิปัสสนา เพื่อฝึกปัญญาให้รู้เห็นจริง ตามความเป็นจริงแห่งพระไตรลักษณ์ครับ หากเข้าถึงฌาน 4 แล้วครับ[/FONT]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->

    [FONT=&quot]ตนเองคิดว่าอาจจะไม่ใช่การถอดกายทิพย์เพราะ มันหนักอึ้งมากๆ มืดไปหมด[/FONT] [FONT=&quot]ตอนที่ลุกออกมาจากกายเนื้อแล้ว บางทีก็เสียวจี๊ดไปทั้งศีรษะ ก็เลยเลิกไป[/FONT] [FONT=&quot]กลัวมากๆตอนนั้น[/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]สาเหตุก็อย่างที่บอกครับ ท่านยังไม่ได้ฝึกวิปัสสนากรรมฐาน หรือ ฝึกอยู่ แต่วิปัสสนาญาณ ยังไม่เกิด จิตยังหน่วงร่างกายเดิมอยู่ ยังไม่มั่นใจ ยังมีความลังเลอยู่ ยังมีความยึดมั่นถือมั่นอยู่ [/FONT][FONT=&quot]สรุปคือ ยังมีนิวรณ์อยู่ เล็กน้อย ครับ[/FONT]

    [FONT=&quot]แต่พักหลังๆเริ่มชิน มีครั้งนึง ร่างกำลังลอยขึ้นไปบนเพดาน[/FONT] [FONT=&quot]ก็มีมือของผู้ใดไม่ทราบ ฉุดกระชากให้กลับเข้าร่าง ตกใจมากๆจนตื่นเลยทีเดียว[/FONT]

    <o></o>
    [FONT=&quot]นั่นแหละครับ เทวดาผู้รักษาประจำตัว เขารุ้ว่าหากออกไปไกลร่างกายหยาบมากเกินแล้ว จะกลับเข้าร่างไม่ได้ เพราะยังไม่มีวสี ในการเข้าออกอยู่ เผลอๆมัวแต่ดุกิเลสเพลินๆ เวลาผ่านไป 3 วัน 7 วัน คนที่บ้านก็นึกว่าตายแล้วฉีดยากันศพเน่าเสียนี่ แล้วจะกับเข้าร่างอย่างไรล่ะทีนี้ ดังนั้นขอท่านฝึกเข้าออกอยู่ในบริเวณบ้านให้คล่องก่อนนะครับ [/FONT]

    [FONT=&quot]ก็เลอยากทราบว่า ทั้งหมดที่เล่ามานี้ มันคือการถอดจิตหรือเปล่าคะ[/FONT] [FONT=&quot]หรือเราฝัน(ก็ไม่น่าจะใช่ เพราะมันเกิดตอนกลางวันเป็นส่วนมาก และ[/FONT] [FONT=&quot]มีสติตลอด) ขอคุณบดินทร์ช่วยตอบทีนะคะ[/FONT]
    [FONT=&quot]สรุปคือเรื่องจริง เป็นการถอดจิต แต่เป็นจิตพรหม หากเป็นจิตที่เดินตามพระอริยมรรค มีวิปัสสนาญาณเป็นต้น ร่างกายจะมีลักษณะงูที่ลอกคราบ กายทิพย์จะมีลักษณะเบากว่าร่างกายเดิมเล็กน้อย สติสมบูรณ์มากๆ เหมือนตอนอยู่กับกายเนื้อ หากเข้าออกบ่อย ๆจะเหมือน กายเนื้อ ทีนี้ก็สามารถกระทำซึ่งอิทธิวิธี ดังที่พระอรหันต์ทั้งหลายท่านทำให้ดู ซึ่งเป็นจิต ของพระอริยบุคคล ตั้งแต่พระโสดาบัน ขึ้นไปครับ[/FONT]
     
  12. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    อ้างอิง:
    <table width="100%" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border: 1px inset ;"> ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nui_sirada [​IMG]
    นั่งสมาธิอยู่เหมือนกันค่ะ แต่ก็ได้ยินคนพูดถึงกายทิพย์บ่อยจัง กายทิพย์เป็นไงค่ะ ผู้รู้ช่วยอธิบายให้เข้าใจหน่อยค่ะ หมายถึงวิญญาณออกจากร่างเหรอค่ะ หรือจิตเราค่ะ
    </td> </tr> </tbody></table>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot] ความหมาย ตาม ธรรมะ-พจนานุกรมพุทธศาสน์ ประมวลศัพธ์
    [/FONT]

    [FONT=&quot]วิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้แจ้งอารมณ์[/FONT], [FONT=&quot]จิต[/FONT], [FONT=&quot]ความรู้ที่เกิดขึ้นเมื่ออายตนะภายในและอายตนะภายนอกกระทบกัน เช่น[/FONT] [FONT=&quot]รูปอารมณ์ในเวลาเมื่อรูปมากระทบตา เป็นต้น ได้แก่ การเห็น[/FONT] [FONT=&quot]การได้ยินเป็นอาทิ[/FONT]; [FONT=&quot]วิญญาณ ๖[/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT] [FONT=&quot]๑.จักขุวิญญาณ[/FONT] [FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางตา(เห็น)[/FONT] [FONT=&quot]๒.โสตวิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางหู (ได้ยิน)[/FONT] [FONT=&quot]๓.ฆานวิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางจมูก(ได้กลิ่น)[/FONT] [FONT=&quot]๔.ชิวหาวิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางลิ้น(รู้รส)[/FONT] [FONT=&quot]๕.กายวิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางกาย (รู้สิ่งต้องกาย)[/FONT] [FONT=&quot]๖.มโนวิญญาณ[/FONT][FONT=&quot]ความรู้อารมณ์ทางใจ (รู้เรื่องในใจ)[/FONT] [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]จะเห็นว่า วิญญาณหรือจิต คือความหมายเดียวกันนะครับ[/FONT]


    สำหรับวิญญาณนั้น เมื่อบุคคลธรรมดาหรือสัตว์ทั้งหลายในสากลโลกนั้นๆ เมื่อละทิ้งร่างกายดับศูนย์แล้ว ย่อมไหลไปตามเหตุปัจจัยนั้นๆ คือเกิดจากธาตุวิญญาณทั้ง 6 นั้นๆพาไป หากสมมุติเป็นมนุษย์ก็มีผลบุญและผลบาป เป็นเหตุปัจจัย ที่จะได้ไปเกิดใน อบายภูมิ 4 หรือ เทวภูมิ 6 ชั้น ตามกำลังแห่งศีล
    และทาน เป็นต้น
    หากเป็นบุคคลผู้เจริญสมถะ ตั้งแต่ฌานที่1-4 นิวรณ์ย่อมหมดไป ทำให้ทราบว่าร่างกายเรานี้อันประกอบ ด้วย รูปและนาม นี้ มีวิญญาณหรือจิต อยู่เป็นอิสระในตัว ไม่ว่าบุคคล สัตว์หรือสิ่งของ เมื่อไม่มีนิวรณ์แล้ว วิญญาณย่อมหลุดออกมาจากกายหยาบได้ เมื่อหลุดออกมาบ่อยๆ ก็ย่อมกลายสภาพเป็นกายทิพย์ หรือกายพรหม ในภูมินั้นๆ ซึ่งจะมีลักษณะกายเบาจิตเบา ไปตามกำลังของฌานนั้นๆตั้งแต่ ฌาน 4-8 ซึ่งสามารถแสดงอิทธิอภินิหารได้คล้ายๆพระอรหัตน์ ดังเช่นเหล่าฤาษีทั้งหลาย แต่ยังไม่หลุดพ้น หากจะหลุดพ้นต้องดับจิตวิญญาณเสียก่อน
    หากเป็นบุคคลที่เจริญสมถะ และวิปัสสนา กายทิพย์นั้นๆจะใสดังแก้ว ตามความบริสุทธิ์ จนกระทั้งเป็นสีรุ้ง จะมีลักษณะงูที่ลอกคราบ นี่คราบงู นี่ตัวงู น้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย สามารถกระทำอิทธิอภินิหารดังพระอรหันต์ทั้งหลายได้ ครับ

    อ้างอิง:
    <table width="100%" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border: 1px inset ;"> ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nui_sirada [​IMG]
    ขอบ คุณค่ะที่ช่วยอธิบาย แล้วอย่างเวลานั่งสมาธิ ขณะหลับตาเรารู้สึกว่าตัวเราลอยไปในที่ต่างๆกัน ที่เราไม่รู้จัก บางทีก็เหมือนเป็นที่ๆเราอาจจะเคยอยู่ในชาติก่อนๆ ตามความรู้สึกมันบอกว่าเราคือคนนี้แหล่ะ หมายถึงจิตเราที่พุ่งไป ร่างกายที่เราเห็น เป็นของเรา ตัวเรา ในสมาธิ คือกายทิพย์ใช่หรือไม่ค่ะ
    </td> </tr> </tbody></table>
    สงสัยผมจะอธิบายยากไปหน่อยมั้งครับ เอาอย่างนี้แล้วกัน
    มีวิญญาณออกจากร่างลักษณะที่เบากว่าร่างกายเดิมมาก ขาไม่สัมผัสพื้น มีสติสมบูรณ์ พูดง่ายๆอีกก็คล้ายผีนั่นเหละ แต่ผีนั้นร่างกายหยาบเขาดับไปแล้ว ไม่สามารถกับมาใช้ร่างกายเดิมได้อีก แต่ถ้าเป็นบุคคลธรรมดา ผู้เข้าถึงฌาน 4 -ฌาน 8 ย่อมสามารถกระทำสิ่งใดๆได้คล้ายผี แต่เรายังสามารถกลับเข้าร่างเดิมได้เพราะเรามีสติสมบูรณ์ แค่คิดว่ากลัวตายหน่อยเดียว จิตมันก็กลับร่างแล้ว
    แล้วถ้าเราถอดจิตหรือ วิญญาณนี้ บ่อยๆเข้าจนเป็นวสี ก็จะเปลี่ยนเป็นกายทิพย์ที่สามารถกระทำสิ่งใดๆได้เหมือกายหยาบ จะไปนั่งบนก้อนเมฆ หรือ ดำดิน ก็ได้ ครับ
    สำหรับ ประสบการณ์ ของท่านที่เล่ามานั้นเขาเรียกว่า จิตระลึกชาติได้ จิตส่งใน เพราะโดยปกติแล้วหากยังไม่พ้นจากวัฏฏสังสาร ย่อมมีภาพสัญญาเก่าและใหม่ติดตัวอยู่ สัญญาใหม่มาจากไหน่ ก็มาจากการรับ รู้ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นอย่างไร ตาเคยดูทีวีใช่ใหมล่ะครับ บางทีสัญญานั้นก็เหมือนในหนังก็มีนะครับ ดังนั้น เรารู้อะไรแล้ว เราก็ควรปล่อย ไม่ควรยึดมั่นว่าเป็นตัวเรา เป็นของๆเรานะครับ แล้วสมาธิจะเดินหน้าครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 เมษายน 2009
  13. Ricardo DeCalgary

    Ricardo DeCalgary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,068
    ค่าพลัง:
    +11,341
    โมทนาบุญ สาธุ สาธุ สาธุ ครับ<!-- google_ad_section_end -->

     
  14. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ประสบการณ์สมาธิ[/FONT]:[FONT=&quot]หัดถอดจิตครั้งแรก ได้รับคำแนะนำจากท่านท้าวมหาพรหมตรีมูรติ[/FONT]
    [FONT=&quot] ประสบการณ์นี้เกิดขึ้นในช่วงทำรัฐประหารโค่นล้ม รัฐบาลทักษิน ข้าพเจ้ามีความสนใจและใคร่รู้ว่าจะมีการเสียเลือดเสียเนื้อ [/FONT][FONT=&quot]มากน้อยขนาดไหน คือ เป็นห่วงพี่น้องประชาชน ก็ได้กำเนิดจิตพยายามถอดจิตออกให้ได้ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ (มีนิวรณ์ ขวางกั้นอยู่) ข้าพเจ้าเลยปล่อยไม่สนใจ เตรียมจะพักผ่อนเพราะดึกมากแล้ว ก็นอนทำสมาธินับลมหายใจไปซักพักหนึ่ง ก็ปรากฎว่าจิตได้หลุดออกมาเอง แล้วข้าพเจ้าก็ได้พบท่านท่านหนึ่งใส่ชุดขาว อยู่ในท่านอนสมาธิ ตะแคลงขวา ท่านได้บอกข้าพเจ้าว่าท่านเป็นเทพ (ตรีมูรติ) อันนี้มารู้จักนามท่านทีหลัง ครับ[/FONT]
    [FONT=&quot] ท่านสอนให้รู้จักการใช้กายละเอียดนี้(ลักษณะสีขาว) ทะลุกำแพง หรือให้ลอยขึ้นลอยลง อยู่ในบริเวณห้อง ให้ชำนาญก่อน เมื่อ คล่องแล้ว ท่านก็ให้กำเนิดจุดหมายที่จะไป แล้วท่านก็หายไป ข้าพเจ้า ก็กำเนิดไปที่กรุงเทพ ไปอยู่บนสะพานใต้ทางด่วน อยู่ระหว่างซองเหล็ก ที่ใดที่หนึ่ง ก็มองลงมาข้างล่าง ก็เห็นเหล่าทหาร ทั้งหลาย แต่ที่แปลกคือ ดวงจิตกลมๆที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคล มีสีสัน แตกต่างกันไป และ ร่างกายนั้นเป็นดินทั้งสิ้น แล้วก็พบวิญญาณของเหล่าวีรชนผู้กล้าทั้งหลาย สิงอยู่กับกลุ่มบุคคลบางกลุ่ม แต่เหตุการณ์กับไม่ได้ร้ายแรงอย่างที่คิด ถึงจะมีเลือดตกยางออกบ้างก็เล็กน้อย ไม่รุนแรงมากนัก (อันนี้จะจริงหรือเปล่านั้นก็อยู่ที่ว่าใครจะอยู่ในเหตุการณ์นั้นจริง ๆ ) เพราะข่าวหนังสือพิมพ์หรือสื่อ โทรทัศน์ ออกมาไม่มีอะไรรุนแรง ไม่มีเลือดตกยางออก อะไรจะง่ายขนาดนั้นการทำรัฐประหาร จริงไหมครับ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] แต่ตอนกลับนี่สิ เหนื่อยมากๆ เพราะดันทะลึ่งอยากพบท่านยม เสียนี้ แค่คิดแค่นั้นแหละ มาปรากฏรูปโฉมให้ดู สง่างามมากๆ รูปร่างใหญ่ สมส่วน ล่ำมากๆ ไม่มีเขา ไม่มีเขี้ยว แต่แล้วอยู่ๆกับนึกกลัวตายขึ้นมา ท่านยมก็จะเอาดวงวิญญาณให้ได้ (ท่านแกล้งส่งลูกน้องให้มาจับข้าพเจ้า ) ข้าพเจ้าก็หนีสิ กลัวตายจริง พอกลับเข้าร่างกายหยาบได้แล้ว ก็ออกจากสมาธิ โอ้โหเรียวแรงหมดแฮะ คอก็แห้ง หิวน้ำมากๆ เดินมาหยิบน้ำในตู้เย็นแบบหมดแรงจริงๆ เฮ้อเหนื่อย นับตั้งแต่นั้นมาข้าพเจ้าไม่กล้าถอดจิตไปไหนเลย แต่มันแปลกอีกน่ะ ยิ่งไม่อยากออกแต่มันจะออกอยู่เรื่อย จนเดี่ยวนี้ ก็เลยเฉยๆ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สิ่งที่ได้รับจากประสบการณ์ในครั้งนี้[/FONT][FONT=&quot] คือ หายสงสัย รูปนาม จิตวิญญาณ ได้ในระดับหนึ่ง <o></o>[/FONT]
     
  15. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749

    สงสัยผมตอบคำถามไม่ตรงกับจริตท่านมั้ง หายไปเลย อ่านแล้วไม่เห็นออกความเห็นเลย มีอะไรก็เตือนกันบ้างนะท่าน


    :z15
     
  16. nunyy

    nunyy สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2008
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +18
    ไม่ได้หายไปไหนเจ้าค่ะ คุณบดินทร์ พอดีจำรหัสกะพาสเวิร์ดไม่ได้ กว่าจะเข้าได้ก็วันนี้เอง

    ที่คุณตอบมานั้น ก็ตรงกับที่เราคิดไว้แต่กลัวจะคิดไปเองเท่านั้น แต่มีเรื่องสงสัยบางอย่าง

    เวลาเรานั่งสมาธิทำไมไม่เห็นว่า กายทิพย์(ขอเรียกว่ากายหยาบก่อนดีกว่านะคะ)จะออกจากกายเนื้อได้เหมือนเวลาเรานอนเลยคะ

    แต่ก็มีบางครั้งเหมือนกัน อย่างที่อ่านมา เวลาที่เรานั่งไปเรื่อยๆจนจิตเริ่มแกว่งหรือหมุนรอบตัวเอง

    เร็วขึ้นๆ จนเหมือนจะหลุดจากกายเนื้อ ช่วงนี้ผ่านไปไม่ได้สักทีเพราะกลัวตายค่ะ

    สรุปทุกวันนี้ไม่ค่อยได้ถอดจิตแบบที่คุณว่าแล้ว เพราะหลวมเรื่องการปฏิบัติ

    ปัจจุบันเริ่มทำสมาธิตามที่คุณบดินทร์แนะนำ ใช้ได้ดีมากๆค่ะ สงบดี ไม่มีเวียนหััวแล้วก็อาการหมุนอีกแล้ว

    ขอบคุณที่ให้คำตอบนะคะ แล้วจะกลับมาถามข้อสงสัยอีกอย่างนึงค่ะ
     
  17. อรชร บุญเอนก

    อรชร บุญเอนก Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +28
    ตั้งแต่เป็นสมาชิกพลังจิตมา วันนี้รู้สึกเป็นปิติมากที่สุดก็ว่าได้ อ่านรวดเดียวจนจบ

    ขอขอบคุณแทนเพื่อนๆสมาชิกทุกๆท่าน ที่พวกเราได้มีกัลยาณมิตรที่ยิ่งใหญ่ทางธรรม
    คอยช่วยเหลือและชี้แนะทางสว่างให้กับพวกเราอีกทางหนึ่ง

    ข้าพเจ้าและครอบครัวเพิ่งเริ่มฝึกนั่งสมาธิได้ไม่นาน ความรู้งูๆปลาๆ
    แต่กำลังฝึกปฎิบัติอย่างเข้มแข็ง และเป็นกำลังใจซึ่งกันและกัน

    ขออนุญาติที่จะปริ๊นท์ข้อความของคุณบดินทร์ไว้ศึกษายามว่าง เพื่อให้เข้าใจถ่องแท้กว่านี้ เพื่อเป็นธรรมทานนะคะ

    บุญกุศลใดๆที่ข้าพเจ้าและครอบครัวได้รับจากการฝึกปฎิบัติธรรม ขอบุญกุศลนั้นจงมีแด่คุณบดิทร์เช่นกันค่ะ

    ขอให้ถึงซึ่งนิพพานดังปรารถนาด้วยนะคะ
     
  18. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ช่วงนี้รู้สึกเห็นอะไรก็เฉยๆไป หมด ยังไม่ได้นำประสบการณ์ที่เหลือ มาเพิ่มเติมครับ แม้แต่หนังสือธรรมที่ชื่นชอบ ก็วางลงหมด ตั้งแต่เข้าถึง นิโรธ ตัวสุดท้าย จิตอุเบกขาเกิดแรงมาก
    เด่นชัด ทุกอิริยาบถ นั่ง ยืน เดิน นอน ขับถ่ายเบาหรือหนัก ชัดเจนมากจริงๆ ไว้ให้ผ่านช่วงนี้ไปก่อนแล้วจะนำประสบการณ์มาให้อ่านเพิ่มเติมครับ
     
  19. ไก่ป่า

    ไก่ป่า Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +71
    อนุโมทนากับการปฏิบัติธรรมของคุณบดินทร์ครับ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    และก็คงจะขอปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติธรรมของคุณบดินทร์ไปด้วย<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ทีนี้อยากจะถามคุณบดินทร์ครับว่า <o:p></o:p>
    ในการปฏิบัติอานาปนสติเบื้องต้น ปัจจุบันผมจะแค่ตามรู้ลมหายใจเข้า รู้ลมหายใจออก<o:p></o:p>
    ทั้งตอนนั่งสมาธิและตอนทำกิจอื่นๆในชีวิตประจำวัน โดยไม่ใช้คำบริกรรมหรือองค์ภาวนาควบคู่(เช่น พุทโธ) ไม่ทราบว่าปฏิบัติแบบนี้จะได้เหมือนกันไหมครับ<o:p></o:p>
    หรือต้องมีคำบริกรรมหรือองค์ภาวนาควบคู่ไปด้วย จึงจะไดผลดีกว่าและเป็นไปตามแนวทางที่คุณบดินทร์ปฏิบัติ<o:p></o:p>
    ถามมาเพื่อให้หายสงสัย(เพราะรู้สึกคุณบดินทร์จะเน้นถึงองค์ภาวนาครับ)<o:p></o:p>
     
  20. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ถึงคุณ ไก่ป่า ครับ

    ระหว่างการล็อกประตูบ้าน 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น ท่านรู้สึกอุ่นใจใช่ใหมครับ นั่นเหละครับ หากพิจารณาลมหายใจ (อาณาปานุสสติ) 1 ควบ คำภาวนา 1 (พุธ-โธ) ควบ กสิน 10 อย่างใดอย่างหนึ่ง กลายเป็น 3 ชั้น หากหลุดชั้นที่ 1 ก็มีชั้น 2 ก็มีชั้น 3 แล้วอย่างนี้สติไม่เกิด ก็สุดๆแล้ว ครับ
    หากมัจจุมาร มาเยื่อนกระทันหัน รับลองได้ว่าไม่เกิดเป็นเทวดา ก็พรหม แน่นอน ครับ สบายใจได้ แต่อย่างไรเสียก็แล้วแต่ท่านจะเลือกปฏิบัติแบบไหน 1ชั้น หรือ 2 ชั้น หรือ 3ชั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 พฤษภาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...