พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า...ท่านปา-ทาน ตัวใครตัวเขา...คนอื่นไม่ทราบหรอกครับแต่ยังไงตัวเขาเองรู้เอง และก็โกหกตัวเองไม่ได้ครับ
    nongnooo...
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.jarun.org/v6/board/viewtopic.php?t=1327&sid=e00c494daa4763373f497b0661ebf2dc

    กรรมของพระพุทธเจ้าสมณโคดม

    โพสโดย ลูก ผู้เยี่ยมชม
    ตอบเมื่อ: Thu Aug 04, 2005 9:30 am

    กรรมของพระพุทธเจ้าสมณโคดม
    พระพุทธเจ้าของเราทรงเผยพระประวัติกรรมและผลของกรรมของพระองค์ กับภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ขณะประทับเหนือพระศิลาอันน่ารื่นรมย์ใกล้สระอโนดาด

    ทรงกล่าวว่าครั้งหนึ่ง เห็นภิกษุผู้อยู่ป่ารูปหนึ่งจึงได้ถวายผ้าท่อนเก่า โดยตั้งปารถนาเป็นพระพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก ผลแห่งกรรมอันเนื่องด้วยผ้าท่อนเก่านั้น ได้สำเร็จในความเป็นพระพุทธเจ้า

    ครั้งหนึ่งเคยเป็นนายโคบาล ต้อนแม่โคไปสู่ที่หากิน เห็นแม่โคดื่มน้ำขุ่นจึงห้ามไว้ ด้วยผลแห่งกรรมนั้นในภพสุดท้ายนี้ พระองค์กระหายน้ำ จึงไม่ได้ดื่มตามต้องการ เพราะเคยให้พระอานนท์ไปตักน้ำมาถวาย พระอานนท์ไปแล้วไม่ตักมาบอกว่าน้ำขุ่น ต้องตรัสย้ำให้ไปตักใหม่เป็นครั้งที่สอง จึงได้น้ำใสกลับมาเพราะน้ำขุ่นนั้นกลับใส

    ชาติหนึ่งเคยเป็นนักเลงชื่อปุนาลี ได้กล่าวใส่ความพระปัจเจกพุทธเจ้า พระนามว่าสุรภิผู้มิได้ประทุษร้าย ด้วยผลแห่งกรรมนั้นต้องไปท่องนรกสิ้นกาลนาน เสวยทุกขเวทนาสิ้นพันปี ด้วยกรรมที่เหลือในภพสุดท้ายก็ถูกใส่ความ เพราะเหตุแห่งนางสุนทริกา ซึ่งเป็นนักบวชหญิงถูกพวกเดียรถีย์ใช้ให้ทำเป็นไปค้างคืนกับพระสมณโคดม ให้ใครต่อใครหลงผิดทั้งที่นางค้างที่อื่น แต่รุ่งเช้าก็ทำท่าโผเผมาจากเชตวนาราม อีกสองสามวันที่มีคนโจษจันกัน พวกเดียรถีย์ก็จ้างนักเลงไปฆ่านาง ป้ายความผิดว่านางถูกฆ่าปิดปาก คนสงสัยว่าอาจจะจริง ร้อนถึงพระราชาส่งราชบุรุษไปสืบดูตามร้านสุรา ก็จับนักเลงที่ฆ่ากับเดียรถีย์ที่จ้างฆ่ามาลงโทษทั้งหมด


    อีกชาติหนึ่งเป็นพราหมณ์ผู้มีความรู้ มีผู้เคารพสักการะ สอนมนต์แก่มานพ 500 ได้ใส่ความภีมฤษีผู้มีอภิญญา มีฤทธิ์มาก หาว่าฤษีนี้เป็นผู้บริโภคกาม มานพทั้งหลายก็พลอยชื่นชม เมื่อไปภิกขาจารในสกุลก็เที่ยวกล่าวแก่มหาชนว่าฤษีนี้เป็นผู้บริโภคกาม ผลของกรรมนั้นภิกษุ500 เหล่านี้ทั้งหมดก็พลอยถูกใส่ความด้วย เพราะเหตุแห่งนางสุนทริกาทีถูกนักเลงฆ่าป้ายความผิดให้พระพุทธองค์ ภิกษุทั้งหลายที่อยู่ในเชตวนาราม พลอยถูกหาว่าร่วมกันฆ่าปิดปากนางสุนทริกา และถูกด่าว่า กระทั่งพระราชาจับนักเลงและเดียรถีย์ที่ร่วมกันฆ่านาง จึงสงบ


    อีกชาติหนึ่งไปกล่าวใส่ความพระสาวกของพระสัพพาภิภูพุทธเจ้า มีนามว่านันทะ จึงต้องท่องไปในนรกหลายหมื่นปี เมื่อเกิดเป็นมนุษย์อีกก็ถูกใส่ความมาก และด้วยกรรมที่เหลือ ชาติสุดท้ายนี้จึงถูกนางจิณจมาณวิกา ใส่ความว่าพระองค์ทำให้นางตั้งครรภ์
    ชาติหนึ่งเคยฆ่าน้องชายต่างมารดาเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ผลักลงในซอกเขา เอาหินทุ่ม ด้วยผลแห่งกรรมนั้นจึงถูกพระเทวทัตเอาหินทุ่มที่เขาคิช***ฏ จนสะเก็ดหินกระเด็นถูกหัวแม่เท้า ห้อพระโลหิตในชาติสุดท้าย

    อีกชาติหนึ่งเป็นเด็กเล่นอยู่ในทางใหญ่ เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า จึงเผาสิ่งต่างๆขวางทางไว้ ผลกรรมนั้น ในภพสุดท้ายจึงถูกพระเทวทัตส่งคนตามล่า

    ชาติหนึ่งเป็นนายควาญช้าง ไสช้างไล่กวดพระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ผลแห่งกรรมนั้น ชาติสุดท้ายถูกช้างนาฬาคิรีดุร้ายเมามัน วิ่งเข้ามาเพื่อทำร้ายในนครอันประเสริฐมีภูเขาเป็นคอกคือกรุงราชคฤห์ ซึ่งมีภูเขาห้าลูกแวดล้อม

    อีกชาติหนึ่งเป็นพระราชา เป็นหัวหน้าทหารเดินเท้า ฆ่าบุรุษหลายคนด้วยหอก ผลแห่งกรรมนั้นต้องหมกไหม้อย่างหนักในนรก ด้วยผลที่เหลือแห่งกรรมนั้น ในชาติสุดท้าย สะเก็ดแผลที่เท้ากลับกำเริบ กรรมยังไม่หมด

    ชาติหนึ่งเคยเป็นเด็กชาวประมง ในหมู่บ้านชาวประมง เห็นชาวประมงฆ่าปลาก็มีความชื่นชม ด้วยผลของกรรมนั้นจึงเกิดเจ็บที่ศรีษะ ในขณะที่วิทูฑภะฆ่าพวกศากยะในกรุงกบิลพัสด์

    อีกชาติหนึ่งเคยเป็นบริภาษพระสาวกในพระธรรมวินัยของพระผุสสพุทธเจ้า ว่าท่านจงเคี้ยว จงกินข้าวเหนียวเถิด อย่ากินข้าวสาลีเลย ผลแห่งกรรมนั้นในชาติสุดท้ายนี้ ต้องบริโภคข้าวเหนียวอยู่สามเดือน เมื่อพราหมณ์นิมนต์ไปอยู่เมืองเนรัญชา แล้วลืมถวายอาหาร ได้อาศัยพ่อค้ามาถวายข้าวเหนียวแดงที่มีไว้ให้ม้ากิน

    ชาติหนึ่งสมัยที่ไม่มีพระพุทธเจ้า เคยทำร้ายบุตรนักมวยปล้ำ ด้วยผลแห่งกรรมนั้นจึงเจ็บที่หลังเรื่อย

    ชาติหนึ่งเคยเป็นหมอ แกล้งให้ยาถ่ายแก่บุตรเศรษฐี เป็นยาถ่ายอย่างแรง ถึงแก่ชีวิต ผลแห่งกรรมนั้น ในชาติสุดท้ายนี้ จึงเป็นโรคปักขันทิกะลงพระโลหิต

    อีกชาติหนึ่งได้ชื่อว่าโชติปาละ เคยกล่าวกับพระสุคตพระนามกัสสปะว่า การตรัสรู้เป็นของได้โดยยาก ท่านจะได้จากควงไม้โพธิ์ที่ไหนกัน ด้วยผลแห่งกรรมนั้น ในชาติสุดท้ายนี้ต้องบำเพ็ญทุกกรกริยาเป็นอันมาก สิ้นเวลาถึงหกปี ต่อจากนั้นจึงได้บรรลุการตรัสรู้
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://community.thaiware.com/index.php?showtopic=278447

    ผู้โพส Vickies
    Aug 21 2006, 04:17 PM

    อานิสงส์การสร้างเจดีย์... ( โดยย่อ )

    การสร้างเจดีย์เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือ อัฐิธาตุของบุคคลที่ควรบูชา
    ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ และพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นการสร้างมงคลให้กับตนเองอย่างสูงสุด เมื่อตายไปย่อมไปสู่สุคติโลกสวรรค์ย่อมได้ดวงตาเห็นธรรม และบรรลุมรรคผลนิพพานโดยง่าย การมีส่วนร่วมสร้างพระเจดีย์จะมากหรือน้อย ถ้าทำด้วยความเลื่อมใส ก็ย่อมได้อานิสงส์มากมาย ดังตัวอย่างที่หยิบยกมาให้ท่านได้อ่านต่อไปนี้

    พระเถระรูปนี้ในชาติก่อนมีส่วนร่วมสร้างเจดีย์ เพียงท่านใส่ก้อนปูนขาวลงใน
    ช่องแผ่นอิฐ ซื่งประชาชนกำลังก่ออิฐสร้างเจดีย์อยู่ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ด้วยจิตใจที่เลื่อมใส อำนาจแห่งบุญนั้นได้บันดาลให้ท่านไปเกิดในสวรรค์ และโลกมนุษย์ถึง ๙๔ กัปป์ พอมาถึงสมัยพระพุทธเจ้าสมณโคดม ท่านได้มาบวชในพระพุทธศาสนาท่านคือ พระสุธาบิณฑิยเถระ

    และยังมีเรื่องเล่าจาก พระมหาโมคคัลลานะเถระ ว่าท่านได้พบเทพบุตรตนหนึ่ง
    มีวิมานสวยงามวิจิตรตระการตา แวดล้อมด้วยนางฟ้าจำนวนมาก มาฟ้อนรำขับร้องให้เบิกบานใจ และเทพบุตรตนนี้มีอำนาจยิ่งใหญ่เหนือเทพบุตรทั้งปวง ท่านจึงถาเทพบุตรตนนั้นว่า เมื่อท่านเป็นมนุษย์ได้ทำบุญอะไรไว้หรือ ท่านถึงมีอานุภาพมากมีรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอย่างนี้ เทพบุตรตนนั้นตอบว่า แต่ก่อนเมื่อเป็นมนุษย์ได้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ได้ออกบวชอยู่ ๗ พรรษา และเป็นสาวกของพระศาสดานามว่า สุเมธ

    ต่อมาได้ดับขันธปรินิพพานแล้ว พระบรมสารีริกธาตุของท่านบรรจุไว้ในรัตนเจดีย์ซึ่งห่อหุ้มด้วยข่ายทองคำ ท่านได้ชักชวนประชาชนให้ไปสักการบูชาด้วยความเลื่อมใส กุศลจะส่งผลให้ขึ้นสวรรค์ ด้วยบุญนี้เองทำให้ข้าพเจ้าได้มาเสวยสุขอยู่ในทิพย์วิมานนี้เอง

    ส่วนพระมหากัสสปะเถระนั้น ท่านได้พบเปรตตนหนึ่งมีกลิ่นเหม็นเน่า มีหนอนกินปาก นอกจากนี้ยังถูกยมบาลเฉือนปาก แล้วลาดน้ำให้แสบร้อน จึงถามถึงผลกรรมของเปรตนั้น ทราบว่าแต่ก่อนตอนเป็นมนุษย์ ตนเป็นชาวนครราชคฤห์ได้ห้ามมิให้บุตร ภรรยา บูชาพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พร้อมกับเล่าถึงพวกที่มีความคิดและกระทำเหมือนตน ส่วนภรรยา และบุตรของตนได้ไปเสวยสุขอยู่บนสวรรค์ มีวิมานสวยสดงดงาม เพราอานิสงส์ที่ได้ไปใหว้พระบรมสารีริกธาตุ สำหรับตนเองนั้นตั้งใจไว้ว่า หากได้เกิดเป็นมนุษย์อีกครั้ง จะทำการบูชาพระสถูปเจดีย์ให้มากอย่างแน่นอน

    นอกจากนี้ในครั้งพุทธกาล พระเจ้าปัสเสนทิโกศล ได้เสด็จไปยังเมืองสาวัตถี
    พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารเป็นอันมาก ครั้นถึงหาดทรายริมฝั่งแม่น้ำ พระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นทรายขาวผ่องบริสุทธิ์ยิ่งนัก ทรงมีพระทัยเลื่อมใสอย่างแรงกล้า ได้รับสั่งให้ช่วยกันก่อกองทรายให้เป็นรูปเจดีย์ถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ มองดูเป็นทิวแถวสวยงาม เพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา เสร็จแล้วได้เสด็จไปเฝ้าพระพุทธเจ้าที่บุบผารามมหาวิหาร แล้วได้ทูลถามถึงอานิสงส์ แห่งการก่อเจดีย์ทรายพระพุทธเจ้าตรัสว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตร ผู้มีศรัทธาแรงกล้าได้ก่อเจดีย์ทรายถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ หรือแม้แต่องค์เดียว ก็ย่อมได้รับอานิสงส์มาก จะไม่ตกนรกตลอดร้อยชาติ

    ถ้าเกิดเป็นมนุษย์ จะอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีชื่อเสียงเกียรติยศไปทั่วทุกทิศ จากนั้นจะได้ไปสวรรค์เวยทิพย์สมบัติ การก่อเจดีย์ทรายเป็นเรื่องของผู้มีความฉลาด มีความคิดดี ได้ทำเป็นประเพณีมาแล้วในอดีต แม้พระตถาคตเองก็เคยทำมาแล้วในครั้งเป็นพระโพธิ์สัตว์

    ในครั้งนั้นตถาคตยากจนมาก มีอาชีพตัดฟืนขาย วันหนึ่งได้พบทรายขาวสะอาดมากในราวป่า ก็มีจิตใจศรัทธาผ่องใส วันนั้นได้หยุดตัดฟืนทั้งวัน ได้กวาดทรายก่อเป็นเจดีย์โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก แล้วเปลื้องผ้าห่มของตน ฉีกทำเป็นธงประดับไว้ เพื่อบูชาพระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วอฐิษฐานจิตขอให้เป็นปัจจัยแห่งพระโพธิ์ญาณในอนาคตกาล ครั้นเมื่อตายไปแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์อยู่ ๒ พันปีพิพย์ เมื่อสิ้นอายุขัย ได้อุบัติมาเกิดเป็นพระตถาคตนี้เอง สำหรับพระเจ้าปัสเสนทิโกศลนั้น ก็ได้รับพยากรณ์ว่า จะได้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า

    และพระมหากัสสปเถระ ยังได้กล่าวถึงประวัติและผลบุญแห่งการสร้างพุทธเจดีย์
    ของท่านไว้ดังนี้ ในครั้งที่พระพุทธเจ้ามีนามว่าปทุมมุตตระ พระองค์ได้ปรินิพพานแล้ว

    พระมหากัสสปเถระได้ชักชวนหมู่ญาติมิตร และประชาชน ให้มาร่วมกันสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เพื่อบูชาพระพุทธเจ้ากันเถิด ทุกคนมีจิตเลื่อมใส ปิติอิ่มเอมใจ จึงได้ช่วยกันสร้างเจดีย์สูงค่าเสร็จลงด้วยความเรียบร้อย เจดีย์สูงร้อยศอก สร้างปราสาทห้าร้อยศอก สูงตระหง่านจรดท้องฟ้า ทุกคนมีจิตปิติเบิกบานในอานิสงส์บุญที่ได้พากันทำไว้ เมื่อท่านตายไปแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ อยู่บนยานทิพย์เทียมด้วยม้าสินธพพันตัว วิมานของท่านสูงตระหง่านเจ็ดชั้น มีปราสาทหนึ่งพันองค์ ซึ่งสร้างด้วยทองคำ ศาลาหน้ามุขสร้างด้วยแก้วมณี ส่องแสงสว่างเจิดจ้าไปทั่วสารทิศ ทั้งยังมีอำนาจเหนือเทวดาทั้งปวง เมื่อลงมาเกิดในโลกมนุษย์ ในกัปป์ที่หกหมื่นในภัทรกัปป์นี้ ได้เป็น

    พระเจ้าจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ ครอบครองอานาเขตไปถึง ๔ ทวีป มีแก้วแหวนเงินทองมากมาย ประชาชนมีความสุขสำราญเหมือนดั่งเมืองบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ และชาติสุดท้ายได้มาเกิดในสกุลพราหมณ์ที่ร่ำรวย แต่สละทรัพย์ออกบวช จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ผู้เลิศด้วยปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaiblogonline.com/supbhumin.blog?PostID=3617

    พระนิพพาน จากคำครูอาจารย์
    Last Updated On: 26 กันยายน 2550 - 18:14:00


    พระนิพพาน
    จากคำครูอาจารย์

    พระนิพพาน บรมสุข
    องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    พระอรหันตเจ้าทั้งหลาย ณ เวลานี้
    ทรงสถิตอยู่ ณ ที่ใด
    บางท่านว่า พระองค์ดับสูญ
    หมดความนึกคิด ไม่เหลืออะไรเลย
    ความสงสัยนี้ ยากที่ปุถุชน ผู้ศึกษา
    จะทำให้กระจ่างได้
    เว้นแต่พระสงฆ์ผู้มีญาณ
    ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
    ตามพระธรรมคำสั่งสอน จึงพออธิบาย
    พระนิพพาน ให้กระจ่างได้
    ขอท่านจงเว้นการถกเถียง
    จนเกิดความหมอง เร่าร้อน ในดวงใจ
    โปรดจงสงบจิต ตั้งสติ
    อ่านคำสอนของพระครูอาจารย์ทั้งหลาย
    ที่มีจารึกลงในตำราหรือหนังสือ
    เป็นหลักฐาน ไว้ชัดเจนแล้ว ใช้ปัญญา
    พินิจพิจารณา
    ไม่มีอคติ ใน คำสอนของครูอาจารย์

    ********************************************

    ไว้ผมมาต่อนะครับ (ถ้าไม่ลืม)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ariya.jpg
      ariya.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.3 KB
      เปิดดู:
      33
    • bua0.jpg
      bua0.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.4 KB
      เปิดดู:
      156
    • bua1.jpg
      bua1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.3 KB
      เปิดดู:
      159
    • budda.jpg
      budda.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.2 KB
      เปิดดู:
      35
    • chaiya.jpg
      chaiya.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.7 KB
      เปิดดู:
      37
    • chaiya3.jpg
      chaiya3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.2 KB
      เปิดดู:
      36
    • chaiya4.jpg
      chaiya4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.9 KB
      เปิดดู:
      158
    • chob1.jpg
      chob1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.5 KB
      เปิดดู:
      37
    • dul0.jpg
      dul0.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.4 KB
      เปิดดู:
      152
    • dul1.jpg
      dul1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      13.6 KB
      เปิดดู:
      156
    • kaew.jpg
      kaew.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.6 KB
      เปิดดู:
      34
    • kaew1.jpg
      kaew1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14.5 KB
      เปิดดู:
      39
    • kasem1.jpg
      kasem1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      25.2 KB
      เปิดดู:
      39
    • kasem2.jpg
      kasem2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.7 KB
      เปิดดู:
      154
    • kasem3.jpg
      kasem3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      49.4 KB
      เปิดดู:
      35
    • lpduu.jpg
      lpduu.jpg
      ขนาดไฟล์:
      18.3 KB
      เปิดดู:
      38
    • lpking.jpg
      lpking.jpg
      ขนาดไฟล์:
      18.7 KB
      เปิดดู:
      36
    • lpsod.jpg
      lpsod.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.8 KB
      เปิดดู:
      41
    • lusri1.jpg
      lusri1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.4 KB
      เปิดดู:
      37
    • lusri2.jpg
      lusri2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.7 KB
      เปิดดู:
      153
    • lusri3.jpg
      lusri3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      21.1 KB
      เปิดดู:
      33
    • p1.jpg
      p1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.4 KB
      เปิดดู:
      158
    • Pra01.jpg
      Pra01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.7 KB
      เปิดดู:
      31
    • Pra02.jpg
      Pra02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14.7 KB
      เปิดดู:
      32
    • Pra03.jpg
      Pra03.jpg
      ขนาดไฟล์:
      12.5 KB
      เปิดดู:
      33
    • Pra05.jpg
      Pra05.jpg
      ขนาดไฟล์:
      12.4 KB
      เปิดดู:
      32
    • Pra06.jpg
      Pra06.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.6 KB
      เปิดดู:
      35
    • Pra07.jpg
      Pra07.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.1 KB
      เปิดดู:
      35
    • Pra08.jpg
      Pra08.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.7 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra09.jpg
      Pra09.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.1 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra10.jpg
      Pra10.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.7 KB
      เปิดดู:
      31
    • Pra11.jpg
      Pra11.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.8 KB
      เปิดดู:
      34
    • Pra12.jpg
      Pra12.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.6 KB
      เปิดดู:
      31
    • Pra13.jpg
      Pra13.jpg
      ขนาดไฟล์:
      12.6 KB
      เปิดดู:
      35
    • Pra14.jpg
      Pra14.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.9 KB
      เปิดดู:
      34
    • Pra15.jpg
      Pra15.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.8 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra16.jpg
      Pra16.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.1 KB
      เปิดดู:
      32
    • Pra17.jpg
      Pra17.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.7 KB
      เปิดดู:
      32
    • Pra18.jpg
      Pra18.jpg
      ขนาดไฟล์:
      13 KB
      เปิดดู:
      30
    • Pra19.jpg
      Pra19.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11 KB
      เปิดดู:
      30
    • Pra20.jpg
      Pra20.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.3 KB
      เปิดดู:
      299
    • Pra21.jpg
      Pra21.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.2 KB
      เปิดดู:
      32
    • Pra22.jpg
      Pra22.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.1 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra23.jpg
      Pra23.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.6 KB
      เปิดดู:
      29
    • Pra24.jpg
      Pra24.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.2 KB
      เปิดดู:
      29
    • Pra26.jpg
      Pra26.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra27.jpg
      Pra27.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.6 KB
      เปิดดู:
      30
    • Pra28.jpg
      Pra28.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.5 KB
      เปิดดู:
      28
    • Pra29.jpg
      Pra29.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.9 KB
      เปิดดู:
      31
    • prasunkaraj.jpg
      prasunkaraj.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14.3 KB
      เปิดดู:
      29
    • pucob.jpg
      pucob.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.2 KB
      เปิดดู:
      150
    • pula.jpg
      pula.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.1 KB
      เปิดดู:
      150
    • pulee.jpg
      pulee.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7 KB
      เปิดดู:
      153
    • pumun2.jpg
      pumun2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.7 KB
      เปิดดู:
      25
    • pun.jpg
      pun.jpg
      ขนาดไฟล์:
      19.7 KB
      เปิดดู:
      29
    • putham1.jpg
      putham1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.3 KB
      เปิดดู:
      27
    • putham2.jpg
      putham2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.2 KB
      เปิดดู:
      149
    • putham3.jpg
      putham3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.7 KB
      เปิดดู:
      31
    • putham4.jpg
      putham4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.5 KB
      เปิดดู:
      30
    • putree.jpg
      putree.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.6 KB
      เปิดดู:
      150
    • putuad.jpg
      putuad.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.8 KB
      เปิดดู:
      29
    • small_ariya.jpg
      small_ariya.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.8 KB
      เปิดดู:
      151
    • small_bua.jpg
      small_bua.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.5 KB
      เปิดดู:
      153
    • small_bua0.jpg
      small_bua0.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.7 KB
      เปิดดู:
      152
    • small_budda.jpg
      small_budda.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.7 KB
      เปิดดู:
      147
    • small_dul0.jpg
      small_dul0.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.4 KB
      เปิดดู:
      151
    • small_kaew.jpg
      small_kaew.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6 KB
      เปิดดู:
      152
    • small_chaiya.jpg
      small_chaiya.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.7 KB
      เปิดดู:
      147
    • small_kasem1.jpg
      small_kasem1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.4 KB
      เปิดดู:
      148
    • small_lpduu.jpg
      small_lpduu.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.6 KB
      เปิดดู:
      150
    • small_lpsod.jpg
      small_lpsod.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6 KB
      เปิดดู:
      151
    • small_luesri.jpg
      small_luesri.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.9 KB
      เปิดดู:
      145
    • small_prasunkaraj.jpg
      small_prasunkaraj.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.8 KB
      เปิดดู:
      151
    • small_puchob.jpg
      small_puchob.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.2 KB
      เปิดดู:
      144
    • small_pufan.jpg
      small_pufan.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.6 KB
      เปิดดู:
      147
    • small_pular.jpg
      small_pular.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.9 KB
      เปิดดู:
      143
    • small_pulee.jpg
      small_pulee.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5 KB
      เปิดดู:
      148
    • small_pumun.jpg
      small_pumun.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.6 KB
      เปิดดู:
      148
    • small_putham.jpg
      small_putham.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.6 KB
      เปิดดู:
      149
    • small_putree.jpg
      small_putree.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      143
    • small_putuad.jpg
      small_putuad.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      143
    • small_toe1.jpg
      small_toe1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.2 KB
      เปิดดู:
      145
    • small_ubali.jpg
      small_ubali.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.5 KB
      เปิดดู:
      144
    • srt0201.gif
      srt0201.gif
      ขนาดไฟล์:
      60.1 KB
      เปิดดู:
      29
    • toe1.jpg
      toe1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.7 KB
      เปิดดู:
      29
    • tub.jpg
      tub.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.6 KB
      เปิดดู:
      32
    • ubali2.jpg
      ubali2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.1 KB
      เปิดดู:
      28
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คุณเพชรครับ

    ผมรบกวน ฝากดูให้ผมหน่อยว่า วันที่ผมขึ้นกระทู้นี้ เป็นฤกษ์อะไร มีอะไรที่เกี่ยวข้องบ้างครับ ขอบคุณมากครับ

    <TABLE class=tborder id=post167195 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">23-12-2005, 06:59 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE class=tborder id=threadslist cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead colSpan=2></TD><TD class=thead width="100%">คะแนน ชื่อกระทู้ / ผู้ตั้งกระทู้ </TD><TD class=thead noWrap align=middle width=150>ข้อความล่าสุด [​IMG]</TD><TD class=thead noWrap align=middle>คำตอบ </TD><TD class=thead noWrap align=middle>เปิดอ่าน </TD></TR></TBODY><!-- show threads --><TBODY id=threadbits_forum_15><TR><TD class=alt1 id=td_threadstatusicon_22445 style="CURSOR: hand">[​IMG] </TD><TD class=alt2>[​IMG]</TD><TD class=alt1 id=td_threadtitle_22445 title="พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ถ้าต้องการที่จะได้......................<O:p</O:p<O:p</O:pแนะนำ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้..... (4 คน กำลังดูอยู่) ([​IMG] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ... หน้าสุดท้าย)
    [​IMG] sithiphong
    </TD><TD class=alt2 title="จำนวนตอบ: 13,636, จำนวนอ่าน: 282,636">วันนี้ 07:07 PM
    โดย sithiphong [​IMG]

    </TD><TD class=alt1 align=middle>13,636</TD><TD class=alt2 align=middle>282,636</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่แน่ครับ

    อาจจะทั้งโกหกตัวเอง และหลงตัวเอง

    คงต้องร้องเพลง หลงตัวเอง ของคุณเอ (อนันต์ บุนนาค) แต่ไม่ใช้น้องเอ aries2947

    หุหุหุ

    (tm-love)

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมอยากจะรู้และลองวิเคราะห์ดูว่า ฤกษ์และดวงดาวตามตำราโหราศาสตร์ มีผลแค่ไหน ,ความเชื่อ ความศรัทธา มีผลแค่ไหน , สิ่งที่เราศรัทธาและมีความประสงค์ที่จะได้ไว้ มีผลแค่ไหน หรือมีสาเหตุอื่นๆที่เป็นองค์ประกอบด้วย

    คุณเพชร มีความเห็นอย่างไร ลองวิเคราะห์ให้หน่อยนะครับ ส่วนท่านอื่นๆ ลองแสดงความคิดเห็นกันด้วยครับ


    .
    ผมว่า งานนี้ไม่มีใครตอบแหง๋เลย
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ล่อตะเข้จิงๆนะ...อุตสาห์ แซวผ่าน pm แล้วยังล่อ อีกนาท่านนะ(eek)
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมอยากจะรู้และลองวิเคราะห์ดูว่า ฤกษ์และดวงดาวตามตำราโหราศาสตร์ มีผลแค่ไหน ,ความเชื่อ ความศรัทธา มีผลแค่ไหน , สิ่งที่เราศรัทธาและมีความประสงค์ที่จะได้ไว้ มีผลแค่ไหน หรือมีสาเหตุอื่นๆที่เป็นองค์ประกอบด้วย

    คุณเพชร มีความเห็นอย่างไร ลองวิเคราะห์ให้หน่อยนะครับ ส่วนท่านอื่นๆ ลองแสดงความคิดเห็นกันด้วยครับ


    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    คิคิคิ

    (||) (||) (||)

    :555: :555: :555: :555: :555: :555: :555: :555: :555: :555:
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สัมมาทิฐิ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    (เปลี่ยนทางมาจาก สัมมาทิฏฐิ)
    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->

    สัมมาทิฐิ แปลว่า ความเห็นถูกต้อง หมายถึงความเห็นที่ถูกคลองธรรม เห็นตามความเป็นจริงเป็นความเห็นที่เกิดจากโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยปัญญา คำนี้ในวงวัดส่วนใหญ่เขียนตามของเดิมว่า สัมมาทิฏฐิ
    สัมมาทิฐิ ที่เป็นอริยมรรคมีองค์ 8 หมายถึง ความเห็นในอริยสัจ คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทัย เห็นนิโรธ เห็นมรรค
    สัมมาทิฐิ ที่เป็นมโนสุจริตหมายถึง ความเห็นถูกต้อง 10 อย่าง คือเห็นว่าการให้ทานมีผลจริง การบูชามีผลจริง การเคารพบูชามีผลจริง ผลวิบากของกรรมดีกรรมชั่วมีจริง คุณของมารดามีจริง คุณของบิดามีจริง พวดโอปปาติกะ (พวกเกิดทันทีเช่นเทวดา) มีจริง สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน รู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเองแล้วสอนให้ผู้รู้ตามด้วยมีจริง

    [แก้] ข้อความอ้างอิง
    • <SMALL>จาก มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐</SMALL>
    ก็สัมมาทิฏฐิเป็นไฉน ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อันนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ

    [แก้] ดูเพิ่ม

    สัมมาทิฏฐิสูตร - วิกิซอร์ซ

    [แก้] อ้างอิง
    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:43567-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080109103532 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%...B8%90%E0%B8%B4".
    หมวดหมู่: พุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | อริยสัจ
    <!-- / message --><!-- sig -->

    ***********************************************

    มิจฉาทิฐิ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    มิจฉาทิฐิ หรือ มิจฉาทิฏฐิ หมายถึง เห็นผิด ความเห็นที่ผิดจากคลองธรรม เช่น
    • ทานที่ให้แล้วไม่มีผล
    • ยัญที่บูชาแล้วไม่มีผล
    • การบวงสรวงไม่มีผล
    • ผลวิบากแห่งกรรมดี กรรมชั่วไม่มี
    • โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี
    • มารดาไม่มี บิดาไม่มี
    • สัตว์ทั้งหลายที่ผุดเกิดขึ้นไม่มี
    • สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ กระทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกหน้าด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้ว สั่งสอนประชุมชนให้รู้ตาม ไม่มีในโลก
    [แก้] ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ

    ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อย่าง ได้แก่
    • ปรโตโฆสะ คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
    • อโยนิโสมนสิการ คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้ปัญญาพิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้อวิชาครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า โยนิโสมนสิการ
    [แก้] อ้างอิง
    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>มิจฉาทิฐิ เป็นบทความเกี่ยวกับ ศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ มิจฉาทิฐิ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 6987/2048000 bytesPost-expand include size: 6546/2048000 bytesTemplate argument size: 109/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:40002-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080110074044 -->
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%90%E0%B8%B4".
    หมวดหมู่: หลักธรรมในพุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | บทความเกี่ยวกับ ศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    โยนิโสมนสิการ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    โยนิโสมนสิการ (อ่านว่า โยนิโส-มะนะสิกาน)ประกอบด้วย 2 คำ คือ
    • โยนิโส มาจากคำว่า โยนิ ซึ่งแปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปัญญา อุบาย วิธี ทาง
    • มนสิการ หมายถึง การทำในใจ การคิด คำนึง นึกถึง ใส่ใจ พิจารณา<SUP class=reference id=_ref-0>[1]</SUP>
    ดังนั้น โยนิโสมนสิการ จึงหมายถึง "การทำไว้ในใจโดยแยบคาย, การพิจารณาโดยแยบคาย" นั่นคือ ความเป็นผู้ฉลาดในการคิด คิดอย่างถูกวิธีถูกระบบ พิจารณา ไตร่ตรองสาวไปจนถึงสาเหตุหรือต้นตอของเรื่องที่กำลังคิด คือคิดถึงรากถึงโคนนั่นเอง แล้วประมวลความคิดรอบด้านจนกระทั่งสรุปออกมาได้ว่าสิ่งนั้นควรหรือไม่ควร ดีหรือไม่ดี เป็นวิถีทางแห่งปัญญา เป็นธรรมสำหรับกลั่นกรองแยกแยะข้อมูลหรือแหล่งข่าว (ปรโตโฆสะ) อีกชั้นหนึ่ง เป็นบ่อเกิดแห่งสัมมาทิฐิ ทำให้มีเหตุผล ไม่งมงาย <SUP class=reference id=_ref-1>[2]</SUP>ซึ่งคัมภีร์ชั้นอรรถกถาและฎีกาได้แสดงไวพจน์แจกแจงความหมายเป็นแง่ต่างๆ คือ
    • อุบายมนสิการ เป็นการคิดหรือพิจารณาโดยอุบาย คือ การคิดอย่างมีวิธีหรือถูกวิธี ซึ่งหมายถึง การเข้าถึงความจริง สอดคล้องกบแนวสัจจะ ซึ่งทำให้รู้สภาวลักษณะและสามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย
    • ปถมนสิการ เป็นการคิดถูกทาง ต่อเนื่องเป็นลำดับ หมายถึง ความคิดที่เป็นระเบียบตามหลักเหตุผล ไม่ยุ่งเหยิงสับสน จิตไม่แว๊บติดพันในเรื่องนี้ แต่เดี๋ยวกลับเตลิดไปคิดอีกเรื่องหนึ่ง จิตยุ่งเหยิงนี้กระโดดไปมา ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน แต่รวมทั้งความสามารถในการชักความนึกคิดไปสู้แนวทางที่ถูกต้อง
    • การณมนสิการการคิดอย่างมีเหตุผล เป็นการสืบค้นตามแนวความสัมพันธ์สืบทอดแห่งเหตุปัจจัย พิจารณาสืบสาวหาสาเหตุ ให้เข้าใจถึงต้นเค้า หรือแหล่งที่มาซึ่งส่งผลต่อเนื่องตามลำดับ
    • อุปปาทกมนสิการ การคิดการพิจารณาให้เกิดกุศลธรรม เช่น การพิจารณาที่ทำให้มีสติ หรือทำให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง เป็นต้น
    ไขความทั้ง 4 ข้อนี้ เป็นเพียงการแสดงลักษณะด้านต่างๆ ของความคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งการเกิดในแต่ละครั้ง อาจมีลักษณะครบทั้ง 4 ข้อ หรือเกิดครบทั้งหมด หรือเขียนลักษณะทั้ง 4 ข้อนี้สั้นๆ ได้ว่า คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ คิดมีเหตุผล คิดเร้ากุศล<SUP class=reference id=_ref-2>[3]</SUP>

    [แก้] อ้างอิง
    1. <LI id=_note-0> พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), หน้า 669-670 <LI id=_note-1> *พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
    2. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), หน้า 670-671
    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:43569-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080109092907 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3".
    หมวดหมู่: พุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | ภาวนา

    *********************************************

    แก้ไข อโยนิโสมนสิการ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    วิกิพีเดียยังไม่มีบทความชื่อ "อโยนิโสมนสิการ" (ค้นหา อโยนิโสมนสิการ ในวิกิพีเดีย)
    <HR>
    http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=อโยนิโสมนสิการ&action=edit
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.watkoh.com/forum/printer_friendly_posts.asp?TID=232

    โพสต์โดย: **wan**
    หัวข้อ: คำสอนพระสุพรหมยานเถร (ครูบาพรหมา พรหมจักโก)
    วันที่โพสต์: 11 ธ.ค. 2006 เวลา 20:28

    [​IMG]

    [FONT=Times New Roman, Times, serif]คนโง่เอาใจไว้ที่ปาก คนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจ[/FONT]
    [FONT=Times New Roman, Times, serif]พระสุพรหมยานเถร (ครูบาพรหมา พรหมจักโก) [/FONT]​

    [FONT=Times New Roman, Times, serif]
    [FONT=Times New Roman, Times, serif]วัดพระพุทธบาทตากผ้า ต.มะกอก อ.ป่าซาง จ.ลำพูน[/FONT]​

    [/FONT]
    [FONT=Times New Roman, Times, serif]... คนโง่เอาใจไว้ที่ปาก คนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • promma-01.jpg
      promma-01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.6 KB
      เปิดดู:
      533
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/pr/camp/pre/waikru49/page_01.htm

    พิธีไหว้ครู : การแสดงความกตัญญูต่อผู้ให้ปัญญา

    <DD>“ครู” มีความหมายว่า ผู้สั่งสอนศิษย์ หรือผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ ซึ่งมีผู้กล่าวว่ามาจากคำว่า ครุ (คะ-รุ) ที่แปลว่า “หนัก” อันหมายถึง ความรับผิดชอบในการอบรมสั่งสอนของครูนั้น นับเป็นภาระหน้าที่ที่หนักหนาสาหัสไม่น้อย กว่าคนๆ หนึ่งจะเติบโตเป็นผู้มีวิชาความรู้ และเป็นคนดีของสังคม ผู้เป็น “ครู” จะต้องทุ่มเทแรงกายและแรงใจไม่น้อยไปกว่าพ่อแม่ผู้ให้กำเนิดเลย

    <DD>ในชีวิตของคนๆ หนึ่ง นอกเหนือไปจากพ่อแม่ซึ่งเปรียบเสมือน “ครูคนแรก” ของเราแล้ว การที่เด็กๆ จะดำรงชีพต่อไปได้ในสังคม จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี “ครู” ที่จะประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ เพื่อปูพื้นฐานไปสู่หนทางทำมาหากินในภายภาคหน้าด้วย

    <DD>ดังนั้น ครู จึงเป็นบุคคลสำคัญเป็นที่สอง รองไปจากบิดามารดาที่เราทุกคนควรจะได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อท่าน เพราะหากโลกนี้ไม่มีผู้ที่ทำหน้าที่เป็น “ครู” แล้ว สรรพวิชาต่างๆ ก็คงสูญหายจากไป

    <DD>ด้วยเหตุนี้เอง “การบูชาครู” หรือ “การไหว้ครู” จึงเป็นประเพณีสำคัญที่มีมาแต่โบราณ ถือเป็นพิธีกรรมที่แสดงความเคารพ และระลึกถึงพระคุณของบูรพาจารย์ ครูอาจารย์ผู้ประสิทธิ์วิชาความรู้ให้ ทำให้เราสามารถนำไปประกอบวิชาชีพ สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ตนเองและครอบครัวได้ในอนาคต

    <DD>ในความหมายของ “การไหว้ครู” ก็คือ การที่ศิษย์แสดงความเคารพ ยอมรับนับถือครูบาอาจารย์อย่างจริงใจว่า ท่านเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมความรู้ ศิษย์ในฐานะผู้สืบทอดมรดกทางวิชาการ จึงพร้อมใจกันปวารณาตัวรับการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้วยความวิริยะอุตสาหะ เพื่อให้บรรลุปลายทางแห่งการศึกษาตามที่ตั้งใจเอาไว้ ซึ่งการไหว้ครูนี้ นอกจากจะเป็นธรรมเนียมอันดีงามที่มีส่วนโน้มน้าวจิตใจคนให้รักษาคุณความดี และช่วยธำรงรักษาวิทยาการให้สืบเนื่องต่อไปแล้ว การที่ศิษย์แสดงความเคารพยอมรับนับถือครูตั้งแต่เบื้องต้น ก็มีส่วนทำให้ครูเกิดความรัก ความเมตตาต่อศิษย์ อยากมอบวิชาความรู้ให้อย่างเต็มที่ และศิษย์เองก็จะมีความรู้สึกผูกพันใกล้ชิด เกิดมั่นใจว่าตนจะมีผู้คุ้มครองดูแล สั่งสอนให้ไปสู่หนทางแห่งความดีงาม และความเจริญก้าวหน้าแน่นอน

    <DD>แต่โดยทั่วไปเมื่อเอ่ยถึงพิธีไหว้ครู เรามักจะหมายถึง การไหว้ครูในสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะทำในช่วงเปิดภาคการศึกษา โดยในสมัยโบราณมักจะใช้ดอกมะเขือ ดอกเข็ม หญ้าแพรก และข้าวตอกเป็นเครื่องบูชาครู เพราะเป็นสิ่งที่หาได้ง่ายและมีความหมายที่ดี กล่าวคือ
    • ดอกมะเขือ ที่งอกงามได้อย่างรวดเร็ว ใช้เป็นสัญลักษณ์เสมือนให้เกิดปัญญาความคิดที่พร้อมจะรับความรู้ได้อย่างรวดเร็ว
    • หญ้าแพรก เปรียบเสมือนเด็กที่มาเล่าเรียน เมื่อได้รับการสั่งสอนก็พร้อมจะเรียนรู้ เหมือนดังหญ้าแพรกที่แม้บางครั้งจะเหี่ยวเฉาไป แต่เมื่อใดที่ได้รับน้ำก็พร้อมจะเติบโตทันที
    • ดอกเข็ม คือ การขอให้มีสติปัญญาแหลมคมดุจดอกเข็ม
    • ข้าวตอก เสมือนหนึ่งให้มีปัญญาความคิดแตกฉาน เพิ่มพูนอย่างรวดเร็วเหมือนข้าวตอกเมื่อได้รับความร้อน
    <DD>ปัจจุบันการหาดอกเข็ม ดอกมะเขือ และหญ้าแพรก อาจจะกลายเป็นสิ่งที่หายากขึ้น ดังนั้น เครื่องบูชาครูจึงมีการประยุกต์ใช้เป็นพานพุ่ม หรือดอกไม้อื่นๆ แทน ซึ่งก็เป็นเรื่องที่ปรับเปลี่ยนไปได้ตามยุคสมัย แต่ที่เป็นสาระสำคัญของการไหว้ครูก็คือ การแสดงถึงความเคารพ และความกตัญญูต่อครูบาอาจารย์ผู้ให้สติปัญญาแก่เรานั่นเอง

    <DD>โดยทั่วไปพิธีไหว้ครูมักจะจัดในวันพฤหัสบดี ด้วยถือว่าพระพฤหัสเป็นเทพที่ส่งเสริมวิทยาการและความเฉลียวฉลาด ซึ่งเป็นคุณสมบัติของครู จึงถือเอาวันนี้เป็นวันไหว้ครู เพื่อความเป็นสิริมงคล

    <DD>ในยุคปัจจุบันที่กระแสบริโภคนิยม และระบบทุนนิยมกำลังครอบงำทั้งโลก หลายๆ คนอาจจะมองว่าอาชีพ “ครู”เป็นเพียงผู้รับจ้างสอนหนังสือ ส่วนครูเองก็ตกอยู่ในภาวะท้อแท้ ถดถอย ขาดกำลังใจจากระบบที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจนตามแทบไม่ทัน แต่อย่างไรก็ดี ยังมี “ครู” อีกจำนวนไม่น้อยทั้งในและนอกระบบการศึกษา ที่ยังมีจิตวิญญาณของการเป็น “ครู” ทำหน้าที่สอนสั่ง พร้อมถ่ายทอดวิชาความรู้อยู่ในสังคมอย่างต่อเนื่อง และแม้ “พิธีไหว้ครู” จะกลายเป็นเพียงพิธีกรรมหนึ่งในการแสดงความเคารพนบนอบ ไม่ว่าจะเป็นอย่างทางการหรือไม่ก็ตาม แต่เชื่อว่าพิธีดังกล่าวก็ได้มีส่วนเชื่อมโยงสายใยแห่งความผูกพันระหว่าง“ผู้ให้” และ “ผู้รับ” คือ ครูและศิษย์ อย่างแน่นอน รวมทั้งยังช่วยให้เกิดความรู้สึกที่ดีๆ ต่อกันด้วย

    <DD>โลกที่ไร้พรมแดนและเทคโนโลยีที่ก้าวไกลเช่นปัจจุบัน แม้เราจะสามารถหาวิชาความรู้ได้เองจากหนังสือ เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่ออิเลคทรอนิคส์ต่างๆ ฯลฯ แต่เชื่อว่าคนเราก็ยังปรารถนาจะได้ “ครูที่เป็นคน” ซึ่งสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับเรามากกว่า “ครูที่ไร้ชีวิต” เพราะโดยแท้จริงแล้ว หน้าที่ของครูมิเพียงเติมเต็ม “วิชาความรู้” แก่เราเพื่อประกอบสัมมาชีพเท่านั้น แต่ท่านยังได้จุด “ประทีปปัญญา” ส่องทางในการดำเนินชีวิตแก่ศิษย์ด้วย

    <DD>เรียบเรียงจาก : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม <DD>www.culture.go.th/study </DD>​
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ก.พลังงาน รณรงค์ใช้หลอดผอม T5 ลดโลกร้อน</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>11 มกราคม 2551 19:34 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>รมว.พลังงาน รณรงค์ลดโลกร้อนชวนประชาชนใช้หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 เผยประหยัดกว่าหลอดผอมเดิม ด้านปตท.พร้อมเปลี่ยนมาใช้หลอดผอมในปั๊มน้ำมัน 1,200 แห่ง และกลุ่มบริษัท ปตท. กว่า 100 แห่งทั่วประเทศ

    วันนี้(11ม.ค.) นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ลงนามความร่วมมือโครงการเครือข่ายร่วมลดโลกร้อนด้วยหลอดผอมใหม่เบอร์ 5 กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพมหานคร และจ.สมุทรสาคร เพื่อรณรงค์ให้เกิดการเปลี่ยนมาใช้หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 (ที 5) ทดแทนหลอดผอมเดิม (ที 8) จำนวน 200 ล้านหลอดทั่วประเทศ ภายใน 4 ปี ช่วยลดความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด 2,000 เมกะวัตต์ ควบคู่กับการลดใช้พลังงานไฟฟ้า กว่า 9,000 ล้านหน่วยต่อปี

    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 ต้องได้รับมาตรฐานฉลากเบอร์ 5 ผ่านประสิทธิภาพแสงไม่น้อยกว่า 90 รูมเมทต่อวัตต์ พร้อมรับประกันอายุการใช้งาน 20,000 ชั่วโมง เป็นเวลา 4 ปี สำหรับหลอดผอมเดิม (ที 8) จะใช้ไฟถึง 38 วัตต์ แต่หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 (ที 5) ใช้ไฟเพียง 28 วัตต์เท่านั้น ซึ่งช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ถึง 15 วัตต์ ด้าน ปตท.พร้อมเปลี่ยนมาใช้หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 จำนวน 422,558 หลอด ในปั๊มน้ำมัน 1,200 แห่ง และกลุ่มบริษัท ปตท. กว่า 100 แห่งทั่วประเทศ

    อย่างไรก็ตาม ขณะนี้หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 เข้าร่วมโครงการเครือข่ายร่วมลดโลกร้อน รวม 1,192,182 หลอด ส่งผลให้สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ประมาณ 36,546 ตันต่อปี และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้กว่า 72 ล้านหน่วยต่อปี

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    กราบหลวงปู่ครับ ผมเคยมีโอกาสได้กราบท่านที่วัดพระพุทธบาทตากผ้า ตอนปิดเทอมใหญ่ ม.ศ.2 ไปทัศนศึกษาเชียงใหม่ครับ บูชาสร้อยประคำ 2เส้น
    แล้วคนที่วัดบอกให้ไปกราบท่าน ท่านนั่งหลับตาอยู่ เรานึกอยู่ว่าเมื่อไรท่านจะลืมตานะกลัวจะตกรถครับเพราะหายมาคนเดียว ท่านก็ลืมตารดน้ำมนต์ให้ครับ มารู้ตอนโตแล้วว่าท่านเป็นพระชื่อดังเหมือนกัน

    ข้อธรรมของท่านดีจริงๆเพิ่งจะได้เห็นนี่แหละครับ
    โมทนาสาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มกราคม 2008
  19. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ขอเชิญร่วมทำบุญบูชาพระสมเด็จ 2408 ฝีพระหัตถ์สมเด็จพระปิ่นเกล้า ชุดแรก มีด้วยกัน 8 พิมพ์ อ.จเรให้ผมมามีจำนวน 2 ชุดเท่านั้น ให้บูชาชุดละ 5,600 บาท
    [​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG]

    รายได้จัดสร้างพระพิมพ์ ถวายพระเดชพระคุณหลวงพ่อสิริ สิริวัฒโนไว้แจกเป็นทานบารมีในงานบุญต่างๆจำนวน 84,000 องค์ ราคาตกองค์ละ 2.50 บาท รวมบล็อกแล้ว เป็นเงิน 210,000 บาท มวลสารเดียวกันกับหลวงปู่ทวด รุ่น บารมีธรรม สิริ ทองดี

    ท่านอ.จเรและคณะศิษย์ขออนุญาตจัดสร้างแล้ว เพื่อแสดงความมุทิตาจิตและกตัญญูต่อองค์ครูบาอาจารย์

    สามารถร่วมทำบุญได้ที่


    ชื่อบัญชี กฤตพล เกิดผล
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาบางกระบือ ออมทรัพย์

    หมายเลขบัญชี 007-250-2248

    รายได้ทั้งหมดไม่มีหักค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น<!-- / message --><!-- sig --><!-- / message --><!-- sig -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มกราคม 2008
  20. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    โมทนาครับ
    เสียดายจังช่วงนี้ตังไม่ค่อยมี ไม่งั้น
    ได้ทำบุญด้วยแถมได้พระดีๆไว้บูชา
    สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มกราคม 2008

แชร์หน้านี้

Loading...