อยากบรรลุธรรมเข้ามา

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย newamazing, 13 ธันวาคม 2012.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    คำตอบนะมีมากที่ข้าพเจ้าจะตอบแต่ถ้าตอบแล้ว อินทรบุตรปัญญาน้อยอาจไม่เข้าใจเอาไว้ท่านมีปัญญามากกว่านี้ก่อน ลดละอะไรบ้างอย่างมากกว่านี้ก่อนจะตอบให้นะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2013
  2. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ใครจะเลื่อมใสจงเลื่อมใสในรัตนตรัยเถอดอย่าลืมใสในตัวข้าพเจ้าเลย ศึกษาพุทะวจนเยอะๆนะอิทรบุตร ท่านนะโชว์แต่ของดี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2013
  3. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    บอกตรงนะเล่าปังผมไม่อายหรอกเสียเวลาเปล่าๆที่จะไปโพสนะ แต่อยากให้เกียรติเจ้าของกระทู้เขา เขาจะว่าท่านเป้นเด็กเล่นไม่เลิก อยากจะเล่นมาเล่นในกระทู้ผมเถอะ ตามสบายเลย
     
  4. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    ..ไอ้ลามก..ทำผิดแล้วยังพาลไปถึงคนอื่น อ้างธรรมบังหน้าโยนผิดให้คนอื่นอีก..
    ..ทุกความเห็นที่ผม ไม่อนุโมทนากับคุณด้วย เพราะคุณเป็นคนประเภทนี้มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว
    ..ถาม-ตอบ แบบคนดีไม่เป็นรึ ให้สมกับเป็นผู้ประพฤติธรรม ทั้งเยาะเย้ย-ถากถาง-ใส่ึความ-ชับไล่ คนอื่นแบบไม่เป็นธรรม ย้อนกลับไปอ่านของตนเองดู จะให้คนอื่นเขาเลวแบบที่ตัวเองเขียนใส่ความให้ได้ นี่ไม่ใช่การสนมนาธรรม มิสำนึก :mad::boo:
     
  5. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    ..ท่าน ดร.พวกเราคุยกันแบบนี้.. มาหลายปีแล้วครับ โปรดเข้าใจและแยกแยะสันดานเขาหรือแต่ละคนให้ถูกครับ
    ..เป็นวิบากครับ อย่าไปถือสาผมก็ตามด่าเขาอยู่ เพราะเขาเป็นอย่างนี้มานาน ใครรู้มากไม่ได้แทนที่จะสอบถาม กลับไปตามเข่นฆ่า ไล่ตีเขา ใจไม่กว้างครับ หากสอบถามจะได้รู้ ธรรมจริงหรือปลอม หรือเขาติดตรงไหน..ยังได้ทำบุญช่วยกระทุ้งจิตเขาให้หายได้อีก นะครับ
    ..เล่าปัง นิวรณ์ มันขี้อิจฉา เห็นใครเหนือกว่าไม่ได้ ไม่โยนิโสนมัสสิการ คนเราเข้าใจผิดกันได้ วิปัสสนูก็เกิดบ่อย ลองอ่าน ลองฟังแล้วถามดูก่อน ไม่ใช่ไปไล่ด่าเขาอย่างเดียวแบบเล่าปังนี่..ออิ
    อย่าเอาปกติของเล่าปังเขา..มาทำให้ปกติเราเสียเลยครับ อนุโมนาด้วย
    ..หากไปถึงคุกตะราง จะไม่มีใครมาคุยกับเรา เป็นการถือตัวตนมากไป เราต้องยอมรับกรรมในโลกไซเบอร์ครับ
    ทำใจ บางครั้งมันด่าผมหยาบๆคายๆถึงพ่อ ถึงแม่ โดยใช้ภาษาต่างดาวปะปนเอา ก็มี..อิอิ
    อภัยทานครับยิ่งใหญ่เสมอ.. จะได้คุยด่ามันกลับได้ไง อิอิ:cool:
     
  6. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    เฮ้ยส์..ออกมาปกป้องอาจารย์เลยนะ..ไอ้พวกชอบธรรมลามกนี่..เอียงเว้ยยส์ เอียงส์..คนทำผิดไม่ว่า กลับมาตำหนิคนที่เขาถูกกระทำ ..ไอ้เอียงส์..อิอิ:boo:
     
  7. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    พญาอินทรีย์นี้แน่นอนจริงเลย 555+++นับถือๆๆ
     
  8. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ขอให้เราทำอะไรให้ดีที่สุดเพียรให้มากที่สุด เมื้อเราตั้งใจทำแแล้วถ้ามันข้ามได้เท่ากับเราถึงจุดหมาย แต่ถ้าเราไปไม่ถึงจุดหมายเรากลับมาที่เดิมก็เท่ากับเราได้ทำในสิ่งที่ทำได้อยากบ้างแล้ว และกลับมาที่เดิมเราก็ไม่ตกต่ำกว่าเดิมถือว่าไม่มีอะไรเสีย เพียรพยายามต่อไป ทาเคชิ
     
  9. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    ท่านนิว..ยังไม่ยอมอธิบาย การแยกขันธ์5..เป็นธรรมทานเลย ผมอยากอ่านจะเอาเป็นแนวทางครับ :'(
     
  10. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    แยกขันต์5เกิดได้จากการโยนิโสมนสิการ เมื่อเราโยนิโสมนสิการแล้วเราตรึกลงไปจะรู้ว่ากายที่เป็นก้อนเป็นตัวตนนั้นมันไม่มี มันมีแต่รูปเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ไหว ตึง สีสรร วรรณะฯต่างๆนี่เรียกว่ารูปขันต์ ส่วนนามนั้นแยกออกเป็น 4ขันต์ได้แก่เวทนา ความรู้สึกทุกข์ สุข ไม่ทุกข์ไม่สุข สัญญา ความจำได้หมายรู้ สังขารความคิดปรุ่งแต่ง วิญญาณการรับรู้ ทั้งหมดนี้เรียกว่าขันต์ แยกออกเป็น5กอง และขันต์5นี้นั้นมันมีสภาวะหนึ่งที่เรียกว่าการยึดมั่นถือมั่น ที่พระพองค์เรียกว่า สัตว์ผู้มีอวิชาเข้าไปยึดว่าขันต์5ว่าเป็นตัวเป็นตน
     
  11. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ฉนั้นการที่เราทำอะไรนั้นมันเป้นไปตามเหตุปัจจัยมันไม่ใช่ตัวตนเข้าไปทำ ทำไปแล้วจบไปแล้ว อย่าไปยึดมั่นกับสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตน สติก็เป็นอนัตตาถ้าไม่เกิดก็ไม่เกิด ใครจะมีสติครบตลอดจนปิดกั้นอวิชาได้นอกจากอรหันต์ ขอเพียงอย่าล่วงศิลห้าก็เพียงพอไม่ก่อเกิดวิบาก และการล่วงศิลห้าก็ต้องครบองค์ถึงจะกิดวิบาก ธรรมะต้องละอียดเข้าใจเหตุปัจจัยจริง
     
  12. อินทรบุตร

    อินทรบุตร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    2,511
    ค่าพลัง:
    +7,320
    โห้ ก๊อปปี้มาตอบแท้ๆ...
     
  13. อินทรบุตร

    อินทรบุตร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    2,511
    ค่าพลัง:
    +7,320
    สุดท้าย มันก็อีหรอบเดิม พอคนพูดถึงความชั่ว ที่มันไปกระทำชำเราลูกเมียชาวบ้านเขาด้วยความจงใจ และ เต็มใจ ทางมโนทวาร (ไอ้ทวารเดียวกับที่อ้างว่าเห็นทุกอย่างมันดับสูญ กามคุณขาดไปแล้ว นั่นแหละ) ก็ ตอบแบบ แบ๊ะๆๆ โยนว่าคนอื่นปัญญาไม่ถึงมั่ง เป็นเด็กมั่ง มั่วไปเรื่อยๆ

    เบี่ยงประเด็นเพื่อกลบเกลื่อนความชั่วที่ได้กระทำไว้แล้วของคนเอง
     
  14. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ถ้าคุณเข้าถึงความเป็นขันต์5จริงคุณจะเข้าใจได้ว่าอกุศลนั้นเกิดขึ้นได้แน่นอนเพราะสติยังไม่สมบูรณ์ เพราะเหตุปัจจัยอะไรเล่า ท่านยังติดในอนุพยัญชนะ ไม่เข้าใจตามความเป็นจริง
     
  15. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ท่านรู้ได้ไง อินทรบุตร ท่านก็แค่ลูกของเทพเท่านั้นยังไม่โตเลย เราเอ็นดูท่านนัก
     
  16. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ลมอัสสาสะ ปัสสาสะดับไปได้3อย่าง 1ผู้ที่ได้ฌาน4 2ผู้ทำกาละ 3อานาปานสติสมบูรณ์
     
  17. Ndantchor

    Ndantchor เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    273
    ค่าพลัง:
    +1,123
    เห็นด้วยกับคุณสับสน ทำให้ได้รู้ว่าการสนทนากัน
    บางครั้งต้องเอาเศษเส้นผม โยนลงกับพื้นปฐพี
    ให้โดนเหยียบย่ำบ้าง จึงจะใจวชิรบรรจง พอ
    และยืนอยู่บนโลกที่จริงโดยสมมุติ อย่างอะเมซซิ่งที่ไม่คับแคบได้
    ให้ถึงจุดหมายปลายทางก้าวพ้นห้วงแห่งอารมณ์ กันทุกท่านครับ เช่นกัน
     
  18. อินทรบุตร

    อินทรบุตร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    2,511
    ค่าพลัง:
    +7,320
    เฮ้ย อย่ามั่ว อย่าเบี่ยงประเด็น

    คนเขากำลังรุมทุบหัวคุณ ในประเด็นที่ว่า

    ในอดีต คุณมาประกาศธรรมอย่าโจ่งแจ้ง ว่าบรรลุธรรมแล้ว ถึงสองครั้ง เห็นโลกธาตุดับสูญแล้ว กามราคะในตัวนั้นดับขาดหมดแล้ว ไม่เสพเมถุนธรรมอีกตลอดชีวิต ฉันมื้อเดียวตลอดชีวิต

    แล้วก็อยู่ดีๆ ก็มาสร้างชื่อใหม่ มาประกาศอีกครั้ง แต่คราวนี้บอกว่า เสพกามกับตัวเองอย่างจงใจ โดยระหว่างเสพกาม ได้กระทำการ ปู้ยี่ปู้ยำ กระทำชำเรา ลูกสาวชาวบ้าน เมียชาวบ้าน แล้วบอกว่า เสพได้ ไม่ผิด

    ที่คนเขารุมสับคุณอยู่หนะ คือความสับปลับ ปลิ้นปล้อนหลอกลวงของคุณ คร้าบ

    ไปประกาศไว้แบบนึง อยู่ดีๆ ก็มาทำอีกแบบนึง

    พิจารณาเรื่องศีลของตัวเองให้ดี องค์ประกอบในการผิดศีล หนะ มันมีเรื่องของการจงใจ ปิดบังหลอกลวงผู้อื่นด้วยนะ

    หากมีเจตนาในการปิดบังผู้อื่น ทำให้ผู้อื่นไม่เห็นตรงตามความเป็นจริง และการกระทำนั้นสำเร็จผล ถึงแม้ไม่ได้พูด เป็นแค่การบุ้ยใบ้ท่าทาง อันนี้ก็เรียกว่าผิดศีลข้อ 4 แล้วนะ

    ศีล 5 ตอนนี้หนะ เหลือกี่ข้อแล้ว newamazing?
     
  19. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    ผานมา ๒,๕๐๐ กวาป
    คําสอนทางพระพุทธศาสนาเกิดความหลากหลายมากขึ้น
    มีสํานักตางๆ มากมาย ซึ่งแตละหมูคณะก็มีความเห็นของตน
    หามาตรฐานไมได แมจะกลาวในเรื่องเดียวกัน
    ทั้งนี้ไมใชเพราะคําสอนของพระพุทธเจาไมสมบูรณ
    แลวเราควรเชื่อและปฏิบัติตามใคร ?
    ลองพิจารณาหาคําตอบงายๆ ไดจาก ๑๐ พระสูตร
    ซึ่งพระตถาคตทรงเตือนเอาไว 
    แลวตรัสบอกวิธีปองกันและแกไขเหตุเสื่อมแหงธรรมเหลานี้.
    ขอเชิญมาตอบตัวเองกันเถอะวา  ถึงเวลาแลวหรือยัง ? 
    ที่พุทธบริษัทจะมีมาตรฐานเพียงหนึ่งเดียว คือ “พุทธวจน” ธรรมวินัย
    จากองคพระสังฆบิดา อันวิญูชนพึงปฏิบัติและรูตามไดเฉพาะตน  ดังนี้.

    ๑. พระองคทรงสามารถกําหนดสมาธิ เมื่อจะพูด ทุกถอยคําจึงไมผิดพลาด
    อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จําเดิมแตเริ่มแสดง กระทั่งคําสุดทายแหงการกลาว
    เรื่องนั้นๆ ยอมตั้งไวซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเปนภายในโดยแท ใหจิตดํารงอยู
    ใหจิตตั้งมั่นอยู กระทําใหมีจิตเปนเอก ดังเชนที่คนทั้งหลายเคยไดยินวาเรากระทํา
    อยูเปนประจํา ดังนี้.
    มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐.

    ๒. แตละคําพูดเปนอกาลิโก คือ ถูกตองตรงจริงไมจํากัดกาลเวลา
    ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลายเปนผูที่เรานําไปแลวดวยธรรมนี้ อันเปนธรรมที่
    บุคคลจะพึงเห็นไดดวยตนเอง (สนฺทิฏิโก), เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล (อกาลิโก),
    เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู (เอหิปสฺสิโก), ควรนอมเขามาใสตัว (โอปนยิโก), อัน
    วิญูชนจะพึงรูไดเฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ).
    มู. ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑.

    ๓. คําพูดที่พูดมาทั้งหมดนับแตวันตรัสรูนั้น สอดรับไมขัดแยงกัน
    ภิกษุทั้งหลาย ! นับตั้งแตราตรี ที่ตถาคตไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
    จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานดวยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ, ตลอดเวลาระหวางนั้น
    ตถาคตไดกลาวสอน พร่ําสอน แสดงออก ซึ่งถอยคําใด ถอยคําเหลานั้นทั้งหมด
    ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้น ไมแยงกันเปนประการอื่นเลย.
    อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

    ๔. ทรงบอกเหตุแหงความอันตรธานของคําสอนเปรียบดวยกลองศึก
    ภิกษุทั้งหลาย ! เรื่องนี้เคยมีมาแลว : กลองศึกของกษัตริยพวกทสารหะ เรียกวา
    อานกะ มีอยู. เมื่อกลองอานกะนี้ มีแผลแตก หรือลิ, พวกกษัตริยทสารหะไดหาเนื้อไมอื่น
    ทําเปนลิ่ม เสริมลงในรอยแตกของกลองนั้น (ทุกคราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเชื่อมปะเขา
    หลายครั้งหลายคราวเชนนั้นนานเขาก็ถึงสมัยหนึ่ง ซึ่งเนื้อไมเดิมของตัวกลองหมดสิ้นไป
    เหลืออยูแตเนื้อไมที่ทําเสริมเขาใหมเทานั้น;
    ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในกาลยืดยาวฝายอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย,
    สุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ
    วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักไมฟงดวยดี
    จักไมเงี่ยหูฟง จักไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
    สวนสุตตันตะเหลาใด ที่นักกวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษร
    สละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก, เมื่อมีผูนํา
    สุตตันตะที่นักกวีแตงขึ้นใหมเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักฟงดวยดี จักเงี่ยหูฟง จักตั้งจิต
    เพื่อจะรูทั่วถึง และจักสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียนไป.
    ภิกษุทั้งหลาย ! ความอันตรธานของสุตตันตะเหลานั้น ที่เปนคําของตถาคต เปน
    ขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา จักมีไดดวย
    อาการอยางนี้ แล.
    นิทาน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓.

    ๕. ทรงกําชับใหศึกษาปฏิบัติเฉพาะจากคําของพระองคเทานั้น อยาฟงคนอื่น
    ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม
    เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่อง
    นอกแนว เปนคํากลาวของสาวก เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู เธอจักไมฟง
    ดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษา
    เลาเรียน.
    ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก
    มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะ
    เหลานั้นมากลาวอยู; เธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
    สําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน จึงพากันเลาเรียน ไตถาม ทวนถามแกกันและกันอยู
    วา “ขอนี้เปนอยางไร มีความหมายกี่นัย” ดังนี้. ดวยการทําดังนี้ เธอยอมเปดธรรม
    ที่ถูกปดไวได. ธรรมที่ยังไมปรากฏ เธอก็ทําใหปรากฏได, ความสงสัยในธรรมหลายประการ
    ที่นาสงสัย เธอก็บรรเทาลงได.
    ทุก. อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒.
    ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา
    เปนอยางไรเลา ?
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
    อันเปนตถาคตภาษิต (ตถาคตภาสิตา) อันลึกซึ้ง (คมฺภีรา) มีอรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา)
    เปนโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบดวยเรื่องสุญญตา (สุฺตปฏิสํยุตฺตา) อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวา
    เปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
    สวนสุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน
    มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก,
    เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู; พวกเธอยอมฟงดวยดี เงี่ยหูฟง ตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง
    และสําคัญไปวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมอันกวีแตงใหมนั้นแลว
    ก็ไมสอบถามซึ่งกันและกัน ไมทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
    อรรถเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยไมได ไมหงายของที่คว่ําอยู
    ใหหงายขึ้นได ไมบรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
    ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา.
    ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
    เปนอยางไรเลา ?
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
    ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอัน
    วิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี
    ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
    สวน สุตตันตะเหลาใด อันเปนตถาคตภาษิต อันลึกซึ้ง มีอรรถอันลึกซึ้ง เปน
    โลกุตตระ ประกอบดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู
    พวกเธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
    สําคัญวาเปนสิ่งที่ควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมที่เปนตถาคตภาษิตนั้นแลว
    ก็สอบถามซึ่งกันและกัน ทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
    อรรถะเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยได หงายของที่คว่ําอยู
    ใหหงายขึ้นได บรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
    ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา.
    ภิกษุทั้งหลาย ! เหลานี้แลบริษัท ๒ จําพวกนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทที่เลิศ
    ในบรรดาบริษัททั้งสองพวกนั้น คือ บริษัทปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
    (บริษัทที่อาศัยการสอบสวนทบทวนกันเอาเองเปนเครื่องนําไป : ไมอาศัยความเชื่อจากบุคคลภายนอก
    เปนเครื่องนําไป) แล.
    ทุก. อํ. ๒๐/๙๑/๒๙๒

    ๖. ทรงหามบัญญัติเพิ่มหรือตัดทอนสิ่งที่บัญญัติไว
    ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุทั้งหลาย จักไมบัญญัติสิ่งที่ไมเคยบัญญัติ จักไมเพิกถอน
    สิ่งที่บัญญัติไวแลว, จักสมาทานศึกษาในสิกขาบทที่บัญญัติไวแลวอยางเครงครัด
    อยูเพียงใด, ความเจริญก็เปนสิ่งที่ภิกษุทั้งหลายหวังได ไมมีความเสื่อมเลย อยูเพียงนั้น.
    มหา. ที. ๑๐/๙๐/๗๐.

    ๗. สํานึกเสมอวาตนเองเปนเพียงผูเดินตามพระองคเทานั้น
    ถึงแมจะเปนอรหันตผูเลิศทางปญญาก็ตาม
    ภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ไดทํามรรคที่ยังไมเกิดให
    เกิดขึ้น ไดทํามรรคที่ยังไมมีใครรูใหมีคนรู ไดทํามรรคที่ยังไมมีใครกลาวใหเปนมรรค
    ที่กลาวกันแลว ตถาคตเปนผูรูมรรค (มคฺคฺู) เปนผูรูแจงมรรค (มคฺควิทู) เปน
    ผูฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท). ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เปน
    ผูเดินตามมรรค (มคฺคานุคา) เปนผูตามมาในภายหลัง.
    ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล เปนความผิดแผกแตกตางกัน เปนความมุงหมายที่แตกตางกัน
    เปนเครื่องกระทําใหแตกตางกัน ระหวางตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุ
    ผูปญญาวิมุตติ.
    ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒/๑๒๖.

    ๘. ตรัสไววาใหทรงจําบทพยัญชนะและคําอธิบายอยางถูกตอง
    พรอมขยันถายทอดบอกสอนกันตอไป
    ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เลาเรียนสูตรอันถือกันมาถูก ดวยบท
    พยัญชนะที่ใชกันถูก ความหมายแหงบทพยัญชนะที่ใชกันก็ถูก ยอมมีนัยอันถูกตอง
    เชนนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เปน มูลกรณีที่หนึ่ง ซึ่งทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูได
    ไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
    ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุเหลาใด เปนพหุสูต คลองแคลว ในหลักพระพุทธวจน
    ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แมบท) พวกภิกษุเหลานั้น เอาใจใส บอกสอน
    เนื้อความแหงสูตรทั้งหลายแกคนอื่นๆ, เมื่อทานเหลานั้นลวงลับไป สูตรทั้งหลาย
    ก็ไมขาดผูเปนมูลราก (อาจารย) มีที่อาศัยสืบกันไป. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เปน มูลกรณี
    ที่สาม ซึ่งทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูไดไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
    *** ในที่นี้ยกมา ๒ นัยยะ จาก ๔ นัยยะ ของมูลเหตุสี่ประการ ที่ทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูไดไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป
    จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.

    ๙. ทรงบอกวิธีแกไขความผิดเพี้ยนในคําสอน
    ๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ผูมีอายุ ! ขาพเจาไดสดับรับมาเฉพาะ
    พระพักตรพระผูมีพระภาควา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
    ๒. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีสงฆอยูพรอมดวย
    พระเถระ พรอมดวยปาโมกข ขาพเจาไดสดับมาเฉพาะหนาสงฆนั้นวา “นี้เปนธรรม
    นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
    ๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีภิกษุผูเปนเถระอยู
    จํานวนมาก เปนพหุสูต เรียนคัมภีร ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ขาพเจาไดสดับมา
    เฉพาะหนาพระเถระเหลานั้นวา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
    ๔. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีภิกษุผูเปนเถระอยู
    รูปหนึ่ง เปนพหุสูต เรียนคัมภีร ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ขาพเจาไดสดับมา
    เฉพาะหนาพระเถระรูปนั้นวา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
    เธอทั้งหลายยังไมพึงชื่นชม ยังไมพึงคัดคานคํากลาวของผูนั้น พึงเรียนบทและ
    พยัญชนะเหลานั้นใหดี แลวพึงสอบสวนลงในพระสูตร เทียบเคียงดูในวินัย
    ถาบทและพยัญชนะเหลานั้น สอบลงในสูตรก็ไมได เทียบเขาในวินัยก็ไมได
    พึงลงสันนิษฐานวา “นี้มิใชพระดํารัสของพระผูมีพระภาคพระองคนั้นแนนอน และ
    ภิกษุนี้รับมาผิด” เธอทั้งหลาย พึงทิ้งคํานั้นเสีย
    ถาบทและพยัญชนะเหลานั้น สอบลงในสูตรก็ได เทียบเขาในวินัยก็ได พึงลง
    สันนิษฐานวา “นี้เปนพระดํารัส ของพระผูมีพระภาคพระองคนั้นแนนอน และ
    ภิกษุนั้นรับมาดวยดี” เธอทั้งหลาย พึงจํามหาปเทส... นี้ไว.
    มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖

    ๑๐. ทรงตรัสแกพระอานนท ใหใชธรรมวินัยที่ตรัสไวเปนศาสดาแทนตอไป
    อานนท ! ความคิดอาจมีแกพวกเธออยางนี้วา ‘ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดา
    ลวงลับไปเสียแลว พวกเราไมมีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท ! พวกเธออยาคิดอยางนั้น.
    อานนท ! ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแลว บัญญัติแลว แกพวกเธอทั้งหลาย
    ธรรมวินัยนั้น จักเปนศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลลวงไปแหงเรา.
    อานนท ! ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลลวงไปแหงเราก็ดี ใครก็ตาม จักตองมีตนเปน
    ประทีป มีตนเปนสรณะ ไมเอาสิ่งอื่นเปนสรณะ; มีธรรมเปนประทีป มีธรรมเปนสรณะ ไม
    เอาสิ่งอื่นเปนสรณะ เปนอยู. อานนท ! ภิกษุพวกใด เปนผูใครในสิกขา, ภิกษุพวก
    นั้น จักเปนผูอยูในสถานะอันเลิศที่สุดแล.
    อานนท ! ความขาดสูญแหงกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแหงบุรุษใด บุรุษนั้นชื่อวา
    เปนบุรุษคนสุดทายแหงบุรุษทั้งหลาย.... เราขอกลาวย้ํากะเธอวา... เธอทั้งหลายอยา
    เปนบุรุษพวกสุดทายของเราเลย.
    มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑.
    มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๑๗/๗๔๐.
    ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
     
  20. newamazing

    newamazing เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    1,704
    ค่าพลัง:
    +1,381
    อินทรบุตร ท่านมันช่างด้อยปัญญานัก เราจะกล่าวอะไรให้ฟังนะ คนที่เขาบรรลุธรรมนะเวลาเขาจะกล่าวสู่ธรรมชั้นสูงเขาก็ต้องเตรียมตัวเพื่อลองรับคุณธรรมชั้นต่อๆไป เขาจึงมีเจตนารักษาศิลให้มากกว่าเก่าเช่นศิลพรหมจรรย์ ตั้งใจกับทำได้สมบูรณ์คนละอย่าง ข้าพเจ้าเคยตั้งใจอย่างนั้นดั่งเคยกล่าวไว้ แต่เมื่อเหตุปัจจัยมันยังไม่พร้อมก็ถ่อยกลับมาอยู่จุดเดิมคือรักษาศิล5 เพราะการข้ามขั้นนั้นมันไม่ง่ายอย่างที่ท่านคิดหรอกนะ ผมใช้เวลา 9ปีกว่าจะข้ามมาสกิทาได้ อนาคามีนั้นข้าพเจ้ายังไม่รู้จะข้ามได้ไหมชาตินี้ และที่สิ่งที่ข้าพเจ้ากำลังทดลองอะไรต่อมิอะไรท่านก็ไม่รู้หรอก ท่านคิดแต่จะหาทางจะจับผิดคนนะท่านมันมืดบอดจริงๆ แค่นี้ท่านยังข้ามไม่ได้เลย คิดประเด็นเดียวว่าเขาสับปลับ แล้วเรื่องศิลนั้นท่านแยกไม่ออกหรอกท่านจะวินิจฉัยอย่างไรตามสบายนะท่าน เพราะท่านเป็นคนรู้ใจตนเองดีว่าท่านกำลังอะไร สู้ต่อไปนะอินทรบุตร ท่านเหลืออีกไม่เยอะแล้วปรับทิฎฐิอีกหน่อยก็ได้แล้ว
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...