ยุคก่อนมีพระพุทธรูป

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย อุรุเวลา, 6 ธันวาคม 2012.

  1. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    สถูป เจดีย์ไม่ได้มีไว้สำหรับคนทั่วๆ ไปครับ เขาสร้างสำหรับพระอรหันต์ครับ
     
  2. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    เมาอีกแล้ว ได้อ่านเปล่าว่ะ
    ผมงงกับคุณ มาก ก่อนหน้านี้ใครในเมืองพระพุทธเจ้าตายเขาก็มีสถูปหมดแหละ
    เป็นวัฒนธรรมเฉพาะ เมืองของพระพุทธเจ้า
    ที่จะไม่โยนลงแม่น้ำคงคา
    แต่จะเผาเอามาเก็บไว้บูชา
    พระพุทธเจ้าก็รักษาธรรมเนียมไว้ใครที่ท่านรู้จักตายหรือนิพพานไปท่านก็ให้สร้างสถูปเหมือนบ้านเมืองท่าน
    เพราะคนเมืองอื่นเขาไม่ได้สร้าง
    ต่อมา ก็มีคนไปถามว่าพระองค์ปรินนิพพานไปแล้วจัดตามประเพณีที่บ้านเมืองพระองค์ได้ไหม?
    พระพุทธเจ้าก็ยอม และบอกให้สร้างสถูปขึ้นที่สังเวชนียสถาน
    แต่ให้เรียกต่างออกไปว่า พระสถูป (ศัพท์มันคงต่างจากที่เขาเรียกสถูปมั้งในภาษาเดิม ผมไม่รู้ว่าเขาเรียกว่าอะไรในภาษานั้นนะ
    พระพุทธเจ้าพูดภาษาอะไรยังไม่มีคนฟันธงเลยมันเป็นคนละคำกัน โดยสงวนไว้สำหรับคนสี่ประเภท)
    เขาแปลไทยเขาก็ใช้คำว่าพระสถูป แต่มันก็ไปสับสนเอากับคำว่าสถูปว่าความหมายเหมือนกัน
    เรียกเหมือนกันไปหมด กรมดำรงก็เลยพูดว่า ให้เติมพระไปด้วยมันต่างกัน เดี๋ยวเข้าใจผิด
    ต่อมาพระสถูปก็กลายมาเป็นเจดีย์ ซึ่งมีความหมายกว้างกว่า ใครเรียกเจดีย์ว่าพระสถูปก็ไม่ถูกอีก คนล่ะความหมาย เพราะเจดีย์
    คือไม่ใช่แค่ที่เก็บกระดูกคนสี่พวกนี้(เช่นพระพุทะเจ้าพระอรหันต์)เท่านั้น
    พระไตรปิฏก พระพุทธรูป อะไรทำนองนี้ก็ถือว่าเป็นเจดีย์ด้วย
    ....


    เข้าใจยัง เบื่อที่จะอธิบายแล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ธันวาคม 2012
  3. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดป่าบ้านตาด
    เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๓
    ท่านเพียรสมควรก่อเจดีย์

    (คณะศิษย์ท่านพระอาจารย์เพียร วิริโย ทำหนังสือกราบเรียนหลวงตาเพื่อพิจารณา เรื่อง ประกอบพิธีวางศิลามงคลเจดีย์ประดิษฐานอัฐิธาตุ อัฐบริขารของท่านพระอาจารย์เพียร วิริโย ในวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ เวลา ๙ นาฬิกา ๔๙ นาที ณ วัดป่าหนองกอง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี) เราก็อนุญาตแล้วและมาขออีก เข้าใจแล้วนะ

    ท่านเพียรเป็นพระที่สมควรแก่อนุสรณ์ทุกอย่าง จะก่อเจดีย์ก็ได้ อะไรก็ได้ พูดชัดเจนเลยว่าเป็นผู้สิ้นกิเลสโดยสิ้นเชิง..ท่านเพียร ทุกอย่างรอบตัวบอกหมดเลย มันก็แปลกอยู่นะ เครื่องบริขงบริขารอยู่ในนั้นเลยกลายเป็นพระธาตุไปหมด แปลกอยู่นะ เจ้าของเป็นคนเดียวของนอกตัวเองออกไปกลายเป็นพระธาตุอะไร..ท่านเพียร อนุญาตแล้วนะ

    พระผู้ควรแก่การเคารพสักการะบูชาก็คือพระพุทธเจ้าหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าหนึ่ง พระเจ้าจักรพรรดิหนึ่ง พระอรหันต์หนึ่ง ท่านบอกไว้ชัดเจน ท่านเพียรสมควรก่อเจดีย์ได้แล้ว ไม่ใช่จะก่อสุ่มสี่สุ่มห้า หมาตายในวัดก็ไปก่อเจดีย์ พิลึกนะ อย่างนั้นไม่เอา ทำไม่มีหลักมีเกณฑ์ อันนี้สมควรจะก่อเจดีย์ไว้กราบไหว้บูชาได้แล้ว ตามที่ท่านอธิบายไว้ในตำรับตำราเป็นประเพณีดีงาม องค์นี้ก็ควร

    ท่านเพียรท่านอยู่กับเรามาแต่ต้นเลยนะ ออกจากนี้ก็ไปอยู่ที่นั่น ก็เราละให้ไปอยู่ ท่านบุญมี ท่านบุญมี-ท่านเพียรไปอยู่ด้วยกัน อยู่ด้วยกันกับเรามาตั้งแต่อยู่ห้วยทราย มานี้ก็มาด้วยกัน ออกจากนี้ก็แยกย้ายไปอยู่นู่นท่านบุญมี-ท่านเพียรให้ไปอยู่ที่นั่น ท่านปฏิบัติเรียบร้อยดีงามตลอดมา ท่านเพียรทุกอย่างแสดงให้เห็นความบริสุทธิ์ของใจมาแล้ว กลายเป็นพระธาตุของท่านเพียร

    เราอนุญาตแล้วด้วยเหตุผล ท่านเพียรนี้สิ้นสุดทุกอย่างแล้ว บอกชัดเจนเลย สิ้นสุดทุกอย่าง สมควรจะก่อเจดีย์กราบไหว้บูชาได้แล้ว เราเห็นด้วย เขามาเล่าเรื่องทุกอย่างให้ฟัง เรียบร้อยแล้ว เรียกว่าเป็นผู้บริสุทธิ์สุดส่วน ในสมัยปัจจุบันเรียกว่าเป็นพระอรหันต์ พูดชัดๆ อย่างนี้ละ ท่านเพียร

    Luangta.Com -
     
  4. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    บุคคลที่สมควรสร้างสถูปไว้บูชา (ถูปารหบุคคล)

    ...............การบูชาบุคคลที่ควรบูชา นั้นเป็นมงคลข้อหนึ่งในมงคลสูตร 38 ประการ การบูชา คือ การยกย่อง เลื่อมใส ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่เสแสร้งแกล้งทำ นั่นหมายถึง กิริยาอาการสุภาพที่แสดงต่อผู้ที่ควรบูชาทั้งต่อหน้าและลับหลัง ซึ่งการบูชาในทางปฏิบัตินั้น มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ การบูชาด้วยสิ่งของ เรียกว่า อามิสบูชา และ การบูชาด้วยการตั้งใจปฏิบัติตามคำสอนหรือแบบอย่างที่ดีของท่าน เรียกว่า ปฏิบัติบูชา ซึ่งอย่างหลังนี้เองเป็นการบูชาสูงสุด ที่พระพุทธเจ้าทรงยกย่อง

    ...............บุคคลที่ควรบูชา คือ บุคคลที่มีคุณงามความดี ควรค่าแก่การระลึกถึง และยึดถือเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติตาม มีอยู่ด้วยกันจำนวนมาก เช่น พระพุทธเจ้า พระสงฆ์ พ่อ แม่ ฯลฯ อย่างไรก็ดีพระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงบุคคลที่สมควรแก่การสร้างสถูปไว้บูชาไว้เพียง 4 จำพวก ได้แก่
    1.พระพุทธเจ้า
    เหตุที่พระพุทธเจ้าทรงเป็นถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายว่า เมื่อมหาชนยังจิตให้เลื่อมใสว่า นี่เป็นสถูปของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พวกเขายังจิตให้เลื่อมใสในสถูปนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
    2.พระปัจเจกพุทธเจ้า
    เหตุที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทรงเป็นถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายว่า เมื่อมหาชนยังจิตให้เลื่อมใสว่า นี่เป็นสถูปของพระปัจเจกพุทธเจ้าพระองค์นั้น พวกเขายังจิตให้เลื่อมใสในสถูปนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
    3.พระอรหันต์ (ในพระสูตรกล่าวเป็น "พระตถาคตสาวก" ซึ่งปกติ หมายถึง "พระอรหันต์")
    เหตุที่พระสาวกของพระพุทธเจ้าทรงเป็นถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายว่า เมื่อมหาชนยังจิตให้เลื่อมใสว่า นี่เป็นสถูปของพระสาวกของผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พวกเขายังจิตให้เลื่อมใสในสถูปนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
    4.พระเจ้าจักรพรรดิ์
    เหตุที่พระเจ้าจักรพรรดิ์ทรงเป็นถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายว่า เมื่อมหาชนยังจิตให้เลื่อมใสว่า นี่เป็นสถูปของพระธรรมราชาผู้ทรงธรรมนั้น พวกเขายังจิตให้เลื่อมใสในสถูปนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์

    http://www.relicsofbuddha.com/page4.htm#02
     
  5. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    ทิฐิของใครครับ
     
  6. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    ไปขุดอะไร ของคุณมาเนี่ย
    ผมก็เคยให้ไปแล้วว่า บุคคลสี่ประเภทมีอะไรบ้าง
    เคยอ่านบ้างไหม
    ยกข้อความกรมดำรมาก็แล้ว ว่าสถูปกับพระสถูปเป็นคนละความหมายคนทั่วไปชอบเข้าใจผิด
    ยกคำอธิบายดร.พระมหาสมจินต์ สมมาปญโญ คณบดีมหาลัยสงฆ์มาก็แล้วว่าเจดีย์พระสถูปเป็นคนละความหมาย พระสถูปกินความได้แค่ธาตุเจดีย์
    ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ประเภทของสิ่งที่เรียกว่าเจดีย์
    เบื่อเอ็งว่ะ
    พวกอ่านหนังสือไม่ออกเนี่ย
     
  7. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    ขอกรมดำรงศึกษามาไง ไอ้ฟาย
     
  8. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    พระไตรปิฏกคือ พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าครับ พระไตรปิฏกไม่ถือว่าเป็นเจดีย์ครับ
     
  9. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    "สถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุกระดูกของผู้ล่วงลับ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาล
    เข้าใจว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง พระสถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุพระบรมธาตุ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาล เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป โดยเฉพาะพวกศากยะ(เชื้อวงค์ของพระพุทธเจ้า)ซึ่งเห็นต่างกว่าพวกอื่นในอินเดียทั้งหมดคือ
    นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป"

    "ซึ่งต่อมาก็วิวัฒนาการมาเป็นพระสถูป หรือ เจดีย์ (เป็นพุทธประสงค์ให้ประยุกต์เอาประเพณีดั้งเดิมมาใช้)
    ไม่ควรเรียกว่าสถูป เมื่อเห็นเจดีย์หรือพระสถูปในพระพุทธศาสนา ถ้าจะให้ถูกต้องจริง ๆ ควรจะต้องเรียกว่า “พระสถูปหรือเจดีย์” โดยต้องใช้คำว่า “พระ” นำหน้าสถูปด้วย เพราะเป็นของสูง เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้นโดยให้เรียกแยกออกไปจากสถูปทั้งหมดก่อนหน้านั้น โดยถือว่าให้เรียกสำหรับที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้น"

    และเนื่องจากพระพุทธเจ้าตรัสถึงบุคคล ๔ ประเภท ซึ่งเป็นผู้ควรแก่การสร้างสถูปไว้บูชา คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระสาวกของพระพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ(ที่เป็นองค์ที่เป็นมหาราชมีคุณความดีมากๆๆ)

    ดั้งนั้นจึ่งพลอยเรียกสถูปที่สร้างก่อนหน้านั้น ของบุคคล ๔ ประเภท นี้ ในชื่อพระสถูปหรือเจดีย์ด้วย

    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกล่าวไว้ในเรื่อง “ตำนานพุทธเจดีย์”



    คำว่า “เจดีย์” ในยุคดั้งเดิมมีนัยกว้างขวางครอบคลุมสิ่งที่ควรเคารพ นับถือ บูชาหลายอย่างดังที่กล่าวแล้ว โดยสรุปมี ๔ ประเภท

    ๑. ธาตุเจดีย์

    สิ่งก่อสร้างที่บรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า พระเจ้าจักรพรรดิ

    ๒. บริโภคเจดีย์

    สังเวชนียสถาน อันเป็นสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า เช่น สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน หรือที่เรียกว่าสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล

    ๓. ธรรมเจดีย์

    ข้อความที่ว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นคำ ประโยคทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง คัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา

    ๔. อุทเทสิกเจดีย์

    สิ่งของที่สร้างขึ้นอุทิศพระพุทธเจ้า เป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้า ไม่กำหนดว่าจะเป็นอะไร เช่น พระแทนวัชรอาสน์ที่เจดีย์ศรีมหาโพธิพุทธคยา พระพุทธรูป

    อันที่จริงโดยนัยนี้จะเห็นว่า “เจดีย์” มีความหมายกว้างครอบคลุมสิ่งที่ควรบูชาสักการะทุกอย่าง ไม่ได้หมายถึงพระสถูปอย่างเดียวด้วยซ้ำไป จะเรียกได้ว่าเป็นวิวัฒนาการมาอีกทีหลังพุทธปรินิพานไปอีกขั้น เจดีย์ที่มีความหมายเดียวกันกับ “พระสถูป” จึ่งเป็นได้แค่ ธาตุเจดีย์ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระบรมธาตุ หรืออัฏฐิธาตุ เท่านั้น"


    พระมหาสมจินต์ สมมาปญโญ อดีตคณบดีบัญฑิตวิทยาลัย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ธันวาคม 2012
  10. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    ๓. ธรรมเจดีย์

    ข้อความที่ว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นคำ ประโยคทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง คัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา

    อ่านบ้างนะ
     
  11. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    บุคลมีสี่ประเภท สถูป เจดีย์ก็สร้างให้
    1.พระพุทธเจ้า
    2.พระปัจเจกพุทธเจ้า
    3.พระอรหันต์
    4.พระเจ้าจักรพรรดิ์

    ไม่ใช่คนทั่วๆ ไปครับ
     
  12. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    สถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุกระดูกของผู้ล่วงลับ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาลเข้าใจว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง สำหรับพระสถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาล เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป โดยเฉพาะพวกศากยะ(เชื้อวงค์ของพระพุทธเจ้าและคนในบ้านเมืองนั้น)ซึ่งเห็นต่างกว่าพวกอื่นในอินเดียทั้งหมดคือ
    นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป"
    "ซึ่งต่อมาก็วิวัฒนาการมาเป็นพระสถูป หรือ เจดีย์ (เป็นพุทธประสงค์ให้ประยุกต์เอาประเพณีดั้งเดิมมาใช้)
    ไม่ควรเรียกว่าสถูป เมื่อเห็นเจดีย์หรือพระสถูปในพระพุทธศาสนา ถ้าจะให้ถูกต้องจริง ๆ ควรจะต้องเรียกว่า “พระสถูปหรือเจดีย์” โดยต้องใช้คำว่า “พระ” นำหน้าสถูปด้วย เพราะเป็นของสูง เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้นโดยให้เรียกแยกออกไปจากสถูปทั้งหมดก่อนหน้านั้นโดยถือว่าให้เรียกสำหรับที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้น"



    และเนื่องจากพระพุทธเจ้าตรัสถึงบุคคล ๔ ประเภท ซึ่งเป็นผู้ควรแก่การสร้างพระสถูปไว้บูชา คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระสาวกของพระพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ(ที่เป็นองค์ที่เป็นมหาราชมีคุณความดีมากๆๆ)

    ดั้งนั้นจึ่งพลอยเรียกสถูปที่สร้างก่อนหน้านั้น ของบุคคล ๔ ประเภท นี้ ในชื่อพระสถูปหรือเจดีย์ด้วย

    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกล่าวไว้ในเรื่อง “ตำนานพุทธเจดีย์”
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ธันวาคม 2012
  13. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    เขาสร้างเจดีย์บรรจุพระธรรมครับ แต่ไม่ได้หมายความว่า พระไตรปิฏกเป็นเจดีย์อย่างที่คุณเข้าใจครับ
     
  14. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    อ่านบ้างนะ เบื่อที่จะก็อปปี้มาซ้ำๆๆ ซากๆๆแล้วว่ะ
    พูดอะไร คิดก่อนด้วนสิ
    ไม่ใช่สักแต่มีปากแล้วพูดแบบคนบ้า
     
  15. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    ทิฐิของใครครับ
     
  16. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    เอาเข้าไป นักวิชาการเขาแบ่งแบบนี้ว่า พระไตรปิฏก ก็ถือว่าเป็นเจดีย์ด้วย
    คือเป็นเจดีย์ประเภทธรรมเจดีย์
    ไม่ใช่ผมแบ่งเอง
    คุณเก่งกว่าเขาหรือไง
    คุณก็ไปเถียงกับนักวิชาการทางพระพุทธศาสนาทั่วโลกสิ
    มาบอกอะไรผมครับ
    ผมไม่ใช่คนบัญญัติศัพท์
     
  17. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    ก็อปปี้มาให้อ่านแล้ว เคยอ่านบ้างเปล่าว่ะ
    ทิฐิใคร
    แสดงว่าไม่เคยอ่านเลยล่ะสิ
    ปัญญาอ่อนหรือครับ
    ผมจะได้ไม่ด่าคุณอีก
    หรืออ่านไม่เข้าใจว่ะ
     
  18. โปรเซดอน

    โปรเซดอน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2011
    โพสต์:
    376
    ค่าพลัง:
    +171
    (||)(||)(||)(||)(||)(||)(||)(||)
     
  19. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    "สถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุกระดูกของผู้ล่วงลับ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาลเข้าใจว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง สำหรับพระสถูปนั้น เดิมสร้างสำหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตามแบบแผนอันมีประเพณีในมัชฌิมประเทศตั้งแต่ก่อนพุทธกาล เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเภทหนึ่งในหลายประเภทที่คนอินเดียโบราณนิยมสร้าง นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป โดยเฉพาะพวกศากยะ(เชื้อวงค์ของพระพุทธเจ้าและคนในบ้านเมืองนั้น)ซึ่งเห็นต่างกว่าพวกอื่นในอินเดียทั้งหมดคือ
    นิยมเผาศพและเก็บกระดูกไว้บูชา โดยสร้างที่เก็บ ซึ่งถ้ามีขนาดใหญ่โตก็เรียกว่าสถูป"

    "ซึ่งต่อมาก็วิวัฒนาการมาเป็นพระสถูป หรือ เจดีย์ (เป็นพุทธประสงค์ให้ประยุกต์เอาประเพณีดั้งเดิมมาใช้)
    ไม่ควรเรียกว่าสถูป เมื่อเห็นเจดีย์หรือพระสถูปในพระพุทธศาสนา ถ้าจะให้ถูกต้องจริง ๆ ควรจะต้องเรียกว่า “พระสถูปหรือเจดีย์” โดยต้องใช้คำว่า “พระ” นำหน้าสถูปด้วย เพราะเป็นของสูง เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้นโดยให้เรียกแยกออกไปจากสถูปทั้งหมดก่อนหน้านั้น โดยถือว่าให้เรียกสำหรับที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุโดยเฉพาะ เท่านั้น"

    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ในหนังสือ “ตำนานพุทธเจดีย์”
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ธันวาคม 2012
  20. มหาวัด

    มหาวัด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    248
    ค่าพลัง:
    +1,892
    ปลาไหล แบบนี้ต้องเอาให้ตาย ให้จุกเถียงไม่ออกเลยใช่มิใช่มิ

    (||)(||)(||)(||)(||)(||)(||)(||)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ธันวาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...