ดาวหาง Elenin / Nibiru (planet X) - Elenin - Events

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    สุดยอดเคล็ดวิชาปราบ * X " สิ่งที่ตาเห็น อาจไม่ใช่สิ่งที่ใจคิด "
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายวีดีโอ สามารถสร้างภาพที่ผิดเพี้ยนไปจากปกติธรรมชาติที่เห็นจากสายตาคนปกติทั่วไป และถ้าหากมีกระจกมากั้นกลางอีกที สิ่งปาฏิหารย์ก้อจะเรื่มทะยอยกันออกมาอย่างไม่ขาดสาย

    ปัญญาจงบังเกิดแก่ทุกๆท่านด้วยเถิด
    สาธุ สาธุ สาธุ
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=WLBuzvVprx0&feature=em-uploademail]87 - ANSWERS OF AN ALIEN FROM ANDROMEDA - Nibiru and Events - YouTube[/ame]
     
  4. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    อีกช่องทางหนึ่งของการเรียนรู้

    ของเก่าถูกลบ เอาของใหม่ให้ก็ได้
    วิทยาทานอีกช่องทางหนึ่งของการเรียนรู้
    และใช้วิจารณญานอย่างไม่ปิดกั้นความเชื่อของใคร
    <iframe width="420" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/AtLYI3zAJ3k" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  5. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    พอแล้ว พอ พอ พอ .....หยุดการทำลายจินตนาการแต่เพียงเท่านี้ !!!(deejai)(deejai)(deejai)
     
  6. puvadon777

    puvadon777 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กันยายน 2011
    โพสต์:
    1,076
    ค่าพลัง:
    +5,890
    ผมชอบดูภาพยนต์ช่อง SCI FI อยู่แล้ว เรื่อง SG1 ทำผมนอนดึกเป็นประจำครับ
     
  7. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,860
    วีดีโอที่ 87

    น้า Mythi เตือนว่าสัญญานอินเตอร์เนทและระบบการสื่อสารบนโลกอาจจะสิ้นสุดลงภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันนี้ ทางเดียวที่จะติดต่อกับโลกภายนอกได้คือ วิทยุสื่อสารที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

    เมื่อสัปดาห์ก่อนคุณน้ายังได้ออก Screen Saver เป็นรูปประภาคารสวยๆทั่วโลก แต่ได้กำชับว่าให้รีบดาวน์โหลดเก็บไว้ดูเป็นที่ระลึก

    เพราะอีกไม่นานประภาคารเหล่านี้จะไม่เหลืออยู่บนโลกแล้ว
     
  8. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    งั้นผมจะ ยืดระยะเวลาการจ่ายค่า internet ออกไปอีกซักหน่อย

    เผื่อจะได้ชักดาบ กันหน้าซื่อๆไปเลย (deejai)
     
  9. puvadon777

    puvadon777 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กันยายน 2011
    โพสต์:
    1,076
    ค่าพลัง:
    +5,890
    วันที่ 22 ตุลาคม 2555
     
  10. pinkangel2550

    pinkangel2550 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +31
    สิ่งที่ตาเห็นได้
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=ZokwDPeutg0&feature=player_embedded]THE MOST IMPORTANT NIBIRU VIDEO...YouTube.mp4 - YouTube[/ame]
    :'( :'( :'(
     
  11. pinkangel2550

    pinkangel2550 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +31
    คนนี้เค้าประมาณ ว่า เป็น ระหว่าง วันที่ ๒๖ ตุลาคม ถึง ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ที่ระยะ ประมาณ ต่ำกว่า ๘๐,๐๐๐ ไมล์

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=t_kYvHE4Asg&feature=player_embedded]Nibiru Path Revisited 8/19/2012 - YouTube[/ame]

    :'( :'( :'(
     
  12. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    Nibiru's impossible orbit

    Nibiru's proposed orbit would be highly elliptical. So highly elliptical that it is for all intents and purposes a straight line, out and back. We know this because a simple mathematical relationship exists between the period and the length of the semi-major axis of the ellipse.<SUP class=footnoteref>7</SUP>
    Kepler's Laws


    German mathematician and astronomer Johannes Kepler (1571–1630) discovered three laws of planetary motion. They are:
    1. "The orbit of every planet is an ellipse with the sun at a focus."
    2. "A line joining a planet and the sun sweeps out equal areas during equal intervals of time."
    3. "The square of the orbital period of a planet is directly proportional to the cube of the semi-major axis of its orbit."
    Kepler's Laws applied to Nibiru

    1. Since all planets orbit in ellipses with the Sun at one focus, Nibiru must go around the Sun, not just through the orbital paths of the planets.<SUP class=footnoteref>8</SUP>
    2. All planets sweep out equal areas in equal time intervals, so Nibiru must move very slowly at it's aphelion, or furthest point from the Sun, and very fast at it's perihelion, or closest point.<SUP class=footnoteref>9</SUP>
    3. The square of the orbital period of a planet is directly proportional to the cube of the semi-major axis of its orbit. Since Nibiru's period is specified as 3,600 years, we can use Kepler's third law to determine something about its orbit.<SUP class=footnoteref>10</SUP>
    Kepler's third law can be expressed as:
    (1)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]a[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]=[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]p[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]2[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    where a is the length of the semi-major axis in astronomical units (AU) and p is the period, in years. Applying a little middle-school algebra to this, we get:
    (2)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]a[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]=[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]p[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]2[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400])[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Size2][FONT=9d28e8404245f0540d885148#a41400]√[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    So, assuming that perihelion is at or near Earth's orbit (since it is supposed to come close to us, or even hit us), the distance d from the sun at aphelion is going to be <NOBR>[FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]2[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]a[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>(twice the semi-major axis, minus 1 AU). Adding this to our formula gives us:
    (3)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]2[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Size3][FONT=9d28e8414245f0750d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]p[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]2[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400])[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Size2][FONT=9d28e8404245f0540d885148#a41400]√[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Size3][FONT=9d28e8414245f0750d885148#a41400])[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    Substituting our period (3600 years) gives us:
    (4)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]2[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Size3][FONT=9d28e8414245f0750d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3600[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]2[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400])[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Size2][FONT=9d28e8404245f0540d885148#a41400]√[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Size3][FONT=9d28e8414245f0750d885148#a41400])[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    (5)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]2[/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Size1][FONT=9d28e83f4245f0330d885148#a41400]([/FONT][/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]12960000[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main]− [/FONT][FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]√[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Main][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400]3[/FONT][/FONT] [FONT=MathJax_Size1][FONT=9d28e83f4245f0330d885148#a41400])[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    (6)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]2[/FONT][FONT=MathJax_Main]([/FONT][FONT=MathJax_Main]234.892058[/FONT][FONT=MathJax_Main])[/FONT][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    (7)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]469.784116[/FONT][FONT=MathJax_Main]−[/FONT][FONT=MathJax_Main]1[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    (8)
    <NOBR>[FONT=MathJax_Math-italic][FONT=ea9bd3dac1f0b2790d885148#a41400]d[/FONT][/FONT][FONT=7253d757afc94e7c0d885148#a41400][FONT=MathJax_Main]=[/FONT][FONT=MathJax_Main]468.784116[/FONT][/FONT] </NOBR>​

    In other words, given a 3,600 year orbit that brings it to within 1 AU of the sun (the area of Earth's orbit) the far end of the orbit must be 469 AU out from the sun.
    Just as a comparison point, Pluto is on average about 39.5 AU away from the Sun. It's year is about 248 earth years long. If we plug 248 into equation (2) above, we get 39.47 AU. We can see that the formula works.
    Pluto's orbit is considered "highly elliptical". But it's not nearly as elliptical as the orbit proposed for Nibiru. Dr. Douglas Hamilton's 2D Orbital Elements calculator (after some trial and error) produces an orbit with an eccentricity of 0.995744. This produces an orbit with an approximate Perihelion distance of 1 AU, and a semi-major axis of 235. This is extremely eccentric.

    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: #888 1px solid; BORDER-LEFT: #888 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #fff; MARGIN: 5px; FLOAT: right; BORDER-TOP: #888 1px solid; BORDER-RIGHT: #888 1px solid"><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center; BACKGROUND: #cacaca">Nibiru's impossible orbit</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center; FONT-STYLE: italic; FONT-SIZE: 80%">A screengrab of the output of Dr. Hamilton's 2D Orbital Elements calculator</TD></TR></TBODY></TABLE>
    At nearly 470 AU, the gravity of the sun is negligible, almost non-existent. So as a result, Nibiru must be traveling close to the Sun's escape velocity when it comes within 1 AU of it. At a distance of 1 AU, the Sun's escape velocity is about 42km/s, so this is the speed at which Nibiru should be traveling (or a hair under it) in 2012. In comparison, the Earth's orbital velocity is a bit under 30km/s, Venus' is about 35km/s and Mercury's is 47.8. Nibiru would be whipping around the Sun nearly as quickly as Mercury.
    Unstable Orbit

    The orbit described above would be highly unstable. A highly elliptical orbit is unstable because it will suffer drastically from the slightest perturbation - Jupiter's gravity would probably be enough to send Nibiru spiraling off to who knows where. Pluto's orbit is stabilized by Neptune, as Pluto is locked into a 2:3 orbital resonance with Neptune. The maths behind multiple body problems are nightmarish to sort out because they have no closed solutions (the objects all affect each other to such a degree that the orbits gradually precess), so professional astronomers use computers to perform these calculations. But you should understand this: As much as the fictional Nibiru would pull on other planets, those planets would also pull on Nibiru. With a long, thin ellipse as described, even the slightest nudge from the gravity of another object, even if that object is considerably smaller than Nibiru, would have a dramatic effect on Nibiru's orbit.<SUP class=footnoteref>11</SUP>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2012
  13. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    Aphelion

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->From Wikipedia, the free encyclopedia
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->Jump to: navigation, search
    <!-- /jumpto --><!-- bodycontent -->[​IMG] [​IMG]
    1. Planet at aphelion 2. Planet at perihelion 3. Sun



    The aphelion is the point in the orbit of a planet or comet where it is farthest from the Sun. The Earth reaches its aphelion when the Northern Hemisphere is experiencing summer. The point in orbit where a planet or comet is nearest to the sun is called the perihelion. The word aphelion derives from the Greek words, apo meaning away, off, apart and Helios (the Greek god of the sun). Earth's aphelion usually occurs sometime around July 4.
     
  14. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2012
  15. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,860
    ทฤษฏีของ เคปเลอร์ในเรื่องวงโคจรของดวงดาวต่างๆ

    ชั่วโมงนี้คงใช้ไม่ได้แล้ว นะครับ

    เพราะถ้าตามที่น้า Mythi บอกไว้ก็คือ เมื่อปีที่แล้วชาวคลูเลี่ยนซึ่งมีเทคโนโลยี
    สูงล้ำในระดับ 8 ได้ ใช้กำลังดึง นิบิรุ เอาไว้ที่หลังดาวยูเรนัสระยะหนึ่ง ก่อนที่จะ
    ปล่อยเข้าสู่วงโคจรเดิมอีกครั้ง ทั้งนี้เพื่อลดผลกระทบที่จะมีต่อชาวโลก

    ปรากฏการณ์แบบนี้ถือว่า "เหนือโลก" อย่างสิ้นเชิง
    ผู้สนใจไปศึกษาในวีดีโอของ กัปตัน บิล ได้ มีการกล่าวถึงเรื่องนี้ไว้ ครับ
     
  16. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    ให้มันแตกเลยดีกว่า ไม่เอาอะไรทั้งนั้น .......(deejai)


    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=j1TSjT-K2GA&feature=relmfu"]Nibiru = LULZ, FAIL and PWNAGE! - YouTube[/ame]






    ..........................................................................................................
    ทฤษฏีของ เคปเลอร์ในเรื่องวงโคจรของดวงดาวต่างๆ

    ชั่วโมงนี้คงใช้ไม่ได้แล้ว นะครับ

    เพราะถ้าตามที่น้า Mythi บอกไว้ก็คือ เมื่อปีที่แล้วชาวคลูเลี่ยนซึ่งมีเทคโนโลยี
    สูงล้ำในระดับ 8 ได้ ใช้กำลังดึง นิบิรุ เอาไว้ที่หลังดาวยูเรนัสระยะหนึ่ง ก่อนที่จะ
    ปล่อยเข้าสู่วงโคจรเดิมอีกครั้ง ทั้งนี้เพื่อลดผลกระทบที่จะมีต่อชาวโลก

    ปรากฏการณ์แบบนี้ถือว่า "เหนือโลก" อย่างสิ้นเชิง
    ผู้สนใจไปศึกษาในวีดีโอของ กัปตัน บิล ได้ มีการกล่าวถึงเรื่องนี้ไว้ ครับ<!-- google_ad_section_end -->
    .............................................................................................................


    ==> ดึงไว้แล้วปล่อยกลับเข้าสู่วงโคจรเดิม มันก็ตัวเลขเดิมแหละท่าน (deejai)(deejai)(deejai)

    น้า myth ลืมดู กฎการเคลื่อนที่ของดาวหรือเปล่า เลยเหมาว่า อะไรๆก็เหนือธรรมชาติ



    อีกอย่าง Kepler's laws ไม่ใช้ ทฤษฎี นะท่าน มันเป็น กฏ


    ยังไงลองศึกษาดูก่อน Kepler's laws ถ้าไม่เข้าใจ ลองไปหา ครูสอน ฟิสิก แล้วถามท่านดู
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2012
  17. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571
    เขาว่าเขาว่า มันมีอยู่
    จักเฝ้าตั้งตารอดู ให้จงได้
    แต่นานแล้วหนอ ยังไม่เห็น
    หรือจะเป็นเพราะเรา เฝ้าไม่ดี

    ถึงอย่างไรก็มีอีกสี่เดือน สี่เดือนเลื่อนมาแล้ว ก็ไม่เกิด
    จิตเตลิดหาเรื่องใหม่ ให้ฉงน
    บอกทั่วล่าว่าฟ้าจะมืดมน คนหนอคน ทำอะไรไม่กลัวกรรม​



    numtrn กระทำการแทน

    รับสื่อสารโดย numtrn
     
  18. จริงหรอ

    จริงหรอ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2012
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +57
    ไม่เชื่อก็ไม่ต้องอ่าน

    เห็นความเห็นบางความเห็นก็แปลกใจ ชื่อหัวข้อเค้าก็บอกอยู่แล้วว่าสำหรับเรื่องภัยพิบัติและการเตรียมการน้ำท่วม หากท่านใดไม่คิดว่าจำเป็นต้องเตรียมการอะไร เพราะไม่เกิดแน่นอน ก็ไม่เป็นจำเป็นต้องเข้ามาอ่านในห้องนี้ ท่านอื่นเสียเวลาค้นหาข้อมูลให้คนอื่นได้อ่าน ถ้าเราไม่เชื่อก็ไม่เห็นต้องไปขัด ก็ไม่ต้องอ่านเสียจะได้ไม่ขัดใจตัวเราเอง มีคนอื่นอีกมากมายที่ต้องการข้อมูลที่ท่านเหล่านี้อุตส่าห์เสียสละเวลาไปหามาให้
     
  19. Numtrn

    Numtrn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    1,408
    ค่าพลัง:
    +1,571

    ก็เชื่อไง เชื่อว่า ไม่มีจริง nibiru





    แต่เอาเหอะ เดี๋ยวผู้คนจะหมดสนุก


    ขอลากระทู้นี้แต่เพียงเท่านี้ .....ฝากความคิดถึงดาวนิบิรุด้วยนะ



    ยังไงซะก็พิจารณากันให้ดี ด้วยปัญญาของท่านทั้งหลาย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 สิงหาคม 2012
  20. pinkangel2550

    pinkangel2550 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +31

แชร์หน้านี้

Loading...