สัมมาสมาธิ แตกต่างกับ สมาธิทั่วไปอย่างไร

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ขันธ์, 6 กุมภาพันธ์ 2012.

  1. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    เป็นส่วนแสดงเหตุและผล ในนั้นแล้ว

    ส่วนจะหมายนำผลเป็นสภาวะธรรมให้ปรากฏ ต้องอยู่ที่ตน

    ผมตอบได้เลย ว่าสมาธิตั้งมั่น มันจะสด
     
  2. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    เข้าใจ และติดตามตั้งแต่ต้นรึเปล่าครับ

    นี้คุยเรื่องสติปัฏฐาน รู้เดิน รู้นั่ง รู้นอน

    ทีนี้ลุงขันธ์เห็นอย่างนี้ เราก็ยกมาให้ศึกษา

    โดยไม่ได้แสดงทัศนะตนอะไรลงไปเลย ไม่ได้ไปตีเข้าตนตรงไหน

    ก็ยกไปตรงๆ



    เรื่องปฏิบัติดีไม่ดีนี่มันคนละเรื่อง

    นี่หมายถึง เข้าใจ หรือไม่เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจหรือเข้าใจมาผิด

    ต่อให้ปฏิบัติดีอย่างไร มันก็ผิด เพราะผิดตั้งแต่เข้าใจแล้ว

    นี่ก็เคยคุยแล้วนี่ ว่ารู้ผิด ย่อมเข้าใจผิด เพียรผิด ระลึกผิด สมาธิผิด และผลผิด
     
  3. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    แล้วเจ้หลงว่า คนเราอยู่ๆ มีสมาธิตั้งมั่นได้เลยหรือ

    การฝึกเอาอิริยาบทมาฝึกระลึก
    เช่น กายไหว ขยับ เคลื่อน ให้รู้

    ถ้าเราฝึกจน
    มันรู้สึกตัวได้เองเมื่อกายเคลื่อนล่ะ

    แล้วถ้ามันคล่องจนชำนาญตรงนี้ล่ะ

    มันจะเห็นในการเปลี่ยนแปลงอิริยาบทในวันนึงๆไหม
    การเห็นการเปลี่ยนแปลง ในอิริยาบทในวันนึงๆที่รู้สึกตัวได้เอง
    มันจะเรียกว่าตั่งมั่นได้ไหม การตัดสินในความไม่เที่ยงในอิริยาบทในวันนึงๆมันจะเรียกว่าอะไร
    และ
    ความตั่งมั่นตรงนี้
    มันจะทำให้เห็นความเคลื่อนในภายในที่ละเอียดขึ้นได้ไหมล่ะ


    และอีกอย่างหนึ่ง

    บท ที่อธิบายเพิ่ม ถ้าเป็นส่วนวิธีเข้าไปเห็นก็คือ บทจากพุทวจนะ

    แต่บทจากอรรถกาธิบาย เป็นแต่เพียง อธิบาย ขยายความของผลงาน

    ว่าเป็นอะไรแยกยังไง ซึ่งอ่านแล้วรู้หมด แต่ว่า ทำไมยังไม่บรรลุ
    เพราะ ยังไม่ได้เข้าไปเห็นจริงตามนั้น ต้องทำตามวิธีการเข้าไปเห็นอีกทีนึง
    ซึ่งก็คือ บทจากพุทธวจนะ ถูกมั๊ย
     
  4. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ใช่แล้ว

    จะทำไงล่ะทีนี้ :cool:


    อันดับแรกเลย สติ ต้องมาก่อน ไปธุระก่อนครับ
     
  5. nong@

    nong@ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    152
    ค่าพลัง:
    +603
    ขอบคุณมากครับกับคำแนะนำดีๆๆผมจะขอติดมาการแนะนำของพี่อีกเลยๆๆครับ สาธุด้วยที่พี่หยิบเอาของดีของจริงมาฝากกับครับ
     
  6. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    จะเอาตั้งมั่นแบบไหนล่ะ

    ดำรงค์แค่ขณะจิต เป็นเอกคัตตาเจตสิก พวกนี้ก็ได้

    การไปทำสมาธิ จนมีอารมณ์เดียว เกิดดับซ้ำๆ สำคัยว่าเป็นสมาธิตั้งมั่นก็ได้

    พวกนี้ก็มีทิฏฐิแตกออกไปเป้นเห็นว่ามันมีอยู่ เที่ยงอยู่ก็ได้


    น้าปราบนี่สนใจคำว่าวิธีการ และ ผลงานจนเกินไป

    เรื่องเหตุตามจริง ส่วนผลสภาวะธรรมถูกไหม อันนี้ก้เป็นสมบัติผู้นั้นไป

    ศึกษาดูครับไม่จำเป็นต้องถามผม

    ผมมีหน้าที่นำมาให้พิจารณา หากไม่มีประโยชน์อะไรก็ข้ามๆไปเสีย
     
  7. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    พูดมากไม่ดีหรอก เรื่องรูปนั่ง รูปเดิน

    อาจารย์ต้นสายอาจจะตีความถูกต้องและแนะนำให้ปฏิบัติง่าย เข้าใจง่ายก็ได้

    แต่หลังๆมา มันย่อลงเรื่อยๆเป็นรู้เฉย ไม่แน่ใจว่าที่ปฏิบัติอยู่ตรงตามพระสูตรหรือไม่

    ไม่ต้องมาตอบอะไรผมแล้วไปศึกษาเอาเองครับ ^^




    ไม่พูด ก็ ไม่รู้

    ไม่แสดง ก็ ไม่เห็น

    ไม่พิจารณา ก็ ไม่เข้าใจ

    ไม่ปฏิบัติ ก็ ไม่รู้ ไม่เห็น ไม่เข้าใจ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 8 กุมภาพันธ์ 2012
  8. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ........... ตั้งมั่นแบบพร้อมที่จะรู้....เพราะฉนั้น การมีสติรู้ว่านี่จิตวิญญานขันธิ์ กับ นั่น สิ่งที่ถูกรู้อยู่ตลอดเวลา นี่แหละความตั้งมั่นของผม...เช่นอยู่ที่ลมเข้าออกว่าเป้นกาย ใจคิด ก็รู้ว่าจิตเกิดไปคิดก็รู้....ตั้งมั่นจึงเห็นทัน...ไม่ปล่อยตามยถากรรม แต่ก็ไม่เพ่งอะไร เพราะเพ่งก็ต้องรู้ว่าเพ่ง พอรู้ปุ้ป ก็รู้ ปั้ป:cool:
     
  9. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    .............ก็ดีแล้ว พี่หลง ใครจะไปรู้ อาทิตย์หน้า พี่หลง อาจจะพบการภาวนาที่ ยิ่งกว่านี้ก้ได้ ใครจะไปรู้ มันไม่เที่ยง:cool:
     
  10. วันเบาๆ

    วันเบาๆ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มกราคม 2012
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +2
    เที่ยงสิ เที่ยงแน่นอน สิบเอ็ดโมงแล้วก็เที่ยง พรุ่งนี้

    แต่วันนี้ไม่เที่ยงแล้ว มันเเลยมาเยอะแล้ว จบ ไม่ จบ!!
     
  11. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    [​IMG]

    สัมมาสมาธิ แตกต่างกับ สมาธิทั่วไปอย่างไร

    แยกออกไหม :cool:
     
  12. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    เจ๊หลงเ็ป็นนามเป็นตัณหารึนี่..แล้วรูปละรูปเป็นตัณหาใหมครับเจ๊:cool:
     
  13. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    รูป ให้นึกถึง ก้อนหิน ก้อนหนังครับ รูปไม่รับรู้อะไร

    สี เสียง กลิ่น รส นี่ก็เป็นรูป

    ที่ได้ยิน ได้กลิ่น รู้รส เห็น นี้เป็นนาม

    รูปสร้างรูป รูปละรูป พวกนี้ไม่ใช่ตัณหา

    ตัณหาอยู่ที่ส่วนนามเข้าไปยึดรูป ยึดนาม

    อย่างกบเน่านี่ อะไรเป็นรูปอะไรเป็นนาม ^^
     
  14. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    งั้นก็ต้องกล่าวว่า ตัณหามีลักษณะเป็นนามธรรม ไม่ใช่นามคือตัณหา

    หรือกล่าวว่ารูปนามนั้นคือตัณหา ก็ยิ่งไม่ถูกใช่ใหมละ:cool:
     
  15. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    อธิบายไปแล้ว ในคำถามแรกครับ

    ถ้าสนใจลึกๆ ให้ศึกษา โลภะมูลจิต ๘

    แต่ถ้าจะเอาไปกำหนดรู้ในส่วน นาม ให้รู้ที่ลักษณะติดข้องในอารมณ์ พอใจ ยินดี

    ส่วนรูปก็คือรูป ไม่เกี่ยวกันในความเป็น ขันธ์ แต่เนื่องโดยความเป็นปัจจัย


    ตัณหานี้เป็นสมุทัย จัดอยู่ในนามขันธ์ เป็นส่วนนามธรรม

    จะรู้โลภะ รู้ที่ สังขารขันธ์ เป็นส่วนนาม
     
  16. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    จะละสมุทัย ต้องใส่ใจผัสสะ ระลึกรู้ ตา หู ลิ้น จมูก กาย ใจ บ่อยๆ

    หมั่นรู้ปัจจัยในการติดข้องการเห็น สี เสียง กลิ่น รส สัมมผัส

    เพราะถ้าพอใจ ยินดีใน กามคุณ ก็ได้ชื่อว่าเป็นผู้พอใจในภพ

    ซึ่งจะละได้ ก็คุณธรรมพระอานาคามี โน่น!

    อย่างเราๆ ได้แค่คลายความเห็นผิด นี้ก็แจ่มแล้วครับ
     
  17. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ตกลงรูปนามคือตัณหา หรือ รูปนามเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหาครับ:cool:
     
  18. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ตกลงที่จิตเข้าไปยึดรูป ยึดนามนี้เป็นเพราะตัณหาพาให้ยึดหรอครับ
     
  19. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    ผมอธิบายไม่ละเอียดเอง

    สังขารขันธ์ เป็น ส่วนนาม

    ส่วน รูปนาม เป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา

    อธิบายในแค่ขณะพิจารณา รูปเป็นเหตุให้เกิดนาม นามเป็นเหตุให้เเกิดนาม

    หมายถึง สัมผัสอารมณ์มาปรุงแต่ง


    ผมถามกลับนะ

    กบเน่า อะไรเป็นรูป อะไรเป็นนาม
     
  20. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ไม่รบกวนละครับอาหลงสุดเจ๋งง:cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...