หลวงปู่แหวนมาโปรดในนิมิตร(ฝัน)

ในห้อง 'หลวงปู่แหวน' ตั้งกระทู้โดย psombat, 18 มีนาคม 2010.

  1. ซึ้งบน

    ซึ้งบน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    225
    ค่าพลัง:
    +377

    สมแล้วที่เคยบวชเรียนเป็นลูกศิษย์ของพระอรหันต์เจ้า หลวงปู่สิม พุทธาจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง

    สมแล้วที่เป็นกรม..................ใน...ก่อนครับ อ่านข้อความของคุณ Phoobes แล้วประทับใจจริงๆ ครับ
     
  2. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    ขออนุโมทนากับท่านภูเบศร์ผู้เจริญแล้วในธรรม
    หวังว่าบ้านคงปลอดภัยจากภาวะน้ำท่วมแล้วนะครับ และปีใหม่คงได้พบกันที่ลานธรรมภูดานไหเป็นแน่แท้

    ปล. ปีหน้าฟ้าใหม่ พ่อแม่ครูอาจารย์ คุณแม่ชม ได้เปรยๆกับพวกเราที่เชียงใหม่ว่า อยากไปแสวงบุญที่อินเดีย ประจวบเหมาะกับเมื่อวานท่านสุทนก็ได้เปรยๆกับผมทางโทรศัพท์ว่า อยากจะถวายค่าเครื่องบินและค่าใช้จ่ายแด่พ่อแม่ครูอาจารย์และพาเพื่อนนักรบธรรมไปแสวงบุญที่อินเดียหลังปีใหม่ (เหมือนบังเอิญ) เอ้าเหล่านักรบธรรมใครอยากจะไปก็ขอให้เก็บเงินไว้นะครับ

    ขอเจริญในธรรมยิ่งๆขึ้นไปนะครับ
    ดร.นนต์
    25 พฤศจิกายน 2554
     
  3. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    โมทนาสาธุ...เกิดความปีติยิ่งนักครับ :cool:

    ท่องไว้เสมอ ท่านให้ไว้เป็นคาถาสร้างกำลังแรงใจครับ
     
  4. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    โมทนาสาธุครับผม...

    ผมเองก็เคยตั้งปณิธานไว้ในใจว่า หากยังไม่ได้ไปกราบสักการะพระพุทธบาทสี่รอยในประเทศไทย ก็จะยังไม่ไปเยือนอินเดียถิ่นพระพุทธภูมิ ในครั้งนี้ก็ถือว่าเกิดมีความพร้อมที่จะไปสักการะสังเวชนียสถานทั้งสี่แห่ง ก็เพื่อให้การดำเนินตามวิถีแห่งองค์พุทธะสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น

    จึงขอเป็นกำลังใจให้กับผู้ที่ยังไม่พร้อม ให้บังเกิดมีความพร้อมโดยเร็ววันครับ
     
  5. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    เป็นอย่างไรบ้างท่านน้อง ที่ทำงานเรียบร้อยดี?
    และที่บ้าน? หลังจากพ่อแม่ครูอาจารย์ไปโปรดภาวนาดีมั๊ย :)

    สำหรับที่บ้านสุขสมบัติ (พ่อแม่ครูอาจารย์ตั้งให้) ท่านบอกว่าภาวนาในห้องพระนี้แหละสงบดี

    ในค่ำคืนวันที่สอง(12 พ.ย.)ตอนดึกๆหน่อย...ท่านยังเมตตาบอกว่าองค์ที่มีพระวรกายสีขาวใส สวมสร้อยสังวาลย์สีทองท่านทรงเสด็จมา และมีเทพฝ่ายหญิงสวมชุดสีชมพูคอยดูแลที่นี่ให้ด้วย แล้วย้อนถามว่า...รู้จักมั๊ย...ว่าคือใคร?

    ผมเดาไปครั้งที่หนึ่งไม่ถูก...เพราะไม่คาดคิดว่าการเดาครั้งสองนั่นจะใช่ เพราะท่านทรงประทับอยู่สูงจนยากจะอาจเอื้อมว่าเป็นท่าน...พ่อแม่ครูอาจารย์เลยอนุญาตให้เข้าไปดูในห้องพระ เพื่อหาสัญลักษณ์แล้วหาคำตอบกันเอง????

    จากนั้นพวกเราก็ได้ขอเข้าไปในห้องพระ แล้วสำรวจตรวจตราว่าที่พ่อแม่ครูอาจารย์กล่าวถึงนั้น ตรงตามที่เราคิดว่าใช่สมเด็จ...และพระแม่...จริงหรือไม่...(ผมกับคุณแม่ชมตะโกนออกมาพร้อมๆกันว่าเป็นสมเด็จ....ด้วยความปีติยินดียิ่งนัก)

    วันที่ผมเดินทางกลับจากการธรรมะสัญจร ผมเลยลองมานั่งภาวนาด้านหน้าตำแหน่งที่พ่อแม่ครูอาจารย์ท่านนั่งภาวนาซึ่งผมจะวางอาสนะหมายตำแหน่งไว้(ชิดผนังพอดี)ไม่ให้ไปนั่งทับตำแหน่งท่านนั่ง ปรากฎว่า...ผมสัมผัสความรุนแรงหนักหน่วงร้อนวูบวาบไปทั้งศีรษะใบหน้า ผมทนไม่ไหว นั่งไปประมาณ 10 นาทีจึงขออนุญาตเข้านอนเลยครับ

    ปล: ใครอยากรู้คำตอบก็ลองค้นๆดูภาพห้องพระที่บ้านผมดูนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤศจิกายน 2011
  6. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    [​IMG]

    กำเนิดแม่โพสพ เจ้าแม่แห่งข้าว
    แม่โพสพ เป็นเมล็ดข้าวประเสริฐสุด เป็นเทพีกลางท้องทุ่งนา ผู้ทรงอานุภาพศักดาเรืองฤทธิ์ ช่วยชุบชีวิตมนุษย์ให้ยืนยาง มีน้ำม่นวลผิวพรรณผ่องใส ช่วยสำรองท้องให้อิ่มหมีพีมัน อีกทั้งเสริมเพิ่มพลังกายามีเรี่ยวมีแรงขมีขมัน แบกหามตรากตรำงานหนักได้ทุกวี่ทุกวัน ก็ด้วยเมล็ดข้าวแม่โพสพนี่แหละ แม่ผู้มีบุญคุญล้ำเลิศ สงเคราะห์ลูกผู้ทุกข์โศก มิต้องอนารร้อนใจ ตราบจนชั่วชีวิต

    โอม..แม่โพศรี แม่โพสพ แม่นพดารา แม่จันทร์เทวี แม่ศรีโสภาได้เลี้ยงลูกมา ใหญ่กล้าเพียงนี้ลูกขอบวงสรวงด้วยพวงมาลี ธูปเทียนอัคคี ตามมีบูชาลูกขอนี้ไซร้ ขอยกบุญคุณ แม่โพสพ ขึ้นนบนอบเหนือเศียร

    ตำนานหนึ่งเล่าว่า มีฤาษีมหากระไลย์โกฏอยู่สันโษในอรัญ บำเพ็ญพรหมขันธุ์ในกุฏิ เพลาหนึ่งเกิดอสุนีฟ้าฟาด อากาศวิปริตโกลาหล ฟ้าฝนก็ตกลงมามิหยุดหย่อน มีเมล็ดข้าวปลิวว่อนกระจาย พอฟ้าฝนหายฤๅษีก็เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงจัดสรรนำไปปลูกริมฝั่งนทีสระน้ำ ฝนชะตลอดมา จนข้าวกล้าแตกรวง

    กาลล่วงเข้าฤดูหนาว เมล็ดข้าวก็แก่จัด พระฤๅษีก็โสมนัสยิ่งนัก ครั้นจะนำมากินก็กริ่งเกรงจะเบื่อเมา อันตัวเราก็พึ่งพบคราวนี้ คราวหนึ่งสกุลณีสกุณามาเป็นหมู่ บินจู่โจมกินข้าวสาลี ฤๅษีเห็นดังนั้นพลันรู้ว่า หมู่ปักษามิได้ตายวายชีวิต ก็คิดว่าคงเป็นอาหารอันโอชารส พระดาบสจึงเก็บพันธุ์ข้าวไว้เพาะปลูกกระจายลูกหลานเหลน ได้เป็นอาหารของมนุษย์สุดประเสริฐ โดยกำเนิดขององค์ดาบส ตราบเท่าทุกวันนี้

    ในขณะที่ ตำนานเรื่องแม่โพสพ ฉบับชาวพัทลุง ได้บอกเล่าเรื่องราวอันน่าสนใจของ เจ้าแม่แห่งข้าว เอาไว้ดังนี้ กล่าวคือ นานมาแล้ว มีเทพธิดาองค์หนึ่ง เป็นเทพธิดาแห่งข้าว อาศัยอยู่บนสวรรค์ มีความประสงค์จะให้มวลหมู่มนุษย์ทั้งหลายนี้มีข้าวกิน จึงจำแลงกายลงมาบนโลก ในร่างของหญิงชรา อันนำพาห่อผ้ามาด้วย ซึ่งในห่อผ้านี้เอง มีเมล็ดพันธุ์ข้าวอยู่

    หญิงชราเดินไปในหมู่บ้าน มีแต่ผู้คนรังเกียจ จนไปพบกระท่อมเก่าๆ หลังหนึ่ง ซึ่งมีผัวเมียผู้ใจบุญ แต่ยากไร้ซึ่งเงินทอง อาศัยให้ที่พักพิง หญิงชราซึ้งในน้ำใจของผัวเมียคู่นี้ จึงมอบห่อผ้าที่มีเมล็ดข้าวอยู่ข้างในให้ โดยบอกให้เอาเมล็ดข้าวนี้ไปโปรยลงสู่พื้นดิน

    เมื่อเมล็ดข้าวได้รับน้ำ ก็เกิดความชุ่มชื่น เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ออกรวงแล้วก็สุก และนำมากินเป็นอาหารได้ หญิงชราจึงให้ผัวเมียเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวนี้ไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้านในหมู่ บ้าน แล้วบอกว่า นี่คืออาหารที่ใช้กินต่อไปในภายภาคหน้า เมื่อพูดจบหญิงชราก็หายตัวไป

    ต่อจากนั้น เมื่อถึงเดือนหกฝนก็เริ่มตก ชาวนาจะแรกไถนา และทำพิธีอัญเชิญแม่โพสพลงมาเพื่อช่วยดูแลรักษาต้นข้าว ต้องมีพิธีเรียกขวัญข้าว การกระทำทุกอย่างนี้ เพื่อตอบแทนคุณ และบูชาแม่โพสพ ที่ให้ข้าวแก่มนุษย์กิน จวบจนปัจจุบัน

    แม่โพสพ เทวีแห่งข้าว
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; FONT-FAMILY: Courier New,Courier,Monospace; MARGIN-LEFT: 0px; MARGIN-RIGHT: 0px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: justify">คนไทยได้เรียนรู้ว่าข้าวเป็นของมีคุณ เป็นพืชที่เลี้ยงชีวิตเผ่าพันธุ์ไทยยั่งยืนมาแต่โบราณกาลจนสืบเชื้อสายอยู่ มากมายในปัจจุบัน เมื่อใดที่อยู่ในสภาพ "ข้าวเหลือเกลืออิ่ม" ประชาชนก็จะมีความสงบสุข แต่เมื่อเกิดข้าวยากหมากแพง ประชาชนก็จะหน้าดำคร่ำเครียดด้วยความทุกข์ ในเมื่อข้าวมีความสำคัญต่อชีวิตคนไทย คนไทยจึงมีความกตัญญูต่อข้าว ยกย่องข้าวเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์ เชื่อว่าในข้าวมีวิญญาณ ข้าวเรียกว่า "แม่โพสพ" สถิตอยู่
    ฉะนั้นผู้เฒ่าผู้แก่จึงสั่งสอนว่ามิให้เหยียบย่ำข้าว มิให้สาดข้าวหรือทำข้าวหก กินข้าวเสร็จแล้วก็สอนให้ไหว้แม่โพสพขอบคุณ แม้การมหรสพของชาวบ้านยามเมื่อร้องบทไหว้ครูก็จะมีการร้องระลึกคุณแม่โพสพ ไว้ด้วย ดังบทไหว้ครูเพลงเรือบทหนึ่งมีความว่า
    .......จะ ยกบายศรีขึ้นสี่มุม ลูกจะไหว้พระภูมิ ที่มา ไหว้ทั้งแม่ข้าวเจ้า ทั้งพ่อข้าวเหนียว เสียเเหละเมื่อลูกนี้เกี่ยวกันมา ลูกจะไหว้โพสพ สิบนิ้วนอบนบ นิ้วหน้า ขอให้มาปกปักรักษาลูก ขออย่าให้มีทุกข์เลยหนา ขอให้มาเป็นมงคลสวมบนเกศา กันแต่เมื่อเวลานี้เอย....
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; FONT-FAMILY: Courier New,Courier,Monospace; MARGIN-LEFT: 0px; MARGIN-RIGHT: 0px" border=0 cellPadding=2 width="100%" bgColor=#ffffff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>เรื่องเล่าเกี่ยวกับแม่โพสพมีเล่ากันทุกภาค มีความแตกต่างกันเป็น ๒ แนว คือ นิทานภาคกลางและภาคใต้มีเรื่องตรงกันแนวหนึ่ง อีกแนวหนึ่งเป็นนิทานของภาคเหนือและภาคอีสาน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ตำนานแม่โพสพของภาคกลางและภาคใต้
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; FONT-FAMILY: Courier New,Courier,Monospace; MARGIN-LEFT: 0px; MARGIN-RIGHT: 0px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: justify">แม่โพสพเป็นเทวีแห่งข้าว มีพาหนะเป็นปลากรายทองและปลาสำเภา ในวันหนึ่งที่เมืองไพสาลี กลางสโมสรสันนิบาต มนุษย์ได้ปรึกษากันว่าระหว่างพระพุทธเจ้ากับแม่โพสพใครมีคุณมากกว่ากัน ที่ประชุมต่างพากันกล่าวว่า คุณพระพุทธเจ้าใหญ่กว่า แม่โพสพและพระเพชรฉลูกรรณได้ฟังดังนั้นก็ข้องใจว่าเรารักษามนุษย์อยู่ มนุษย์ไม่เห็นความดี จึงทรงปลากรายหนีไปยังป่าหิมพานต์เขาคชกูฎ เมื่อแม่โพสพจากไปก็เกิดความอดอยากขึ้นในโลกมนุษย์ ทำไร่ไถนาไม่มีข้าวมีแต่แกลบ มนุษย์จึงชวนกันไปเฝ้าพระพุทธเจ้า</TD><TD>






    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; FONT-FAMILY: Courier New,Courier,Monospace; MARGIN-LEFT: 0px; MARGIN-RIGHT: 0px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: justify">พระพุทธเจ้าให้พระมาตุลีไปเชิญนางกลับมา พระมาตุลีตามไปจนถึงเขาทบกันก็ไปไม่ได้ จึงใช้ให้ปลาสลาดไปตามต่อจนพบ ปลาสลาดได้อ้อนวอนขอให้นางกลับคืนโลก นางตอบว่า อยู่ที่นี่เราสบาย ถ้าจะไปใจแม่หายเพราะเขาไม่รู้บุญคุณ แม่จะให้แต่เมล็ดข้าวไปรักษาแก่ฝูงคน เมื่อเก็บนึกถึงเรา เราจะไปปีละหน เก็บเกี่ยวแล้วให้ทำขวัญ นางได้มอบเมล็ดข้าว ๗ เมล็ด (บ้างก็ว่า ๙ เมล็ดไปทำพันธุ์ พระเพชรฉลูกรรณให้ให้แม่เหล็ก ๑ อัน สำหรับตั้งพร้า นางยังสั่งด้วยว่า เมื่อมนุษย์ทำไร่ไถนา เมื่อข้าวใกล้สุกก็จัดให้มีพิธีทำขวัญให้แต่งด้วยข้าวขวัญและด้วยเหตุที่ปลา สลาดเป็นผุ้บอกทางที่นางซ่อนแก่พระมาตุลี นางจึงสั่งให้นำปลาสลาดมาเป็นเครื่องเซ่นสังเวยด้วย ปลาสลาดก็ลากลับมาเล่าให้พระมาตุลีฟังตามคำแม่โพสพ พระมาตุลีรับเมล็ดข้าวแล้วก็เหาะกลับ ในระหว่างทางพระมาตุลีจึงหยุดพักอาบน้ำ นกกระจาบได้แอบลักเมล็ดข้าวสองเมล็ดบินหนี ข้าวสองเมล็ดนั้นได้ตกลงมายังโลกมนุษย์กลายเป็นข้าวผี พระมาตุลีนำเมล็ดพันธุ์ข้าวถวายพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึงเรียกมนุษย์มาพร้อมกัน ทรงอธิบายให้มนุษย์ฟัง และแจกเมล็ดพันธุ์ข้าวให้แก่มนุษย์ ตั้งแต่นั้นมาเมื่อข้าวใกล้สุก มนุษย์จะทำขวัญเชิญแม่โพสพเป็นประจำทุกปี

    ตำนานเรื่องแม่โพสพ ฉบับชาวพัทลุงได้บอกเล่าเรื่องราวอันน่าสนใจของเจ้าแม่แห่งข้าว เอาไว้ดังนี้ กล่าวคือ นานมาแล้วมีเทพธิดาองค์หนึ่งเป็นเทพธิดาแห่งข้าวอาศัยอยู่บนสวรรค์มีความ ประสงค์จะให้มวลหมู่มนุษย์ทั้งหลายนี้มีข้าวกิน จึงจำแลงกายลงมาบนโลกในร่างของหญิงชราอันนำพาห่อผ้ามาด้วย ซึ่งในห่อผ้านี้เองมีเมล็ดพันธุ์ข้าวอยู่ หญิงชราเดินไปในหมู่บ้านมีแต่ผู้คนรังเกียจ จนไปพบกระท่อมเก่าๆหลังหนึ่งซึ่งมีสองผัวเมียผู้ใจบุญแต่ยากไร้ซึ่งเงินทอง อาศัยให้ที่พักพิง หญิงชราซึ้งในน้ำใจของผัวเมียคู่นี้ จึงมอบห่อผ้าที่มีเมล็ดข้าวอยู่ข้างในให้ โดยบอกให้เอาเมล็ดข้าวนี้ไปโปรยลงสู่พื้นดิน เมื่อเมล็ดข้าวได้รับน้ำ ก็เกิดความชุ่มชื่น เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ออกรวงแล้วก็สุก และนำมากินเป็นอาหารได้ หญิงชราจึงให้สองผัวเมียเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวนี้ไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้านในหมู่ บ้าน แล้วบอกว่านี้คืออาหารที่ใช้กินต่อไปในภายภาคหน้า เมื่อพูดจบหญิงชราก็หายตัวไป ต่อจากนั้นเมื่อถึงเดือนหกฝนก็เริ่มตก ชาวนาก็จะแรกไถนา และทำพิธีอัญเชิญแม่โพสพลงมาเพื่อช่วยดูแลรักษาต้นข้าว ต้องมีพิธีแรกขวัญข้าว การกระทำทุกอย่างนี้ก็เพื่อตอบแทนคุณและบูชาแม่โพสพที่ให้ข้าวแก่มนุษย์กิน จวบจนปัจจุบัน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ตำนานแม่โพสพของภาคเหนือและภาคอีสาน

    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; FONT-FAMILY: Courier New,Courier,Monospace; MARGIN-LEFT: 0px; MARGIN-RIGHT: 0px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: justify">วันหนึ่งลูกชายเศรษฐีหลงทางเข้าไปในป่าพบปลากั้งซึ่งอยู่กับนางโพสพ ปลากั้งพาไปไหว้นาง ลูกเศรษฐีได้อ้อนวอนให้นางคืนสู่เมืองมนุษย์ นางขัดอ้อนวอนไม่ได้จึงกลับมาโลกอีก ลูกเศรษฐีสำนึกในบุญคุณของนางจึงชักชวนมนุษย์ให้ยกย่องนับถือนาง

    ต่อมาอีกพันปี มีชายโลภมากผู้หนึ่งสร้างยุ้งฉางเก็บข้าวไว้กินแต่ผู้เดียว แม่โพสพโกรธจึงหนีกลับไปอยู่ถ้ำในป่าอีกทิ้งให้มนุษย์อดอยากเป้นเวลาหลาย ร้อยปี เทวดาเล็งเห็นความทุกข์ยากจึงอ้อนวอนให้แม่โพสพกลับคืนมา พร้อมกันนั้นก็สอนให้มนุษย์รู้จักนับถือข้าว รู้จักทำขวัญข้าว
    นิทานของชาวลื้อในภาคเหนือบางสำนวนเล่าว่า ในสมัยพระพุทธเจ้า นางขวัญข้าวถูกไล่จึงไปอยู่ถ้ำกับพวกครุฑนาค ต่อมาชาวเมืองอดข้าวจึงได้ทำพิธีเชิญแม่โพสพกลับเมือง

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากตำนานนิทานในท้องถิ่นต่างๆ จะเห็นได้ว่าความเชื่อเรื่องแม่โพสพเป็นความเชื่อดั้งเดิมของคนไทย ก่อนหันมารับนับถือพุทธศาสนา นิทานของชาวลื้อแสดงให้เห็นร่องรอยของการเปลี่ยนแปลงความเชื่อเมื่อหันมา นับถือพุทธศาสนาและขัดแย้งกับความเชื่อดั้งเดิม นิทานของชาวภาคกลางและภาคใต้แสดงให้เห็นชัยชนะของพุทธศาสนาเหนือศาสนาดั้ง เดิม (แม่โพสพ-เทวีแห่งข้าว และพระเพชรฉลูกรรณเทพแห่งช่าง เป็นเทพซึ่งชาวบ้านนับถือ) และแสดงให้เห็นการประนีประนอมระหว่างความเชื่อทั้งสอง ทั้งนี้ทั้งนั้นก้เพื่อความเป็นสิริมงคลและความเจริญของชุมชน

    [​IMG]

    บทเชิญขวัญแม่โพสพ
    ทุกวันนี้ก็ยังคงมืดมน ไม่ทราบชัดว่าผู้ใดเริ่มรจนาเรื่องราววของแม่โพสพ อาจมีเค้ามาตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี เมื่อ 700 ปีก่อน ดังปรากฏสำนวนว่า "ในน้ำมีปลาในนามีข้าว" อยู่เป็นหลักฐานบนหลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่ง ที่เชื่อกันว่า พ่อขุนรามคำแหงมหาราช โปรดจารึกขึ้น ยังมีข้อความพิศดารปรากฏอยู่ด้วย กล่าวว่า มีพระขพุงผี เทพยดาในเขาอันนั้น(เขาหลวง)เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ผิวไหว้บ่ดีพลีบ่ถูแ ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้ม บ่เกรงเมืองนี้หาย กาลครั้งนั้น คงมีแต่ พระขพุงผี ผู้เป็นใหญ่เท่านั้น

    บทเชิญขวัญแม่โพสพ โบราณาจารย์ท่านว่าไว้ดังนี้ ศรี ศรี วันนี้เป็นวันเลิศลม ข้าขอเชิญขวัญแม่พระโพสพ ในนา จะเข้ามาอยู่ในยุ้งฉางวันนี้ ขวัญแม่อย่าหนีตื่นตกใจ เมื่อลมพัดสะบัดใบใม้ร่วงหล่น ขวัญแม่อย่าได้หนีจรดลเที่ยวหนี อย่าได้หลงกินนรีร่ายรำ ขวัญแม่อย่าได้ถลำในไพรพฤกษ์ แม้สัญจรอยู่ในห้วงลึกก็กลับมา ขวัญแม่อย่าได้หลงชมสิงสาราสัตว์ แม้ถูกเขี้ยวตระหวัดอย่าตกใจ แม้จะถูกไถคราด ถูกฟัดฟาดลงกลางดิน ถูกขบกินเป็นอาหารมวลมนุษย์ ขวัญแม่อย่าได้รุดหน่ายหนี จงอยู่เป็นศรีในยุ้งฉาง ขอเชิญแม่นางชมบายศรี ซึ่งมากมีทั้งคาวหวานสารพัด เจ้าของได้จัดมาสังเวยบวงสรวง ขอให้ลาภทั้งปวงเกษมสันต์ มีเงินทองอนันต์ยิ่งนัก มีความรักมั่นคงสถาพร พ้นจากความเดือดร้อนทั้งปวง ไม่มีอุปสรรคมาขัดขวางทางเดิน ขอให้มีแต่สรรเสริฐลาภยศ มีลูกปรากฏเกียรติขจร มีหมอนหนุนอุ่นใจไม่หน่ายหนี ทั้งพาชีโคกระบือมากมาย มีข้าทาสหญิงชายไว้ใช้สอย มีข้าวร้อยเกวียนเต็มยุ้งฉาง เป็นขุนนางปรากฏปรากฏยศลือชา มีลูกยาเสียแต่วันนี้ ท่านจะเป็นเศรษฐีมหาเศรษฐี ขอให้มีเมียสวยรวยทรัพย์ อย่าได้ยกอับหม่นหมองมีแก้วแหวนเงินทองเอนกอนันต์ มีสุขสันต์ทุกวันคืนด้วยเดชแห่งพระแม่โพสพ เป็นที่เคารพของปวงประชาได้อาศัยเลี้ยงชีวาไม่หิวโหย ได้กอบโกยซึ่งเงินทอง สิ่งใดที่คะนองทำล่วงเกิน เหมือนย่ำโดยบังเอิญไม่เจตนา ขอให้แม่โพสพอย่าได้โกรธหน้าบึ้ง ขอให้เป็นที่พึ่งของมวลมนุษย์สืบไปเทอญ ลั่นฆ้อง 3 ที โห่ร้องเอาชัย

    "แม่โพสพ" ตามสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า "เทวดาประจำพืชพันธุ์ธัญญาหารทั้งปวง" มวลมนุษยชาติเชื่อถือ และกราบไหว้บูชามาตั้งแต่ครั้งโบราณของชาวไทย ลาว และละแวกลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยา บูชาเพื่อขอความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญชาติ ที่เพาะปลูกตามฤดูกาล โดยจะทำพิธีบูชาแม่โพสพ ด้วยอาหาร มี ข้าวปากหม้อ กล้วย อ้อย เป็นต้น

    แม่โพสพเป็นสตรีเพศ ร่างงาม แต่งกายด้วยผ้าผ่อนแพรพรรณสมัยโบราณห่มสไบเฉียง นุ่งผ้าจีบชายกรอมลงมาถึงปลายหน้าแข้ง ทรงเครื่องถนิมพิมพาภรณ์ตระการตา ไว้ผมยาวสลวยประบ่า มีกระจังกรอบหน้า คล้ายมงกุฎ และจอนหูงอนชดช้อย มือข้างหนึ่งชูรวงข้าว ส่วนอีกข้างถือถุงโภคทรัพย์เต็มถุง ประทับนั่งพับเพียบ เรียบร้อย แบบแพนงเชิงอย่างไทยโบราณ

    คนผู้ใหญ่แต่เก่าก่อนนับถือแม่โพสพมาก มักกราบไหว้ท่านก่อนเปิบข้าวคำแรกเข้าปาก และสั่งสอนลุกหลานให้นั่งล้อมวงเปิบข้าวพร้อม ๆ กัน และต้องสำรวมกิริยามารยาทระหว่างเปิบข้าวให้เรียบร้อยอย่าให้มีเม็ดข้าวหาย หกตกหล่น แม้ข้าวเหลือก้นจานสังกะสีก็ต้องกินให้หมด ห้ามเททิ้งลงถึงโสโครกให้เอาใส่ปากหม้อข้าวทับบนข้าวที่หุงมื้อต่อไป หรือไม่ก็ต้องนำไปผึ่งแดด ทำเป็นข้าวตากแห้งเอาไว้ เคยเห็นป่าย่ากินข้าวอิ่มหนำสำราญแล้ว ต้องยกมือไหว้เพื่อสำแดงความกตัญญูรู้บุญคุณข้าว จึงต้องขอบคุณท่าน เหล่าชาวนา เมื่อแรกทำนา จนกระทั่งถึงเวลาไถคราด เก็บเกี่ยวรวงข้าวด้วยเคียวเหล็ก ก็จะต้องประกอบพิธีเซ่นบูชาแม่โพสพทุกระยะไป เช่น ก่อนหน้าเวลาฤกษ์แรกนาจะปลูกศาลเพียงตา สูงระดับสายตาคนขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง ที่กำหนดไว้เป็นที่แรกนา ตระเตรียมเครื่องสังเวยบูชาแม่โพสพให้ครบถ้วน พร้อมทั้งกล่าวคำขวัญเป็นถ้อยคำไพเราะอ้อนวอนแม่โพสพให้คุ้มครองรักษาต้น ข้าว ขอให้ปีนี้จงทำนาได้ผล ไม่ว่าจะเป็นนาหว่าน นาดำ เพราะแม่โพสพเป็นหญิงขวัญอ่อนง่าย ต้องทำพิธีเรียกขวัญเสมอ พอเริ่มลงมือไถพรวนดินทำนา ทอดกล้า ซึ่งต้องเอาข้าวแม่โพสพที่ไปเรียกเชิญเอามาจากนา เมื่อครั้งเก็บเกี่ยวปีผ่านมา นำเอามาปนพอเป็นกิริยา เพื่อให้ "ข้าวปลูก" มีเชื้อเป็นชีวิตจิตใจ ขอให้ลุล่วงขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อแสดงว่าข้าวเริ่มต้นทำงานแล้ว ดังนี้ ถ้าเป็นนาดำใช้เมล็ดข้างเปลือกที่คัดเลือกไว้ทำพันธุ์แล้ว เก็บไม่นานเกิน 1 ปีไปแช่น้ำหนึ่งวันแล้วพรมน้ำ 1 วัน จนได้ข้าวแตกหน่อ แตกรากออกมา นำไปหว่านในแปลงนาที่เตรียมดินดีแล้ว รอจนเจริญเติบโต หย่อนรากลงดินแตกใบจึงถอน แล้วนำ "กล้าตั้งหน่อ" เหล่านี้ไปปักดำในที่ที่ตระเตรียมไว้อีกแห่ง กล้าตะแตกใบ ลำต้นค่อย ๆ ดต สูงขึ้นทุกทีพอ 7 วัน หลังจากปักดำในนาที่มีน้ำขังไว้ ยอกใบจะสุงจนเรียกว่า ข้าวถอดหางไก่ พอ 20 วัน ใบเก่าจะหลุดกลายเป็นข้าวแตกกอ ในระยะนี้แหละ ข้าวจะสูงขึ้นเป็นปล้อง เรียกว่า ข้าวแต่ง พอลำต้นเติบโตเต็มที่ ก็จะส่งยอดใบชูสลอนเรียกว่า ข้าวซดมาน ข้าวมา หรือ ข้าวท้อง ก็เริ่มตั้งแต่ท้องอ่อน ๆ จนถึงท้องแต่งตึง ท้องใหญ่ขึ้นทุกทีจยเริ่มโผล่ให้เห็นปลายรวง ข้าวที่รวงโผล่จากกายห่อมีลักษณะคล้ายคนยิงฟัน ก็เรียกว่า ข้าวยิงฟัน ชาวอีสานเรียกว่า ข้าวยิงแข่ว (ยิงฟัน) ครั้นพอข้าวโผล่รวงพ้นจากกาบห่อหมดสิ้นทั้งแปลงเรียกว่าข้าวสุ่ม ข้าวจะเริ่มมีน้ำนมจากเมล็ดที่ปลายสุดของรวงขข้าว พอรวงข้าวโตมีน้ำหนัก เพราะมีน้ำนมแต่งตึงมาก ทำให้ปลายรวงค้อมต่ำลง

    ขณะที่ข้าวทุกเมล็ดเต่งตึงเต็มที่ ก็เริ่มแข็งตัวเป็นข้าวสารอ่อน ๆ และต่อมาเปลือกเมล็ดเริ่มมีสีเหลืองทั่วท้องทุ่งจะมีสีเหลืองอร่ามดุจดัง "ทุ่งรวงทอง" วันที่ข้าวสารอ่อนก็คือ ข้าวเม่า ชาวนาเก็บเกี่ยวส่วนหนึ่งมาตำในครกกระเดื่องได้เป็น ข้าวเม่า นิ่ม ๆ นำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ พร้อมกับกล้วยไข่สุก อุทิศส่วนกุศลให้ "ตากับยาย" บรรพบุรุษผู้เคยทำนามาก่อนถื่อว่าเป็นผู้ที่มีส่วนให้กำเนิดข้าว พอข้าวแต่ละเมล็ดบนต้นแข็งตัวเต็มที่ จะมีเปลือกสีเหลืองอร่าม ใบชั้นล่างเริ่มเหี่ยวพับลงทาบกับลำต้น ก็ถือว่า ข้าวสุก ดีแล้ว รอสักหนึ่งหรือสองสัปดาห์ก็เริ่มเกี่ยวข้าวหมดทั้งแปลงภายในวันเดียวกัน เมื่อผ่านการฝักข้าวแล้วก็จะได้ เมล็ดข้าวเปลือก นำไปสีที่โรงสีไฟ ก็ขัดผิวเปลือกภายนอกออกจนเหลือ ข้าวสาร สีขาวที่เรียกว่า ข้าวเจ้า ที่มีเมล็ดเรียวยาวงดงาม นับเป็นอาหารหลักของคนไทยทั้งชาติยกย่อง เป็นสุดยอดแห่งความโอชะ เปิบข้าวที่ไหนๆ ก็เอร็ดอร่อยสู้ข้าวไทยไม่ได้เลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤศจิกายน 2011
  7. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    ผมทราบข่าวจากคุณแม่ชมว่า คณะของพ่อแม่ครูอาจารย์ได้พาคุณอู๊ดไปกราบสังขารหลวงปู่สรวง และกราบนมัสการหลวงปู่หงษ์ที่จังหวัดสุรินทร์เรียบร้อยแล้ว และยังไปพักที่บ้านคุณพิเชฐที่อำเภอปราสาท 1 คืน และกลับถึงวัดภูดานไหประมาณ 1 ทุ่มของเมื่อวาน จึงขออนุโมทนากับทุกท่านด้วยนะครับ

    คุณแม่ชมบอกว่า จะกราบเรียนพ่อแม่ครูอาจารย์เกี่ยวกับท่านสุทนที่ได้ปวารณาตัวที่จะพาพ่อแม่ครูอาจารย์ไปแสวงบุญที่อินเดียในปีหน้า และโปรแกรมที่กรุงเทพฯและเชียงใหม่อีกรอบ คุณแม่ชมบอกว่าดีใจมากและขออนุโมทนากับท่านด้วยนะครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    25 พฤศจิกายน 2554
     
  8. สาวกธรรม1

    สาวกธรรม1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +173
    ขออนุโมทนากับท่านสุทนด้วยครับที่จะพาพ่อแม่ครูอาจารย์ไปดินแดนแห่งพระพทธศาสนา
     
  9. Phoobes

    Phoobes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +1,181
    "ถ้าจะไป หมื่นไพรีก็ไม่กลัว" คำสั้นๆแต่แฝงไปด้วยความหมายและพลังใจที่ยิ่งใหญ่เหลือเกิน ผมได้นำคำนี้มาปฏิบัติใช้จริง ตามแนวทางขององค์พ่อแม่ครูอาจารย์ที่ได้มอบไว้ให้ แม้อาจได้เพียงเศษเสี้ยวธุลี ก็สามารถสร้างความกล้าและพลังภายในใจให้กับผมได้อย่างเยี่ยมยอดเลยทีเดียว
    เล่าสู่กันฟังจากประสบการณ์ คือเมื่อวานนี้(25 พ.ย.54) ผมได้เดินทางเอางานไปส่งให้ช่างซึ่งโดนน้ำท่วมอยู่แถบลำลูกกา คลอง3 ผมได้ตีรถอ้อมไปทางคลอง4 ระยะทางเต็มไปด้วยน้ำ แยกไม่ออกว่าถนนหรือบึง คะเนเอาเสาไฟฟ้าริมทางเป็นแนวการไป แม้รถผมจะพอยกสูงอยู่บ้างแต่ตลอดทางระดับน้ำไม่เสมอกันและเป็นทางที่ไม่เคยไป เรียกว่ารถเก๋งรถเล็กหมดสิทธิ์ ก็อดหวั่นไม่ได้ว่าจะถึงที่หมายหรือไม่ และบางขณะคิดว่าตัวเองขับเรืออยู่ ใจหนึ่งคิดจะตีรถกลับ แต่ด้วยคาถาบทนี้ทำให้เกิดความกล้า จะเจอกับอะไรข้างหน้าก็เป็นไงเป็นกัน
    จนในที่สุดก็ถึงที่หมายได้ แม้จะใช้เวลานานถึง3ชั่วโมงจากระยะทาง55ก.ม.
    ลองนำคาถาบทนี้ไปปฏิบัติใช้กันดูนะครับ จะเหมือนกับเราได้สวมหัวใจสิงห์ เชื่อว่าจะสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้ อย่างน้อยก็ได้ทำและรู้ผลจากการกระทำนั้นครับ
     
  10. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    โมทนาสาธุอีกรอบครับ :cool:

    วันนี้ช่วงเช้าทราบว่าพ่อแม่ครูอาจารย์ คุณแม่ชม และครูชาติออกเดินทางไปยังหนองคายเพื่อเยี่ยมอาการป่วยโยมพ่อของพ่อแม่ครูอาจารย์และเตรียมจะเข้า รพ.เพื่อผ่าตัดด่วน ซึ่งตอนนั้นพ่อแม่ครูอาจารย์อยู่ที่บ้านคุณพิเชฐพอดี คุณพิเชฐจึงแนะนำสมุนไพรพื้นบ้านนำไปรักษาอาการก่อน ปรากฏว่าเมื่อทำตามที่แนะนำแล้วอาการดีขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ต้องเข้า รพ.เลย

    ความดีนี้ต้องขอยกให้คุณพิเชฐและลูกน้องคุณพิเชฐที่เคยป่วยเป็นอาการเดียวกันแล้วหายจากอาการป่วยนี้ด้วยนะครับ

    ก่อนเที่ยงวันนี้ทางคณะฯได้แวะสักการะฯที่วัดหลวงพ่อทูลด้วย ผมจึงขอน้อมโมทนาบุญและร่วมทำบุญในวาระนี้ด้วยครับ
    ......
    ผมได้ไปสำรวจสร้อยประคำและเพชรตาเสือแกะให้ท่าน ดร.นนต์และครูชาติ ได้ของแล้วไม่รู้จะถูกใจหรือไม่? แต่ผมเตรียมที่จะส่งไปให้ก่อน เพราะวันจันทร์-ศุกร์นี้ผมต้องไปทำงานที่แม่สะเรียงครับ

    และขอโมทนาสาธุบุญกับท่าน ดร.นนต์ด้วย ที่ได้เดินทางกลับบ้านเพื่อกราบพระอริยะเจ้าที่บ้านเกิดครับผม
    ......
     
  11. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    ขอบคุณครับผม
    "ถ้าจะไป หมื่นไพรีก็ไม่กลัว"
    คาถานี้...ใช้ได้ผลกับท่านผู้สวมหัวใจสิงห์เช่นนี้เอง
    ใครหนอ...จะเผื่อแผ่ประสบการณ์หัวใจสิงห์เช่นนี้อีก
     
  12. "นนต์"

    "นนต์" เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    521
    ค่าพลัง:
    +1,157
    ขอบุญกุศลใดที่ผมได้กระทำแล้วตั้งแต่อดีตชาติจนปัจจุบันชาติ จงส่งผลไปสู่คุณพ่อของพ่อแม่ครูอาจารย์ให้หายจากอาการป่วยโดยไวนะครับ

    ขออนุโมทนาบุญกับคุณพิเชฐและคณะ และขออนุโมทนาบุญกับคณะของพ่อแม่ครูอาจารย์ที่ได้ไปนมัสการหลวงพ่อทูลทุกประการครับ

    ขอบคุณและอนุโมทนากับท่านสมบัติที่เป็นภาระจัดหาสร้อยประคำเพ็ชรตาเสือไว้ให้ผมกับครูชาติครับ

    เมื่อคืนนี้วันพระแรม 15 ค่ำเดือน 12 (25 พย.54) ผมได้มีโอกาสไปกราบฟังธรรมและนั่งวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อฉลวย อาพาธโร พระอริยเจ้าผู้จบกิจแล้ว ท่านเป็นลูกศิษย์หลวงปู่เหลือง ฉันทาคโม สายหลวงปู่มั่น หลวงตามหาบัว ณ วัดโคกปราสาท ต.หลุ่งตะเคียน อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา ซึ่งห่างจากบ้านของแม่ผมประมาณสิบกว่ากิโลเมตร พี่สาว พี่เขย และแม่ของผมเคยไปปฏิบัติธรรมกับท่านทุกวันพระตั้งแต่ก่อนเข้าพรรษาที่ผ่านมา ผมได้ถวายพระบรมสารีริกธาตุแด่ท่าน รวมทั้งปัจจัยจำนวนหนึ่งด้วย

    หลวงพ่อฉลวย ท่านมีอภิญญาสูงมาก สามารถรู้อดีตของท่านและผู้อื่นย้อนกลับไปนับเป็นหลายๆๆๆๆภพ รู้อนาคต และรู้วาระจิตของคนได้แจ่มแจ้ง ท่านเอ่ยกับผมและญาติธรรมนับสิบว่า ท่านรู้ล่วงหน้าว่า ใครจะไปพบท่านในวันนี้ ก่อนภาวนาสมาธิท่านได้แสดงธรรมคล้ายกันกับพ่อแม่ครูอาจารย์ พ.สุรเตโช โดยเฉพาะผู้ที่ยึดถือตำราหรือพระไตรปิฎกจะไปรู้ดีเท่ากับผู้ปฏิบัติจริงๆได้อย่างไร

    หลังจากนั้นท่านได้พานั่งภาวนาสมาธิประมาณเกือบสองชั่วโมง เมื่อออกจากสมาธิแล้ว ท่านได้เอ่ยกับทุกคนว่า คนมี......ที่มาในวันนี้ สร้างสมบารมีมา..... จะจบสิ้น.....ในเวลากี่.....ขอให้ไปพิจารณา อย่ากลับมา....เลย และอีกหลายเรื่อง (ขอสงวนรายละเอียด) ทุกคนต่างปีติและอนุโมทนา ผมเองรู้สึกปีติและน้ำตาไหลตลอดเวลาที่อยู่กับท่าน เสมือนเคยอยู่ด้วยกันมาหลายภพหลายชาติแล้ว เรื่องนี้คงคุยกันอีกยาวครับ

    ขอเจริญในธรรม
    ดร.นนต์
    26 พย. 2554
     
  13. Phoobes

    Phoobes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +1,181
    ขออนุโมทนาบุญกับคุณพิเชฐด้วยครับ กับประสบการณ์ความรู้ที่ก่อให้เกิดประโยชน์และบุญกุศลในครั้งนี้ และขอนรธ.ร่วมกันอธิษฐานส่งจิตถึงโยมพ่อท่านให้หายจากอาการป่วยเจ็บโดยเร็ววัน พลังแห่งจิตอันเป็นกุศล แม้ดวงน้อยๆ หลายๆดวง ก็อาจก่อเกิดให้เป็นพลังบุญที่ส่งผลอันยิ่งใหญ่ได้เช่นกัน
    และขออนุโมทนากับดร.นนท์ด้วยครับ ที่ได้มีโอกาสรับฟังธรรมอันพิเศษ จากหลวงพ่อฉลวยพระอริยะเจ้าผู้ประเสริฐ
    เล่าเบื้องลึก (...) สู่กันฟังบ้างครับ ในเมล์ส่วนตัว
     
  14. Phoobes

    Phoobes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +1,181
    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:RelyOnVML/> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin-top:0in; mso-para-margin-right:0in; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0in; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]นับเวลาแรกเริ่มล่วงมาจนถึงเวลานี้ จากที่เรานรธ.ได้รับแนวทางการปฏิบัติจากองค์พ่อแม่ครูอาจารย์ (พ.สุรเตโช) หลายท่านได้ก้าวกระโดดในการปฏิบัติ ที่รับรู้ได้ด้วยตัวท่านเองหรือผู้อื่นรับรู้จากสภาวะธรรมที่แสดงออก
    การก้าวกระโดดไม่ใช่การก้าวไปสู่ความมีความเป็น หรือได้คุณวิเศษใดๆที่สร้างอัตตาตัวตนให้เพิ่มพูนขึ้น แต่เป็นความธรรมดาที่ถูกปรับเปลี่ยน ยกสภาวะจิตสู่ภูมิแห่งการมอง และเห็นด้วยปัญญา สวนกระแสจากการมองออกไปข้างนอกและไหลตามไป สวนกลับมามองตน รู้จักตนให้มากขึ้น หรือนำใจที่สงบนิ่ง รู้สึกปลอดภัยและเป็นสุข ในกะลาที่ไม่รับรู้โลกภายนอก ออกมาเรียนรู้ และเผชิญกับความจริง จนสามารถเข้าใจ ยอมรับความเป็นจริงนั้นๆ และปล่อยวางความยึดถือ ความสำคัญมั่นหมายของใจ ตามกำลังของในแต่ละขณะจิต
    ผมเคยได้รับคำถามๆหนึ่งว่า
    โลกในช่วงที่มีพระพุทธเจ้ามาตรัส กับโลกที่ว่างเว้นจากพระพุทธเจ้ามาอุบัตินั้น แนวทางการปฏิบัตินั้นต่างกันอย่างไร
    สรุปในด้านของการปฏิบัติทางจิต ไม่รวมถึงสภาวะอื่นๆได้รับคำตอบว่า
    โลกที่ไม่มีพระพุทธเจ้ามาตรัสสั่งสอน ก็ยังมีผู้ปฏิบัติทางจิตในแนวทางแห่งสมถะ ซึ่งมีผู้ปฏิบัติจำพวกฤษีชีไพร มีฤทธิ์เดช อภิญญา แต่ไม่รู้และเข้าถึงความเป็นจริงในอริยสัจจ์ ที่ดำเนินด้วยปัญญาในแนวทางแห่งวิปัสสนา อันจะนำพาให้จิตหลุดพ้นจากแรงดึงดูดที่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิด เหมือนยุคที่มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติและตรัสสั่งสอน กอปรไปด้วยสมถะและวิปัสสนา ด้วยองค์แห่งศีล สมาธิ ปัญญา
    การก้าวกระโดดของพวกเรานรธ.จากการพิเคราะห์ของผม ส่วนหนึ่งได้ก้าวจากสมถะสู่วิปัสสนา และจากวิปัสสนาก็ก้าวสู่แนวทางแห่งปรมัตถธรรม ซึ่งถือเป็นการก้าวกระโดดในมุมมองของผม
    เมื่อใกล้ถึงสิ้นปีนี้ ประเมินได้ว่านรธ.ล้วนได้รับความก้าวหน้าในทางธรรมถ้วนทั่วกัน จากการปฏิบัติจริง ในสภาวะการณ์จริง ด้วยความเมตตาสั่งสอนตรง จิตสู่จิต จากพ่อแม่ครูอาจารย์(พ.สุรเตโช) หรือได้รับแนวทางธรรมจากท่าน แล้วนำมาถ่ายทอดแบ่งปัน ให้นรธ.ได้น้อมนำไปปฏิบัติ จนบังเกิดผลรับรู้ได้ด้วยตนเอง และบางสิ่งเป็นการเฉพาะตน(ปัจจัตตัง)
    ต้องขออนุโมทนากับทุกท่านครับ[/FONT]
     
  15. สมาชิกธรรม

    สมาชิกธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2011
    โพสต์:
    751
    ค่าพลัง:
    +1,308
    ด้วยความยินดีครับท่านสมบัติ ท่านนนต์ ผมเองปลื้มปิติจนหาคำบรรยายไม่ถูกเหมือนกันครับ.....สรุปว่าเหนือคำบรรยายจริงๆนับเป็นบุญวาสนาเป็นอย่างยิ่งครับ จักนำภาพมาให้ชมในโอกาสต่อไปนะครับ.....
     
  16. สมาชิกธรรม

    สมาชิกธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2011
    โพสต์:
    751
    ค่าพลัง:
    +1,308
    โมทนาบุญกับท่านสุทน ท่านนนต์ด้วยนะครับ
     
  17. สมาชิกธรรม

    สมาชิกธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2011
    โพสต์:
    751
    ค่าพลัง:
    +1,308
    โมทนาบุญกับท่านนต์ด้วยนะครับ.....ยินดีด้วยครับท่านนนต์ที่ได้พบพระอริยะเจ้าผู้ประเสริฐ หากมีเรื่องเล่าเชิงลึกก็ส่งถึงผมด้วยนะครับ.....
     
  18. สมาชิกธรรม

    สมาชิกธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2011
    โพสต์:
    751
    ค่าพลัง:
    +1,308
    ด้วยความยินดีครับท่านภู.....ไม่ได้พบปะกันนานเลยนะครับ.....แล้วพบกันที่ภูดานไหปลายปีนี้นะครับ ( คงมีเรื่องสนทนากันมากมายเลยล่ะครับ )
     
  19. ซึ้งบน

    ซึ้งบน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    225
    ค่าพลัง:
    +377

    ขออำนาจพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จงบันดาลบุญกุศลที่ข้าฯได้ทำไว้ในอดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ในทาน ศีล ภาวนา จงแปรสภาพบุญนี้ให้สำเร็จประโยชน์แก่ คุณตาโยมพ่อของพ่อแม่ครูอาจารย์ ขอให้คุณตาหายจากอาการเจ็บป่วย กลับมามีสุขภาพแข็งแรง เหมือนดังเดิมด้วยเทอญ สาธุ สาธุ

    ขออนุโมทนาบุญกับท่านดร.นนต์ พี่สมบัติ พี่พิเชฐ คุณภูเบศวร์ ทุกประการครับ
     
  20. IT Man

    IT Man ชีวิตที่เหลือ เพื่อพุทธองค์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    4,243
    ค่าพลัง:
    +8,385
    ขอบคุณและโมทนาสาธุกับถ้อยธรรมะของทุกๆท่านครับ :cool:
    เย็นนี้ไปทานข้าวในร้านอาหารแห่งหนึ่งในแม่สอด ไปเห็นคำคมสั้นๆแต่สะดุดใจในความเป็นไปของตัวเองยิ่ง จึงขออนุญาตนำมาแบ่งปัน เผื่อจักเข้ากับสถานการณ์ที่เป็นอยู่...เฉกเช่นกัน
    [​IMG]
    "ทรัพยากรในโลกเพียงพอที่จะหล่อเลี้ยงคนทั้งโลก แต่
    ไม่เพียงพอที่จะหล่อเลี้ยงคนที่มีความโลภเพียงคนเดียว"
    มหาตมะ คานธี

    ทำให้หวลคำนึงถึงคำคมอิสาน ที่ได้รับการถ่ายทอดจากคุณพ่อของผมตั้งแต่เยาว์ว่า
    "ลูกเอ๋ย ในเมืองมนุษย์นี้เมืองพอบ่มีเด้อ...มีแต่เมืองพล(จ.ขอนแก่น)"
    ณ.วันนั้นลูกชายคนนี้ยังไม่ค่อยเข้าใจมากนัก...ณ วันนี้เข้าใจแจ่มแจ้งแล้วครับผม

    ค่ำคืนนี้..ช่างคิดถึงคุณพ่อและคุณพ่อที่พวกเรานรธ.มีเหมือนกันนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 พฤศจิกายน 2011

แชร์หน้านี้

Loading...