มาดูสมเด็จกัน

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย wasabi san, 25 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. keepwork

    keepwork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    277
    ค่าพลัง:
    +770
    หลวงพ่อปานทรงเม่นบัว๗เม็ดองค์นี้ k.wsbsคิดว่าเป็นอย่างไรบ้าง..สำหรับพระปิดตาหลวงพ่อแก้วผมเองมองว่า..ไม่ว่าจะแท้หรือไม่แท้ ไม่ได้วิตกกังวล. แต่สิ่งทีสำคัญกว่าการใด้คิดวิเคราะห์เริ่มต้นหาเหตุผลศึกษามากกว่า "ยิ่งกลัวก็ยิ่งไม่เจอเท่านั้น"....ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • LPP01.jpg
      LPP01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      526.3 KB
      เปิดดู:
      769
    • LPP02.jpg
      LPP02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      627.9 KB
      เปิดดู:
      1,195
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2010
  2. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    พระปิดตาหลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส เนื้อผงคลุกรัก

    พระปิดตาหลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส เนื้อผงคลุกรัก เป็นพิมพ์ที่เราคุ้นเคยกันดี

    [​IMG]
    พระปิดตา หลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส ชลบุรี

    [​IMG]
    พระปิดตาหลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส พิมพ์แข้งซ้อน เนื้อผงคลุกรัก


    [​IMG]
    พระปิดตา หลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์

    องค์สุดท้ายนี้ผมเคยอ่านเจอว่าเป็นของหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ แต่ประวัตินั้นผมไม่ได้เก็บไว้ เพราะนานมาแล้ว แต่ตอนนี้ก็เลยต้องลองไปหาข้อมูลมาใหม่ ถ้าเจอจะเอามาให้ดูกัน ส่วนทุกคำตอบของทุกท่านล้วนมีค่าทั้งสิ้นต่อการศึกษา


    ที่มา:พระปิดตาหลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส พิมพ์แข้งซ้อน เนื้อผงคลุกรัก
    ตำนานพระปิดตา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    [​IMG] [​IMG]

    พระหลวงพ่อปาน สวยมากครับ เนื้ออย่างนี้ผมเห็นที่ไหน ผมก็เก็บครับ
     
  4. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    ห้อยพระอย่างไรให้ถูก "โฉลก"

    ไม่ทราบว่าได้อ่านกันบ้างหรือยัง เห็นว่าน่าสนใจ ฝากไว้ให้อ่านเล่นกันครับ

    ห้อยพระอย่างไรให้ถูก "โฉลก"
    คนเกิดปีชวด
    วันอาทิตย์ เหมาะที่จะแขวนพระที่มีเมตตาเป็นหลัก ได้แก่ พระปิดตา พระสิวลี พระ
    สังกัจจายน์ ส่วนพระเครื่องเพื่อป้องกันตัวและเสริมการงาน เนื่องจากเป็นผู้ที่
    มีรูปงามมีเสน่ห์ พระที่เหมาะควรเป็นพระที่มีอำนาจในตัว ควรแขวนพระ ที่เป็นโลหะ
    หรือผ่านธาตุไฟ เช่น พระกรุเนื้อชิน พระเครื่องเนื้อโลหะหรือเหรียญ ไม่ควร จะ
    เป็นพระที่เป็นเนื้อผง ถ้าเป็นเนื้อผง ควรจะเลือกที่ผสมด้วยธาตุเหล็ก หรือผง
    ตะไบเหล็กหรือโลหะเท่านั้น หรือเป็นพระผงฝังตะกรุด

    วันจันทร์ รูปสมบัติเป็นโภคทรัพย์ติดตัวมา จึงไม่ค่อยเดือดร้อนเรื่องการทำมาหา
    กิน ควรจะทำงานที่ต้องใช้ความชำนาญเฉพาะตัวจึงจะถูกโฉลก ควรแขวนพระที่คล้ายกับ
    โฉลกงาน เช่น พระทรงเครื่อง พระที่มีลวดลายประกอบอย่างงดงาม หรือพระพรหม พระ
    พิฆเนศ

    วันอังคาร ชีวิตมีแต่ความลำบาก ต้องฝ่าฟันอุปสรรคกว่าจะได้เงิน ต้องระวังปาก
    ตัวเองให้มากที่สุด ควรแขวนพระไสยาสน์ หรือพระปางสมาธิ เป็นเนื้อที่ผ่านไฟหรือ
    ไม่ก็ไม่เป็นไร เพราะพระทั้งสองปางหมายถึงความสงบระงับ เมื่อเกิดความพลุ่งพล่าน
    ทุกครั้งให้เอามือกุมพระ จะเยือกเย็นลง

    วันพุธ ชีวิตมีแต่ความเจ็บไข้จุกจิก แม้ไม่อันตรายถึงชีวิตก็บั่นทอนร่างกายไป
    มาก เหมาะที่จะแขวนพระที่ทำจากต้นไม้ใบยา เช่น พระว่าน พระขมิ้นเสก
    พระไพลเสก หรือพระที่มีส่วนผสมของตัวยาต่างๆ พระเนื้อผงผสมว่านก็ใช้ได้ บางคนแขวนหมอชีวก
    โกมารภัจจ์ก็ไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด

    วันพฤหัสบดี เป็นผู้อุดมด้วยโภคทรัพย์ มีบุญเก่าอยู่มาก ทำให้ชีวิตไม่ล้มลุก
    คลุกคลานมากนัก ไม่ค่อย รอบคอบในการตัดสินใจ ประมาทเป็นนิจ ทำให้พลาดเงินหรือ
    เสียประโยชน์อันควรได้ไปอย่างน่าเสียดาย ควรแขวนพระที่จะมารับหน้าพระอังคารที่
    เป็นใจคือ พระปางป่าเลไลยก์ พระราหูเนื้อผง หรือเนื้อโลหะ เพราะพระราหูกับพระ
    อังคารเป็นมหามิตรกัน จะรับหน้า ทำให้พระอังคารไม่อาจมาเบียดเบียนดวงชะตาได้

    วันศุกร์ มีดีทางด้านผู้รับใช้ใกล้ชิดจะเป็นคนดีมีศีลธรรม แต่อยู่ด้วยไม่ได้
    นาน เพราะบางครั้งไม่ได้ตั้งใจแต่พูดไปโดยไม่คิด ทำให้บริวารต้องจากไป ควรแขวน
    พระพิมพ์ที่มีพระอัครสาวกอยู่ซ้ายและขวา เพราะพระพุทธองค์และพระสาวกนั้นหมายถึง
    การปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาตามสายงาน จะแก้โฉลกให้ดีได้

    วันเสาร์ เป็นผู้มีอำนาจในตัว มีดีที่คนเกรงขาม แต่มีข้อเสียชอบออกหน้าแทนลูก
    น้องหรือคนอื่น จึงมักต้องเดือดร้อนแทนคนอื่นในแทบทุกเรื่อง ให้แขวนพระปางห้าม
    สมุทร ยกพระหัตถ์ (มือ) สองข้าง ซึ่งจะแก้เคล็ดและทำให้ยับยั้งชั่งใจได้

    • คนเกิดปีฉลู

    วันอาทิตย์ วาสนาไม่ค่อยจะดีนัก ให้เก็บหอมรอมริบทุกครั้งที่มีโชค โฉลกของท่าน
    คือการเก็บงำ ควรแขวนพระเสริมวาสนา เช่น พระผงยาวาสนา พระปิดตามหาลาภ (ไม่ปิด
    ทวาร) พระสิวลี พระปางลีลา พระสังกัจจายน์
    วันจันทร์ มีดาวบริวารดีมาก จะได้ทรัพย์เพราะบริวารเป็นหลัก เพราะบริวารของ
    ท่านดีอยู่แล้ว ควรแขวนพระที่มีพระหลาย องค์รวมอยู่ในองค์เดียวกัน เช่น พระเจ้า
    ห้าองค์ หรือพระ ที่มีจำนวน สององค์ขึ้นไป ถ้าหาไม่ได้ให้แขวนพระที่เป็นพิมพ์มี
    พระอัครสาวกอยู่ด้วย เพื่อเสริมบารมีในด้านบริวาร ควรเป็นเนื้อผสมส่วนผสมหลาย
    อย่างจะดีที่สุด

    วันอังคาร มีวาสนาน้อย ควรเจียมตน ไม่ทำการใหญ่เกินกำลัง อย่าจับงานใหญ่ที
    เดียวจะแพ้ภัย ควรแขวนพระมหาอุด ปิดทวาร หรือเต่าเรือน เพื่อเป็นเคล็ดสำรวม
    ระวังเรื่องการลงทุน พระปิดทวารจะทำให้นึกถึงการไม่ทำอะไรเกินตัว เต่าคือให้หด
    หัวยามมีภัยมา คืออย่าลงทุนมากนั่นเอง

    วันพุธ หัวเดียวกระเทียมลีบ มีเพื่อนมีญาติเหมือนไม่มี พึ่งใครไม่ได้ นอกจาก
    พึ่งตัวเอง ควรแขวนพระที่มีคำว่าเดี่ยวอยู่ด้วย เช่น เดี่ยวดำ เดี่ยวแดง พลาย
    เดี่ยว หรือพลายคู่ตัดเดี่ยว เสริมโฉลกที่ต้องทำอะไรด้วยตัวเองเดี่ยวๆ


    วันพฤหัสบดี มีวาสนาตกที่นั่งมีทรัพย์มาก ไม่ต้องขวนขวายก็จะได้มาแบบไม่ยาก มี
    ข้อเสียเป็นคนมือเติบ มักมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย หรือขาดดุล แก้โฉลกด้วยการ
    แขวนพระที่มีชื่อว่า "คง" เช่น หลวงพ่อคง พระอาจารย์มั่น จะทำให้รู้จักเก็บ
    ทรัพย์ให้มั่นคงและคงที่


    วันศุกร์ เป็นคนตกที่นั่งอับโชคลาภ เงินที่จะได้มาอย่างง่ายๆ เช่น เล่นหวย
    อย่าไปหวัง ควรแขวนพระที่มีคำว่าเศรษฐี เงินแสน เงินล้าน พระทุ่งเศรษฐี พระที่
    ลงท้ายว่ารุ่นมหาเศรษฐี หรือขวัญถุงเงินล้าน เงินแสน จะเสริมพลังแห่งโชคลาภ


    วันเสาร์ เป็นคนตกที่นั่งนักโทษ ทั้งชีวิตมีแต่คนเบียดเบียนใส่ไคล้ ทำให้เดือด
    ร้อน มีโรคประจำตัวบั่นทอนชีวิตอยู่มาก ควรแขวนพระที่มียันต์เกราะเพชร หรือพระ
    ที่เป็นรูปโล่ จึงจะถูกโฉลกกับตัวเอง

    • คนเกิดปีขาล

    วันอาทิตย์ หากินอย่างอาบเหงื่อต่างน้ำ แม้จะมีตำแหน่งสูง แต่งานในความรับผิด
    ชอบหนักหนา หรือไม่ก็ไปใหญ่โตในถิ่นกันดาร ควรแขวนพระที่มีความเคลื่อนไหว เช่น พระลีลา พระเปิดโลก พระสิวลี

    วันจันทร์ ดวงชีพจรลงเท้า ถูกโฉลกกับงานที่ต้องเดินทางขึ้นล่อง ควรแขวนพระที่
    สงบและอยู่นิ่ง พระปางสมาธิ ไม่ควรแขวนพระเคลื่อนไหว เพราะจะทำให้โฉลกร้อนขึ้น
    ไปอีก

    วันอังคาร เป็นนักบู๊ มักมีเรื่องราวชกต่อยเสมอ ส่วนใหญ่เป็นนักเลง นักพนัน
    หรือนักมวยเดินหน้าชน มีนิสัยก้าวร้าว มีโทสะจริตเป็นที่ตั้ง ควรแขวนพระเมตตา เช่น
    พระปิดตา พระสังกัจจายน์ พระสิวลี ที่ทำด้วยอะไรก็ได้ที่ไม่ได้ผ่านความ
    ร้อน ทำให้เย็นขึ้นได้

    วันพุธ มีจิตใจเยือกเย็น สุขุม ไม่บุ่มบ่าม ใจเหมือนแม่น้ำ ใฝ่การบุญ เป็นที่
    รักของคนทั่วไป ควรแขวนพระปิดตามหาอุด หรือพระที่มีลักษณะอยู่กับที่เช่น พระยืน
    ปางถวายเนตร

    วันพฤหัสบดี แต่น้อยลำบาก เมื่ออายุมากขึ้นจะมีวาสนามากตามไป ควรอดทนรอให้งอม
    จึงหลุดจากขั้ว ควรแขวนพระที่ผ่านการหล่อหลอมจากธาตุไฟเพื่อเสริมพลังชีวิต จะ
    เป็นพระกริ่งหรือรูปหล่อที่ผ่านไฟแรงเท่าใดก็ยิ่งดี


    วันศุกร์ พึ่งใครไม่ได้ ต้องพึ่งตัวเอง เป็นเสือจับเนื้อกินเองจนแก่ ควรแขวน
    พระที่มีรูปเสือมาเกี่ยวข้อง หรือแขวนเสือก็ได้ จะเป็นเสืองาแกะ หรือเขี้ยวเสือ
    ก็ได้ หรือเสือที่เป็นโลหะก็ได้

    วันเสาร์ เป็นผู้มีโภคทรัพย์ ทำมาหากินแล้วตั้งหลักฐานได้ง่าย มีข้อเสียคือ
    เชื่อคนง่าย มักถูกหลอกหรือฉ้อโกงเอาทรัพย์อยู่บ่อยๆ ควรแก้เรื่องความใจง่าย
    เชื่อคนง่ายไว้ ควรแขวนพระที่ตรงข้ามกับพระทั่วไป เพื่อแก้โฉลกด้านการถูกคดโกง จึงควรแขวนพระที่เป็นพิมพ์แบบสะดุ้งกลับจะเหมาะที่สุด

    • คนเกิดปีเถาะ

    วันอาทิตย์ เป็นคนอาภัพอับวาสนา ทำมาหากินไม่พอเลี้ยงตัวเอง ต้องอาศัยบารมีคู่
    ครองเป็นหลัก หากอยู่ตัวคนเดียวจะลำบากมาก ควรแขวนพระเสริมวาสนา เช่น พระผงยา
    วาสนา พระที่มีนามเกี่ยวกับโชคลาภ

    วันจันทร์ คนเกิดวันนี้ แต่น้อยจะลำบาก เมื่อเลยวัยกลาง คนไปจะดีขึ้นและตั้ง
    ตัวได้ ควรแขวนพระปางลีลา เพื่อความก้าวหน้า

    วันอังคาร เป็นคนที่ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ ชีพจรลงเท้า ต้องเดินทางถึงจะได้
    เงิน เหมาะแก่การเป็นพนักงานขายของขึ้นๆ ลงๆ หรือค้าขาย ระหว่างประเทศ ควรแขวน
    พระเกี่ยวกับการค้าขาย เช่น พระสังกัจจายน์ พระสิวลี

    วันพุธ เป็นที่ไม่พอใจกับเจ้านายหรือผู้ใหญ่ มักจะให้ร้ายเสมอ เป็นโฉลกของวัน
    เกิด จึงไม่ควรรับราชการเพราะจะไม่ก้าวหน้า เหมาะที่จะทำมาหากินในความถนัดของ
    ตน ไม่ขึ้นกับใคร ควรแขวนพระมหาอุด ที่ทำจากโลหะที่ผ่านความร้อนแล้วจะทำให้เกิด
    ตบะและเดชะป้องกันตัวเองได้

    วันพฤหัสบดี เป็นคนใจร้อนใจน้อย ใครตักเตือนก็ไม่พอใจ ดื้อรั้น ควรอ่อนน้อมรับ
    ฟังผู้อื่นแล้วเอามาคิด ให้แขวนพระที่มีหนุมานอยู่ด้วย เพราะดวงอาสาเจ้านาย
    เหมาะ หรือไม่ก็แขวนพระที่มีลักษณะการกวัก เช่น พระพุทธกวัก

    วันศุกร์ มีวาสนาดี เป็นนักบวชก็ก้าวหน้า เหมาะกับการควบคุมคนหมู่มาก มีลักษณะ
    เป็นผู้นำ ควรแขวนพระที่ในหนึ่งพิมพ์มีจำนวนมากกว่าหนึ่งขึ้นไป เช่น พระเจ้าห้า
    องค์ พระเจ้าสิบทัศน์ พระตรีกาย

    วันเสาร์ โฉลกเป็นคนที่คนทำร้ายไม่ได้ มีผู้คอยออกรับและคุ้มครองป้องกันอยู่
    เสมอ ทำให้ไม่ต้องลำบาก แต่เป็นคนที่อาภัพคู่ครอง แม้มีสมบัติมากแต่ก็มักจะผิด
    หวังเรื่องคู่ครองเสมอ ควรแขวนพระที่มีนามทางความอ่อนนุ่ม เช่น พระนางพญา

    • คนเกิดปีมะโรง

    วันอาทิตย์ มีบริวารอยู่มาก มักได้เป็นผู้บังคับบัญชาคน มีทรัพย์ดีมาก เก็บไม่
    อยู่ แต่เงินไม่ขาดมือ เหมาะที่จะแขวนพระชัยวัฒน์ เพราะเป็นผู้นำคนหรือเป็นที่
    พึ่งของคนหมู่มาก

    วันจันทร์ มีใจอาฆาตพยาบาทรุนแรง มักมีเรื่องชกต่อยเสมอ ยิ่งเสพสุรายิ่ง
    อาละวาด ควรแขวนพระที่มีข้อห้ามเรื่องสุรา จะได้คอยเตือนใจ เช่น พระหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
    จ.พระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคีรีเขต จ.ขอนแก่น หลวงปู่
    จันทร์ วัดศรีเทพ จ.นครพนม

    วันอังคาร ทำมาหากินฝืดเคือง แต่รอดตัว วาสนาปานกลาง อารมณ์ร้อน โกรธง่ายหาย
    เร็ว ห้ามแขวนพระที่ผ่านธาตุไฟ หรือความร้อนเด็ดขาด ให้แขวนพระผง หรือพระที่แกะ
    จากอัญมณี หรือหินที่มีความเย็น หากแขวนพระที่ทำจากหยก จะยิ่งดีใหญ่

    วันพุธ เหมาะเป็นนักร้อง นักแสดง กวี นักเขียนมากกว่าอาชีพอื่น ทำมาหากิน
    คล่อง รับราชการไม่ดี จะมีภัยจากเจ้านาย วาสนาปานกลาง ควรแขวนพระกริ่งที่เขย่า
    แล้วมีเสียงดัง เพราะดวงเหมาะเป็นนักร้องหรือกวี แม้ทำอาชีพอื่น หากมีพระกริ่ง
    เสียงกังวานจะช่วยเสริมโฉลกโชคลาภ


    วันพฤหัสบดี ต้องดิ้นรนไม่หยุดหย่อน จะได้ห้าต้องลงทุนเกินห้า เหมาะกับงานที่
    ต้องใช้ความอดทน ความอุตสาหะ ควรแขวนพระที่มีพลังเร้นลับ เช่น พระหูยาน พระ
    นาคปรกลพบุรี พระยอดขุนพล หรือพระพิมพ์ที่แสดงถึงปาฏิหาริย์

    วันศุกร์ เป็นคนขี้โรค ทำมาหากินคล่อง แต่มีโรคมาเบียดเบียนเสมอ ทำให้ไม่มี
    ความสุขในชีวิต ควรแขวนพระเนื้อว่านที่เป็นยา พระที่ทำจากยาผสมว่าน พระเนื้อ
    ว่านต่างๆ เพื่อแก้โฉลกที่สุขภาพไม่ดี

    วันเสาร์ ถ้าเป็นนักบวชจะมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ถ้าเป็นข้าราชการปานกลาง เป็น
    พ่อค้าปานกลาง ทำงานอิสระดีที่สุด ควรแขวนพระที่เป็นพระเกจิอาจารย์จะถูกโฉลก
    มากกว่าเป็นพระพุทธรูป พระเกจิอาจารย์ที่มีเครื่องหมายของอาชีพอิสระ เช่น พระ
    ที่ทางคณะแพทย์สร้าง หรือคณะผู้พิพากษาสร้าง

    • คนเกิดปีมะเส็ง
    วันอาทิตย์ มักเดือดร้อนจากการหาความของผู้อื่นเสมอ การงานอาภัพ กว่าจะได้มา
    ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ เก็บเงินเก่ง ควรแขวนพระที่เป็นยันต์เกราะเพชร หรือเต่า
    เรือน หมั่นบริจาคเงินให้กับสถาบันที่เกี่ยวข้องกับ ตำรวจ ราชทัณฑ์ หรือ
    ตุลาการ จะช่วยบรรเทาเรื่องคดีความลงได้

    วันจันทร์ เป็นผู้ที่มีคนคอยช่วยเหลืออยู่เสมอ ไปถิ่นฐานใดไม่ขาดแคลนคนคอยคุ้ม
    ครองรักษา ทำการงานพึ่งผู้ใหญ่หรือทำอะไรกับผู้สูงอายุดีกว่า อายุเท่ากันหรือ
    น้อยกว่าไม่ดี ให้แขวนพระปางนาคปรก สัญลักษณ์แห่งการคุ้มครองป้องกันภัยช่วย
    เหลือ หรือพระที่มีสององค์ในพิมพ์เดียวกัน จะถูกโฉลกดีนัก

    วันอังคาร ดวงชีพจรลงเท้า เกิดที่หนึ่งไปดังที่หนึ่ง ถ้าจะให้ก้าวหน้าต้องไปทำ
    งานต่างถิ่น ควรแขวนพระปางลีลา หรือพระที่แสดงความเคลื่อนไหว เพราะดวงต้องเดิน
    ทางตลอดเวลา หากใช้พระที่หยุดนิ่งจะไม่ถูกโฉลกกัน

    วันพุธ ทำงานหากินไม่พอรายจ่าย ดวงพลิกผันง่าย คาดหมายอะไรล่วงหน้าไม่ได้ ต้อง
    ทำงานตามน้ำตลอดเวลา ทวนน้ำเมื่อไรพัง จึงต้องระวัง ให้แขวนพระสังกัจจายน์ หรือ
    พระสิวลี หรือพระที่ด้านหลังมียันต์ ดวงจะถูกโฉลก

    วันพฤหัสบดี เป็นคนมีดวงทางบริวารดี วางใจได้ เป็นผู้มีคนอุปถัมภ์ค้ำชู เป็น
    ที่เกรงขามของคนทั่วไป นักบริหารที่ยิ่งใหญ่มักเกิดปีมะเส็งวันพฤหัสบดี ควรแขวน
    พระที่มีอัครสาวกอยู่ด้วย หรือแขวนพระเจ้าห้าองค์ จึงจะถูกโฉลกกับตัวเอง

    วันศุกร์ มีสติปัญญาดี มีปัญญาเป็นทรัพย์ เป็นคนใฝ่การศึกษาหาความรู้ หากเป็น
    นักบวชจะเป็นพระเกจิ อาจารย์ที่มีความขลัง อมตะ เล่าลือไม่สิ้นสุด ควรแขวนพระ
    ที่มีจีวรของพระคุณเจ้า ผู้เป็นเจ้าของพระอยู่ด้วยเพราะโฉลก ของท่านกับจีวรพระ
    สงฆ์ที่เป็นพระสุปฏิปันโนนั้น ถูกกัน

    วันเสาร์ เป็นคนทำงานได้ทุกอย่าง แต่อาภัพคู่ครอง มักหย่าร้างหรืออยู่กันไม่
    ยืด อยู่ยืดก็เป็นคู่ร้างคู่เละ ตัวเองขยันแต่คู่ครองบั่นทอน ความสุขเสมอ ให้
    แขวนพระเป็นคู่หรือ สององค์ในพิมพ์เดียวกัน จะแก้เคล็ดและช่วยให้ถูกโฉลก

    • คนเกิดปีมะเมีย
    วันอาทิตย์ เป็นผู้ตั้งหลักฐานได้ง่าย มีความกล้าแกร่ง เป็นที่พึ่งของคนทั่ว
    ไป มักเป็นผู้นำ ทำราชการดีนัก เป็นนักพูดหรือนักเขียนจะโด่งดังไม่มีใครเกิน ควรแขวนพระที่มีคำว่าโต
    เช่น หลวงพ่อโต หรือพระที่มีลักษณะใหญ่กว่าพระเครื่อง
    ทั่วไป

    วันจันทร์ เหมาะแก่การเป็นพ่อค้าวาณิช เป็นนายหน้า แต่เป็นนักการทูต นักการ
    เมือง นักวิชาการ รับราชการไม่ดี แขวนพระอะไรก็ได้ แต่มีเคล็ดว่าให้หาปลา
    ตะเพียนขนาดเล็กๆ ที่ปลุกเสกแล้วคู่หนึ่งติดตัวไว้เสมอ จะทำให้ทำมาค้าคล่อง และ
    ติดต่อการงานดีมาก ช่วยเสริมโฉลกโชคลาภ

    วันอังคาร มีวาสนาดี แต่มักถูกเบียดเบียนชื่อเสียงผลประโยชน์อยู่เป็นนิจ การทำ
    อะไรที่ใหญ่ๆ ควรมีหลักฐานกำกับยืนยันให้แน่นแฟ้น จึงจะไม่ถูกเบียดเบียน เป็นคน
    ที่มีของกำนัลมาสู่มิได้ขาด ควรแขวนพระปางมารวิชัย หรือไม่ก็แขวนพระไพรีพินาศ ก็ดีเหมือนกัน

    วันพุธ อาภัพไร้คนอุ้มชู หัวเดียวโด่เด่ แต่อดทนแกร่งกล้า ไม่ยอมแพ้ชะตา ชีวิต
    จะต้องทำงานหนัก ก้าวหน้าช้า แต่ถ้าถึงจุดแล้วจะมั่นคงและยืนนาน ไม่ควรท้อแท้
    กับชีวิต ให้แขวนพระนาคปรก จะเกิดมีการคุ้มครองหรือช่วยเหลือ ห้ามแขวนพระปางป่า
    เลไลยก์เด็ดขาด แม้จะเกิดวันพุธกลางคืนก็ตาม

    วันพฤหัสบดี ชาตินี้ต้องเป็นผู้ทำประโยชน์ให้คนอื่นตลอด แล้วจึงได้ส่วนแบ่งผล
    ประโยชน์นั้นมา คือ ทำงานกับหุ้นส่วนและคนหมู่มาก จะทำงานอิสระไม่ได้เลย ต้องมี
    คนคอยเป็นคู่คิดเสมอ ควรแขวนพระปิดตายันต์ยุ่ง เพราะเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่น
    คง กลมเกลียว สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

    วันศุกร์ ไร้ชายคาที่อาศัย ต้องพึ่งตัวเอง แม้จะสิ้นใจก็มิอาจร้องขอความเมตตา
    จากผู้ใด ดวงอาภัพผู้อุปถัมภ์ จึงควรทำอะไรที่ตัวเองถนัดและทำแต่ลำพัง ไม่ต้อหา
    ใครมาช่วย เพราะเมื่อใดทำงานเป็นทีมเป็นหุ้นส่วนกันจะพัง ให้แขวนพระเดี่ยวๆ องค์เดียวแก้เคล็ด อย่าแขวนพระเป็นพวง
    ให้แขวนเดี่ยว จะได้ผลดีอย่างยิ่ง เสริม โฉลก

    วันเสาร์ วังเวง วิเวก ว้าเหว่ นอกจากอาภัพคู่แล้ว ชั่วชีวิตยังปราศจากคนจริง
    ใจอีกด้วย จึงต้องระมัดระวังรอบคอบไตร่ตรองคำพูดคนรอบข้างไว้เสมอ ให้แขวนพระปิด
    ทวารทั้งเก้า ยิ่งอุดมมากเท่าใดยิ่งดี เพราะจะทำให้โฉลกดีขึ้นกว่าแขวนพระอย่าง
    อื่น

    • คนเกิดปีมะแม

    วันอาทิตย์ เป็นคนมือเติบ เลี้ยงคนถูกใจเท่าไรเท่ากัน ทำให้เป็นนักเลงสุรา
    นักเลงผู้หญิง เก็บเงินไม่อยู่ ควรแก้เคล็ดเปลี่ยนเงินเป็นทองคำ บ้าน ที่ดิน ใบ
    หุ้นที่มีระยะเวลา ถ้าเก็บเงินสดไว้กับตัวก็ละลายหมด ควรแขวนพระนาคปรก หรือพระ
    ปางซ่อนหา เพื่อแก้โฉลกให้เบา จากความเสียหายเรื่องการพนันและผู้หญิง ไม่ใช่ใส่
    แล้วไปเล่นการพนัน หรือไปเที่ยว ห้ามเด็ดขาด

    วันจันทร์ ดวงบริวารดีมีผู้คอยช่วยเหลือ แต่มักต้องลำบาก เพราะญาติพี่น้อง จึง
    ควรรู้จักแยกแยะ ว่าควรจะสงเคราะห์ใครอย่างไร ไม่งั้น จะก่อศัตรูไม่สิ้นสุด ควร
    แขวนพระปิดตาที่ไม่ปิดทวาร เพื่อส่งผลแก้โฉลกตรงปากที่พูดทำร้ายตัวเองและผู้
    อื่นให้เกิดศัตรู

    วันอังคาร ทำงานหนัก แต่รายได้ไม่คงที่ แม้จะมีความรู้ ก็ไม่อาจหา งานที่เหมาะ
    สมทำได้ โฉลกเป็นอย่างนั้น จึงควรหาทักษะความรู้เกี่ยวกับงานด้านต่างๆ ไว้ให้
    พร้อมมากที่สุด ควรแขวนพระปางประทานพร หรือปางอุ้มบาตร เพื่อแก้โฉลกและทำให้การ
    งานดีขึ้น

    วันพุธ เป็นคนน้ำนิ่งไหลลึก พูดจาน้อย แต่มีน้ำหนักเป็นที่เกรงกลัวของคนทั่ว
    ไป นักบวชมีชื่อเสียง ผู้พิพากษาคนสำคัญ นักการเมืองที่เป็นรัฐบุรุษมักเกิด
    วันนี้ ควรแขวนพระที่มีเมตตาสูง เช่น พระสมเด็จ พระปิดตา และพระที่มีอานุภาพทาง
    เมตตาที่ไม่ผ่านความร้อน เพื่อทำให้โฉลกทางด้านอำนาจเบาบางลง เกิดเมตตามากขึ้น

    วันพฤหัสบดี เป็นผู้นำคนหมู่มาก มีมนุษย์สัมพันธ์ดีมาก เป็นเจ้านายที่ลูกน้อง
    เกรงใจ นักบริหารผู้มีฝีมือ นักการธนาคารผู้มีชื่อเสียง นักการเมืองผู้มีเล่ห์
    เหลี่ยมแพรวพราว ควรแขวนพระปางปฐมเทศนา หรือมีรูปธรรมจักรอยู่ในองค์พระด้วย
    เพื่อทำให้คำพูดของท่านมีความหนักแน่นมั่นคงมากขึ้น และทำให้ลดความน่ากลัว หรือ
    อำนาจลงไปได้บ้าง

    วันศุกร์ เป็นคนอาภัพ ทำคุณไม่ขึ้น ช่วยเขาแล้วเราพังเป็นส่วนใหญ่ สมควรที่จะ
    อยู่เฉยๆ อย่าได้ออกหน้า โดยเฉพาะการเป็นนายประกัน ไม่ถูกกับคนเกิดวันศุกร์
    อย่างยิ่ง ควรแขวนพระปิดตามหาอุด หรือพระบัวเข็ม จึงจะเหมาะสมกับโฉลกของตน ทำ
    ให้เยือกเย็นมากขึ้น

    วันเสาร์ เป็นคนมีโทษ ถูกใส่ร้ายป้ายสี ใส่ความมาโดยตลอด ไม่เคยอยู่เป็นสุข มี
    ศัตรูมาก ควรสงบเสงี่ยมเจียม ปากเจียมคำ อย่าได้ทำเด่นเกินไป ภัยจะมาถึงตัว ควร
    แขวนพระที่เป็นยันต์เกราะเพชร หรือที่เป็นรูปโล่ เพื่อให้ทำโฉลกเป็นดีขึ้นมา
    ได้

    • คนเกิดปีวอก

    วันอาทิตย์ มีวาสนาดีมาแต่เกิด มีทรัพย์สินบริวารพร้อม รับราชการจะก้าวหน้า
    เป็นนักบวชจะได้เป็นถึงพระราชาคณะ ให้แขวนพระที่มีพัดยศด้วย จะถูกโฉลกมากขึ้น

    วันจันทร์ เหมือนถูกลอยแพในมหาสมุทร ต้องร่อนเร่พเนจรไปต่างถิ่น ถูกโฉลกกับการ
    ค้าขายขึ้นล่องตามแม่น้ำลำคลอง หรือค้าขายเครื่องสูบน้ำ วิดน้ำ ควรแขวนพระห้าม
    สมุทรยกพระหัตถ์ จะทำให้โฉลกดีขึ้น

    วันอังคาร เป็นคนมีศัตรูมาก ต้องต่อสู้จึงจะได้มาซึ่งสิ่งที่พอใจ ชนิดที่ได้มา
    แบบง่ายๆ ไม่มี ควรแขวนพระปางซ่อนหา ที่มีพระพุทธรูปซ้อนบนพระเกศของพระพุทธรูป
    อีกองค์หนึ่ง เป็นพระที่ซ้อนกับสององค์ เช่น พระหล่อพิมพ์ซ้อนของ วัดหนอง
    โว้ง จ.สุโขทัย

    วันพุธ มีสติปัญญา มีความรู้ เป็นนักปราชญ์ พระโหราบดี ราชครู และสมณะผู้
    เชี่ยวชาญด้านพระบาลี มักเกิดวันนี้ ควรแขวนพระสังกัจจายน์ พระสีวลี จะถูกโฉลก
    ที่สุด

    วันพฤหัสบดี เป็นคนทำงานราชการก้าวหน้า หรือค้าขายส่วนตัวก็จะดี ควรแขวนพระปาง
    ลีลา หรือพระซุ้มเรือนแก้ว จะถูกโฉลกโชคลาภ

    วันศุกร์ มีเชาวน์ปัญญาไว เรียนรู้อะไรได้ง่าย มีวาสนา มีเสน่ห์ รับราชการ
    เกี่ยวกับต่างประเทศ เจรจาความเมืองจะก้าวหน้าที่สุด หรือทำการค้าขายสั่งนำเข้า
    จากนอกประเทศดีที่สุด ควรแขวนพระที่มีนางกวักอยู่ด้านหลัง จะดีที่สุด

    วันเสาร์ โฉลกมักถูกคดีความเป็นจำ จึงไม่ควรคิดทำสิ่งผิดกฎหมาย เป็นดวงที่ต้อง
    ระวังแง่กฎหมายมากที่สุด ถ้าเป็นทนายความจะมีลูกความมาก ควรแขวนพระที่มี
    สัญลักษณ์กฎหมาย คือตราชั่ง หรือโล่ตำรวจ จึงจะถูกโฉลก หรือพระที่สร้างโดย
    องค์กรของกฎหมาย ตุลาการ หรือตำรวจ

    • คนเกิดปีระกา

    วันอาทิตย์ บริวารดีมาก จะได้ใช้สอยพึ่งพาอาศัยได้ แต่ให้ระวังความใจกว้าง ทำ
    คุณกับผู้อื่นอาจต้องเสียใจบ่อยๆ ให้แขวนพระมหาอุด หรือพระที่มีรัศมีอยู่รอบ
    องค์พระ หรือมีซุ้ม เพื่อแก้โฉลกให้ดีขึ้น จะทำให้มีลาภอุดม


    วันจันทร์ มีกินล้นเหลือ ไม่มีก็ต้องขอข้าวเขากิน จึงต้องสำรองเงินเก็บไว้ยาม
    มีมาก จะได้ไม่เพลี่ยงพล้ำ จะประมาทไม่ได้เลย ควรแขวนพระสังกัจจายน์ ยิ่งเป็น
    แบบจีน หรือแป๊ะยิ้ม ยิ่งดี หรือไม่ก็แขวนพระสีวลี เพื่อเสริมโฉลกให้ดีขึ้น

    วันอังคาร เป็นคนชอบเที่ยวเตร่ มากผัวหลายเมียควรระมัดระวังเรื่องเที่ยวเตร่คบ
    เพื่อนฝูง จะเสียเพราะเพื่อนและคนใกล้ชิดติดคุกติดตะรางมามากแล้ว ควรแขวนพระ
    มหาอุดหรือเต่าเรือนเพื่อทำให้โฉลกดีขึ้น

    วันพุธ รับราชการดีที่สุด อาชีพอิสระไม่ดี ต้องร่วมหุ้นหรือทำงานผู้บริหารจะดี
    มาก สติปัญญาดี เอาตัวรอดได้เพราะปัญญาของตัวเอง ให้แขวนพระปางปฐมเทศนาเป็นดี
    ที่สุด หรือพระที่มีเครื่องหมายธรรมจักรอยู่ด้วยในองค์พระ

    วันพฤหัสบดี เป็นคนมีบุญ มีคนรักใคร่ชอบพอ พูดจาเป็นเสน่ห์แก่ตัวเอง รู้หลัก
    นักปราชญ์ ได้พึ่งคนใกล้ชิดและบริวารเป็นส่วนใหญ่ ให้แขวนพระองค์ใหญ่หรือชื่อ
    ใหญ่ เช่น พระหลวงพ่อโต ปางสมาธิ จะถูกโฉลกยิ่งขึ้น
    วันศุกร์ ทำมาหากินไม่พอกิน ลำบากมาก แต่มีลาภลอยให้ได้แก้ขัดเสมอ อย่าคิดเล่น
    การพนันเป็นอาชีพเด็ดขาด จะซ้ำร้ายลงไปอีก จึงควรหมั่นเก็บหอมรอมริบให้มากที่
    สุด ให้แขวนพระปิดตามหาลาภ หรือพระฤๅษี จะถูกกับโฉลกทำให้มีลาภลอยมากขึ้น
    วันเสาร์ มีคนอุปถัมภ์ไม่ตกต่ำ เป็นที่เมตตาของคนทั่วไป ทำราชการจะดีมาก หรือ
    ค้าขายเสื้อผ้าอาภรณ์เครื่องเสริมสวยจะดีมาก ให้แขวนพระพิมพ์ทรงเครื่องที่งด
    งาม หรือพระที่มีลวดลายแพรวพราว หรือพระแกะพิมพ์วิจิตรพิสดารเพื่อเสริมโฉลกโชค

    • คนเกิดปีจอ
    วันอาทิตย์ เป็นดวงฝ่าฟัน มักต้องแก้ปัญหาในหน้าที่การงานเสมอ ทำงานมีอุปสรรค
    มาก บางครั้งต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ เป็นนักบริหารประเภทแก้สิ่งที่ผิดพลาดมาแล้ว
    ให้ดีขึ้นจะถูกโฉลกมาก ให้แขวนพระปางมารวิชัย ยิ่งมีพระอัครสาวกซ้ายขวาด้วยยิ่ง
    ดีใหญ่

    วันจันทร์ สติปัญญาเป็นทรัพย์ ไม่ชอบงานหนัก ชอบงานได้ผลตอบแทนสูง เช่น ซื้อ
    ขายหุ้น ซื้อผลิตผลที่ต้องเก็งกำไรระยะสั้น ให้แขวนพระที่มีซุ้มครอบแก้ว จะช่วย
    ให้ดีขึ้น

    วันอังคาร ทำงานไม่ค่อยก้าวหน้า สติปัญญาไม่ดี แต่มีความขยันอดทน เหมือนหมู
    ป่า แม้มีแต่เขี้ยวก็สามารถขุดหาหัวเผือกหัวมันรากไม้กินได้อย่างไม่อัตคัด ให้
    แขวนพระปางลีลา เสริมโฉลกต่อสู้อุปสรรคทั้งปวงให้หมดไป

    วันพุธ มีบริวารมาก ได้ดีเพราะบริวาร มักเป็นผู้นำ เป็นนักบริหารที่เพียบพร้อม
    ด้วยปัญญาและบริวาร ควรแขวนพระเป็นพวง พวงละหลายๆ องค์ จะช่วยหนุนโฉลกให้ดี
    ขึ้น

    วันพฤหัสบดี เป็นคนเจ้าโทสะ มักชอบสิ่งเย้ายวนต่างๆ เจ้าชู้มีเมียไม่เลือก ตก
    ที่นั่งนารีอุปถัมภ์ ควรแขวนพระทรงอิทธิฤทธิ์ เช่น พระตรีกาย พระปางมหา
    ปาฏิหาริย์ หรือพระที่มีความร้อนแรงจากธาตุไฟ เพื่อเสริมบารมีให้โฉลกดีขึ้น

    วันศุกร์ เป็นคนมีลาภอยู่เป็นนิจ ทำอะไรก็ก้าวหน้าได้ง่าย แต่มือเติบ ทำให้
    เสียทรัพย์โดยใช่เหตุ ให้แขวนพระมหาอุด เสริมโฉลกให้ทุกอย่างดีขึ้น

    วันเสาร์ เป็นคนอาภัพ คู่ครองเป็นอริ จะอยู่กันยืดเฉพาะแม่ม่าย เป็นนักเลงการ
    พนันและสุราชนิดหัวราน้ำ จึงควรแก้ไขแต่ต้นมือ ให้แขวนพระที่มีคำสาปเกี่ยวกับ
    การห้ามดื่มสุราและเล่นการพนันเพื่อปรามตัวเอง เป็นการเสริมโฉลก หาไม่แล้วจะเอา
    ตัวไม่รอดจะบอกให้

    • คนเกิดปีกุน

    วันอาทิตย์ มีวาสนาบารมีสูง ตั้งตัวได้ไว มีบริวารมาก เป็นผู้นำของคนหมู่มาก
    แต่ทำคุณใครไม่ขึ้น ควรแขวนพระทางโชคลาภ เช่น พระสังกัจจายน์ พระสีวลี

    วันจันทร์ ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำ หากินไม่ฝืดเคือง แต่ต้องทำงานหนัก ทำงาน
    เกี่ยวกับเครื่องจักรกล การเปิดอู่ซ่อมรถถูกโฉลกดี ควรแขวนพระที่มีพระพุทธรูป
    คู่กับพระพิฆเนศ หรือแขวนพระพิฆเนศองค์เดียวก็ได้

    วันอังคาร เป็นคนมีผู้อุปถัมภ์ค้ำชู รับราชการจะได้ดีเพราะเจ้านายเป็นคนชอบ
    ขันอาสาเจ้านาย ทำอะไรทำจริง ให้แขวนพระที่มีพระอัครสาวกซ้ายขวาจะถูกโฉลกดี

    วันพุธ ทำงานอะไรก็ต้องพบอุปสรรค ไม่มากก็น้อย พองานตั้งหลักได้แล้วก็ถูกเขี่ย
    เหมือนรื้อนั่งร้าน จึงควรระมัดระวังเรื่องการถูกหักหลังไว้ ให้แขวนพระสะดุ้ง
    กลับ เพื่อเสริมโฉลกของตัวเองให้ดีขึ้น

    วันพฤหัสบดี เกิดที่นี่ไปได้ดีถิ่นอื่น จะต้องเดินทางไกลเพื่อหาเลี้ยงชีพ ยิ่ง
    ข้ามจังหวัดยิ่งดี ทำมาค้าขายนายหน้าแลกเปลี่ยนที่ดินดี เป็นครูก็ดี แต่ไม่ถูก
    โฉลกกับงานขายประกันชีวิตให้แขวนพระปางลีลาเป็นหลัก

    วันศุกร์ มีชีวิตที่ต้องวนเวียนอยู่กับคดีความ แต่ก็เอาตัวรอดได้ทุกครั้ง จะทำ
    กิจการใด ควรระวังเรื่องกฎหมายให้มาก ให้แขวนพระไพรีพินาศ เป็นดีที่สุด

    วันเสาร์ เป็นคนกล้าได้กล้าเสีย เป็นเซียนพนันมือเติบ เป็นลูกพี่ที่มีลูกน้อง
    บริวารมาก จะเดือดร้อนเพราะลูกน้องผู้ใกล้ชิดเสมอ ให้แขวนพระที่เกี่ยวกับการ
    ปกครองหมู่มาก ซึ่งควรจะเป็นพระที่ทางกระทรวงมหาดไทยหรือกรมตำรวจจัดสร้างจะถูก
    โฉลกดีนัก

    ที่มา :
     
  5. พ่อเลี้ยง2

    พ่อเลี้ยง2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    294
    ค่าพลัง:
    +838
    ผมรบกวนคุณwasabiทีไรก็ได้ดู ได้เห็นพระ ได้ความรู้ทุกที ขอบคุณจริงๆ
    วันนี้ผมนำเอาพระสมเด็จที่เคยบอกว่าเป็นเนื้อไข่มุกแต่ไม่รู้คุณwasabiจะมีความเห็นอย่างไรผมอยากฟังความคิดเห็นครับ(ผมแนบเอาพระสมเด็จที่ครั้งก่อนให้ดูแล้วเทียบมา2องค์เผื่อว่าเป็นประโยชน์ในการดูตำหนิพิมพ์ )
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC_0521.JPG
      DSC_0521.JPG
      ขนาดไฟล์:
      3.4 MB
      เปิดดู:
      658
    • DSC_0522.JPG
      DSC_0522.JPG
      ขนาดไฟล์:
      3.1 MB
      เปิดดู:
      715
    • DSC_0523.JPG
      DSC_0523.JPG
      ขนาดไฟล์:
      3 MB
      เปิดดู:
      674
  6. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG]
    ตอบคุณ ขุมไทยครับ....

    ถ้าพิจารณาพิมพ์ของพระทั้ง 2 องค์แล้วศิลปะการแกะพิมพ์จะคล้ายกันมากอาจทำให้คิดว่าเป็นช่างคนเดียวกันแกะพิมพ์ก็เป็นได้ครับ....

    แต่ถ้าจะถามว่าพิมพ์ที่เห็นนี้น่าจะใช่ช่างสิบหมู่แกะพิมพ์หรือไม่...?
    ถ้าจะให้ผมตอบแบบเข้าทรง...ทำนองเชิญอาจารย์ช่างสิบหมู่ (หลวงวิจาร+หลวงวิจิตร) มาเข้าร่างแล้ววิจารฝีมือการแกะแล้วหละก็...พิมพ์พระทั้ง 2 องค์นี้คงจะต้องโดนผมสวดยับทีเดียวครับ...หุหุหุ

    เริ่มจากการแกะพิมพ์ช่วงแขนซ้ายและขวาไม่ได้สัดส่วนแขนขวาของพระเล็กมากเหมือนพิมพ์เส้นด้าย....
    ส่วนแขนซ้ายของพระกลับหนาใหญ่เหมือนพิมพ์เส้นลวด...

    ฐานอาสนะเหมือนพิมพ์เส้นลวด....แต่ฐานกระดานกลับใหญ่เหมือนพิมพ์ใหญ่พระประธาน...
    ตกลงพิมพ์นี้จะให้เรียกว่าพิมพ์เส้นลวด หรือพิมพ์เส้นด้ายดี ? หรือจะเรียกว่าพิมพ์ใหญ่ดี....??

    ถ้าผมเป็นอาจารย์ช่างสิบหมู่ผมคงจะเขกกระโหลกคนแกะพิมพ์แน่ครับว่าแกะยังงัยถึงทำให้บัญญัติศัพท์เรียกพิมพ์พระได้ยากขนาดนี้....555+

    ฐานกระดานใหญ่ข้างเล็กข้าง...ประทานโทษนะขอรับ สายตาเอียงหรือว่า...ชุ่....เนี่ย หุหุหุ

    นอกจากจะทำให้ครูช่างตำหนิฝีมือการแกะพิมพ์แล้ว....ยังสร้างความงุน งง ให้กับเจ้าประคุณสมเด็จ และหลวงปู่คำท่านอีก....
    เพราะหลวงปู่คำท่านเคยบอกไว้ครับว่า...

    "พระของเจ้าประคุณสมเด็จโตนั้นท่านมีชื่อพิมพ์เป็นเอกลักษณ์ตรงตามพิมพ์ของท่านเองไม่จำเป็นต้องไปบัญญัติศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก..."

    อีกจุดที่น่าสงสัยก็คือ พระทั้ง 2 องค์นี้เจตนาทำคราบให้แลดูเหมือนว่าจะเป็นพระกรุบางขุนพรหมครับ....
    สีน้ำตาลที่ด้านหลังพระทั้ง 2 องค์ปรากฎเหมือนกันพอดีและที่สำคัญคราบดังกล่าวเข้าใจเลอะซะด้วย....

    นั่นก็คือ เลอะด้านหลังหนักกว่าด้านหน้า...ถ้าจะเลอะหน้าก็เลอะอย่าให้โดนองค์พระเดี๋ยวจะแลดูไม่สวย....(เจตนาเลือกที่เลอะไปไหมครับ)

    พิจารณาเนื้อยังไม่ใช่ปูนเปลือกหอยที่เก่าถึงยุคนะครับ...(ผมไม่แน่ใจว่าจะใช่ปูนเปลือกหอยครับ)
    มวลสารถ้ามองเท่าที่เห็นเพราะภาพขยายใหญ่มากไม่ได้....ก็แทบไม่เห็นเลยครับ...
    ผงเกสรไม่พบ....ผงดำไม่ปรากฎ...ผงพุทธคุณหายไป....การยุบตัวของผิวเนื้อไปไหนเอ่ย ?

    สรุป องค์นี้ดีมากครับเก็บไว้เป็นองค์ครูได้เลยครับ....คราวหลังถ้าเจอผิวเนื้อแบบนี้อีกจะได้ไม่เสียตังส์ไปเช่ามาครับ....อิอิ (แต่ถ้าได้มาฟรีก็ไม่ต้องคิดมากครับ...แต่ถ้าเสียตังส์เช่าต้องคิดให้หนักหน่อยครับ...หุหุ)

    -----------------------------------------------------------------
    ปล. ผมต้องขอชมคุณขุมไทยในความกล้าหาญที่กล้านำพระมาให้เพื่อนๆ ได้ชมเป็นวิทยาทาน...และเปิดโอกาสให้เพื่อนๆได้ร่วมวิจารด้วยครับ...

    หากมีสำนวนใดแทงใจดำบ้างก็อย่าโกรธกันนะครับ....เพราะเจ็บปวดวันนี้วันหน้าเราจะได้ไม่เจ็บปวดซ้ำงัยครับ...
     
  7. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    พระปิดตาของคุณวาซาบิสวยดีจริงๆ ครับ....เสียดายที่ผมดูไม่ค่อยเป็นครับ....
    ไม่อาจตอบได้เช่นกันครับว่าดีหรือไม่ดี....แต่ถ้าคุณวาซาบิจะยกให้ผมฟรีๆ + ขนมไหว้พระจันทร์ผมก็ยินดีรับนะครับ 5555+

    [​IMG]

    สำหรับพระของคุณ bikarn องค์นี้นั้น...
    ทีแรกผมกะว่าจะเข้านอนและ....
    แต่พอได้ยล ก็ทำให้อดใจไม่ได้คงต้องวิภาคให้คุณ bikarn ซักหน่อยไม่งั้นคงนอน....ตาไม่หลับแน่ครับ 555+

    ก่อนอื่นต้องขอออกตัวก่อนนะครับว่าคำวินิจฉัยผมมิใช่คำตัดสินนะครับ....ผมอาจจะมองผิดก็ได้.....
    อย่างองค์นี้นั้นถ้าให้ผมมองพิมพ์ ผมก็จะตอบแบบเดียวกับคุณวาซาบิซังครับว่า "ผิดพิมพ์มาตรฐานสากล" ไม่ผ่าน ISO84000

    ไม่ว่าจะเป็นเกศที่โย้เกินจะรับไหว....หรือใบหน้าที่ยาวเหมือนเจเจตริน....
    เพียงแค่ 2 ข้อก็อาจจะถูกตีว่าผิดพิมพ์ได้แล้วครับ...

    แต่พอมาพิจารณาเนื้อพระแล้วกลับพบว่า....
    ผิวเนื้อพระเป็นปูนเปลือกหอยเผาละเอียด...ปูนเปลือกหอยที่ฝังดินในกรุมานานจะเกิดการคืนตัว หรือเปลี่ยนสภาพอย่างที่เห็นในองค์นี้แหละครับ....

    ที่ด้านหน้าของพระบริเวณบ่าด้านขวาของพระไปจนจรดเส้นซุ้มผ่าหวายปรากฎเม็ดของน้ำมันตั่งอิ๋วผุดขึ้นเหมือนไข่ปลา....สวยงามมากครับ

    ที่อกพระมีเม็ดกลมๆ เป็นหลุม...ทำให้แลดูเหมือนเนื้อปูนที่เกิดฟองอากาศ....
    เท่าที่ผมเคยเห็นมานั้นในพระสมเด็จนั้นผงพุทธคุณจะผุดขึ้นจากเนื้อและแฟบลงได้เองครับ....หลุมดังกล่าวอาจจะเป็นร่องรอยของผงพุทธคุณที่ยุบหรือหลุดตัวออกไปแล้วก็เป็นได้ครับ

    ส่วนด้านหลังองค์พระนั้น....รอยบิ่นน่าประทับใจมากครับเนื้อเก่าเหลืองทั้งนอกและใน....มีรอยกระดานปรากฎบางๆ เป็นธรรมชาติมากครับ...คราบน้ำมันตั่งอิ๋วผุดบนผิวผสมกับดินกรุเกิดเป็นคราบกระเบนหาชมได้ยากมากครับ....

    พิจารณามวลสารผงดำมีแม้จะน้อย....ผงพุทธคุณในเนื้อพระมีดูยากนิดนึง...

    สาเหตุที่องค์นี้เกศโย้อาจจะเกิดจาก...
    ขณะพิมพ์เสร็จใหม่ๆ มือคนกดพิมพ์อาจจะไปโดนเกศเข้าทำให้เกศโย้ก็เป็นได้ครับ.....

    สรุป พิมพ์นี้น่าจะเป็นพิมพ์เจดีย์ กรุบางขุนพรหมครับ....(ถ้าคุณ bikarn ไม่ชอบจะยกให้ผมก็ได้นะครับ....อิอิ)
     
  8. utumporn89

    utumporn89 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2009
    โพสต์:
    924
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,981
    สวยงาม ครับ เเวะมาชม :cool::cool::cool::cool:
     
  9. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    สาธุครับ....ห่มจีวรให้พระท่านได้เร็วมากครับ.....เยี่ยมจริงๆ ครับ

    อ้อ...อย่าลืมปฏิบัติบูชาในทาน ศีล ภาวนา และหมั่นสวดมนต์ (ชินบัญชร) นึกถึงผู้สร้างพระพิมพ์ (สมเด็จโต) ด้วยนะครับ.....

    เมื่อเราได้พระดีแล้วก็ต้องหมั่น คิดดี พูดดี ทำดี นะครับแล้วพระท่านจะดีตอบ....สำหรับคืนนี้ขอให้ทุกท่านเจริญในธรรมครับ... /\
     
  10. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    รบกวนคุณวาซาบิช่วยดูพระปิดตาให้ผมบ้างสิครับ.....
    ผมเองก็ดูไม่เป็นครับไม่ทราบว่าเป็นพระปิดตาวัดไหน....แต่คิดว่าไม่น่าจะใช่ลพ.แก้วครับ...ความเก่าคงจะไม่ถึงยุค (กลัวว่าจะปลอมอยู่เหมือนกันครับ หุหุ) รบกวนด้วยครับ....อิอิ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Image1.jpg
      Image1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.6 KB
      เปิดดู:
      6,135
    • Image2.jpg
      Image2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.9 KB
      เปิดดู:
      330
  11. bikarn

    bikarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,766
    ค่าพลัง:
    +1,524
    ไม่ให้ครับคุณ xlmen ครับ ฮ่า ฮ่า

    ทั้งกุฎิ แท้องค์เดียวนี่แหละครับ

    ขอเปลี่ยนเป็นอย่างอื่นแล้วกันเช่นพาไปอาบน้ำ หรือเข้าสปา อย่างนี้น่าลุ้นครับ

    (deejai)(deejai)(deejai)(deejai)

    ขอบคุณมากมายครับ
     
  12. HAMMERHEAD

    HAMMERHEAD เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 เมษายน 2010
    โพสต์:
    162
    ค่าพลัง:
    +842
    พิมพ์ปรกโพธ์มาอีกองค์นะจ๊ะ ผมดูแล้วเนื้อสวยดี ตรงตามตำราอยู่ แต่ไม่รู้ว่าจะถูกหรือไม่ พิมพ์แบบนี้ รบกวนท่านอาจารย์วิเคารห์ให้ด้วยน๊ะจ๊ะ ว่าถึงยุคท่านหรือไม่ ?
    กราบขอบพระคุณล่วงหน้าจ๊ะ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Pro-F.jpg
      Pro-F.jpg
      ขนาดไฟล์:
      78.5 KB
      เปิดดู:
      466
    • Pro-Z1.jpg
      Pro-Z1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      47.4 KB
      เปิดดู:
      359
    • Pro-Z2.jpg
      Pro-Z2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      170.7 KB
      เปิดดู:
      229
    • Pro-Z3.jpg
      Pro-Z3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      55 KB
      เปิดดู:
      231
  13. อังคาร99

    อังคาร99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 เมษายน 2010
    โพสต์:
    628
    ค่าพลัง:
    +1,178
    มาแว้วครับ แต่มากับซุ้มกอ พิมพ์ขนมเปี๊ยะ
    เหมือนเดิมครับ ลองให้เพื่อนพี่ชายดู บอกว่า ผิดพิมพ์ เก๊เก่า ไม่มีแร่ดอกมะขาม ผมก็น้อมรับ เพราะยังไม่ได้ศึกษาจริงจังเลย แต่พึ่งจะได้มา 2-3 อาทิตย์นี้เอง เลยไปถ่ายภาพ
    มาเว้าถามคุณ wasabi san และคุณ xlmen เพื่อศึกษาหาความรู้ต่อ ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    พระผิวลักษณะนี้ เป็นพระที่ปลอมมากในช่วง 30 ปีก่อน แต่ทรงพิมพ์กับผิวพระจะไม่ได้อย่างนี้ เท่าที่ผมได้มาจากคนในกรมศิลป์ ท่านน่าจะได้มาตอนทำงานท่านทำงานเกี่นวกับนาฏศิลป์ และะท่านก็ดูพระไม่เป็น ในส่วนตัวผมคิดว่า น่าจะออกที่วัดพระแก้ว(พระสมเด็จกรมท่า กรุวังหน้า) เนื่องจากในประวัติเคยอ้างถึงพระวัดพระแก้วว่ามีเนื้อสีขาว บ้างออกสีขาวมุกอมเหลือง บางองค์พระพักตร์มีหน้ามีตา

    ส่วนประวัติที่หาได้ลองอ่านดู

    ประวัติและความเป็นมาของสมเด็จกรุวังหน้า และกรุวังหลวง


    <style></style> <style>@font-face { font-family: "Wingdings"; }@font-face { font-family: "Angsana New"; }@font-face { font-family: "Tahoma"; }@font-face { }p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal { margin: 0cm 0cm 0.0001pt; font-size: 12pt; font-family: "Times New Roman"; }a:link, span.MsoHyperlink { color: blue; text-decoration: underline; }a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed { color: purple; text-decoration: underline; }p.normal, li.normal, div.normal { margin-right: 0cm; margin-left: 0cm; font-size: 12pt; font-family: Tahoma; }div.Section1 { page: Section1; }ol { margin-bottom: 0cm; }ul { margin-bottom: 0cm; }</style> <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
    วัดพระแก้ววังหน้า

    วัดพระแก้ววังหน้า วัดนี้ดูเหมือนจะถูกลืมไปแล้วเพราะไม่ใคร่จะมีใครสนใจ ผู้ที่รู้จัก วัดนี้เห็นจะมีไม่มากนัก คนทั่วไปคิดว่าวัดที่อยู่ในกรุงเทพฯนั้น เห็นมีแต่วัดพระศรีรัตนศาสดารามใน ( วัดพระแก้ววังหลวง ) เท่านั้น ส่วนวังหน้า และวัดในวังหน้าไม่ใคร่จะมีใครสนใจ เพราะ สภาพของวังหน้าเองก็เกือบจะไม่มีร่องรอยของความเป็นวังเหลืออยู่ มีแต่โรงเรียน มหาวิทยาลัยและสถานที่ราชการ วัดพระแก้ววังหน้าหรือวัดบวรสถานสุทธาวาส มีประวัติความเป็นมาและ มีศิลปกรรม ที่น่าสนใจหลายอย่าง แต่ศิลปกรรมปัจจุบันนี้มีอยู่เพียงพระอุโบสถเท่านั้น ซึ่งมิได้ใช้ ประโยชน์ทางศาสนพิธีแต่อย่างใด ส่วนบริเวณวัดหรือรอบๆโบสถ์ ก็มีแต่ตึกของ วิทยาลัยนาฏศิลป์ ถึงแม้พระอุโบสถจะใหญ่โตสูงเด่นอย่างไร ก็ไม่ใคร่จะโดดเด่นให้เป็น จุดสนใจได้เท่าใดนัก
    ประวัติความเป็นมาของวังหน้า
    ก่อนที่จะกล่าวถึงวัดพระแก้ววังหน้า หรือวัดบวรสถานสุทธาวาส ขอย้อนไปถึงวังหน้าเสียก่อน เพื่อเป็น การปูพื้นฐานไปสู่วัดพระแก้ววังหน้า โดยจะตัดทอนเรียบเรียงจากพระราชนิพนธ์เรื่อง "ตำนานวังหน้า" ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ วังหน้านี้แต่เดิมเรียกกัน อย่างเป็นทางการว่า "พระราชวังบวรสถานมงคล" แต่ชาวบ้านหรือคนทั่วไป มักเรียกกันว่า "วังหน้า" เพราะเป็นวังที่ประทับ ของ พระมหาอุปราชซึ่งเรียกกันว่า "ฝ่ายหน้า" เลยเรียกที่ประทับของพระมหาอุปราชว่า วังฝ่ายหน้าและวังหน้า วังหน้า หรือพระราชวัง บวรสถานมงคล ของกรุงรัตนโกสินทร์นี้ เริ่มสร้างขึ้นพร้อมกับพระราชวังหลวง หรือพระบรมมหาราชวัง เมื่อปีขาล พ.ศ.๒๓๒๕ โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเลือกเอาที่สองแปลง ของ กรุงเทพฯคือแปลงหนึ่งอยู่ระหว่างวัดโพธิ์กับวัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) เป็นที่สร้างวังหลวง ส่วนที่อีกแปลงหนึ่งอยู่เหนือวัดสลักขึ้นไป จนถึงปากคลองคูเมืองด้านเหนือ (บริเวณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิพิธภุณฑ์สถานแห่งชาติ วิทยาลัยนาฏศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลป และโรงละครแห่งชาติ) เป็นที่สร้างพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า เพื่อให้เป็น ที่ประทับของพระอนุชาธิราชคือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ซึ่งเป็นพระมหาอุปราช พระราชวังหน้านี้เมื่อแรกสร้างก็เป็นเพียงเครื่องไม้มุงหลังคาจาก เพื่อให้ทันพิธี ปราบดาภิเษก ต่อมาภายหลังจึงได้ปลูกสร้างอาคารต่างๆเป็นการถาวร โดยเริ่มจากการ สร้างปราสาทกลางสระ เหมือนอย่างพระที่นั่ง บรรยงก์รัตนาสน์ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่เกิดเหตุขบภอ้ายบัณฑิตสองคนเสียก่อนเลยไม่ได้สร้าง แต่ต่อมา ก็ได้สร้างพระราช มณเทียรเป็นที่ประทับ สร้างพระวิมานสามหลังเรียงกันตามแบบอย่างของ กรุงศรีอยุธยา ร.ศ.๒๓๓๐ ได้สร้างพระที่นั่งสุทธาสวรรย์ (หรือพระที่นั่งพุทไธศวรรย์) ขึ้นเพื่อ ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ ซึ่งอัญเชิญมาจากเชียงใหม่ ฝาผนังเขียนรูปเทพชุมนุม และเรื่องปฐมสมโพธิเป็นพุทธบูชา สถานที่ต่างๆในพระราชวังบวรหรือวังหน้า นอกจาก จะมีพระราชมณเฑียรแล้ว คงมีสิ่งอื่นเช่นเดียวกับวังหลวง คือ โรงช้าง โรงม้า ศาลาลูกขุน คลังเป็นต้น เพราะแต่เดิมนั้นบริเวณวังหน้ากว้างขวางมาก เฉพาะด้านทิศตะวันออกไปจดถนน ราชดำเนิน ด้านเหนือจดคลองคูเมือง ด้านตะวันตกจดแม่น้ำ เจ้าพระยา ด้านใต้จดวัด มหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์กล่าวกันว่าสิ่งก่อสร้างต่างๆในวังหน้าในอดีตทำอย่าง ปราณีตบรรจง เพราะกรมพระราชวังบวรฯตั้งพระราชหฤทัยว่าถ้าได้ครอบครองราชสมบัติ จะประทับอยู่ที่วังหน้าตามแบบพระเจ้าบรมโกศไม่ไปประทับวังหลวง อย่างไรก็ตามสิ่งก่อสร้างที่สร้างในครั้งรัชกาลที่ ๑ หรือ สมัยกรมพระราชวังบวร มหาสุรสิงหนาทนั้น สร้างด้วยไม้จึงหักพังและรื้อถอนสร้างใหม่เสียเป็นส่วนมาก จนไม่ เห็นเค้าโครงในปัจจุบัน นอกจากพระที่นั่งสุทธาสวรรย์หรือพระที่นั่งพุทไธศวรรย์เท่านั้น ที่ยังคงฝีมือสมัยรัชกาลที่ ๑ อยู่จนทุกวันนี้
    เมื่อขึ้นรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดฯให้สถาปนา สมเด็จพระอนุชาธิราช พระบัณฑูรย์น้อยเจ้าฟ้ากรมหลวงเสนานุรักษ์เป็น พระมหา อุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคลไปประทับที่วังหน้า หลังจากวังหน้าว่างอยู่ ๗ ปี นับแต่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลมหาสุรสิงหนาทสวรรคต เมื่อกรมพระราชวัง บวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จไปประทับวังหน้า ก็มิได้สร้างอะไรเพิ่มเติมมากนัก เพียงแต่ แก้ไขซ่อมแซมของเก่าบางอย่าง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับวัดพระแก้ววังหน้า ในเวลาต่อมา สิ่งหนึ่งคือที่บริเวณวังหน้าชั้นนอกด้านทิศเหนือตรงที่ตั้ง "วัดบวรสถาน สุทธาวาส" หรือ"วัดพระแก้ววังหน้า" นี้ มีวัดเก่าอยู่วัดหนึ่งชื่อวัดหลวงชีแต่คงไม่มีหลวงชีอยู่กุฏิชำรุดทรุดโทรม จึงโปรดฯให้รื้อกุฏิหลวงชีเสียหมดทำเป็นสวนเลี้ยงกระต่าย กรมพระราชวังบวร มหาเสนานุรักษ์ดำรงพระยศพระมหาอุปราชอยู่ ๘ ปี ก็เสด็จ สวรรคตที่พระที่นั่ง วายุสถานอมเรศร์ ในวังหน้า เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๐ ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ วังหน้าว่างมาอีก ๗ ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงสถาปนา กรมหมื่นศักดิ์พลเสพย์เป็นกรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพย์ ได้ทรงปรับปรุงซ่อมแซม สิ่งก่อสร้างต่างๆขึ้นใหม่หลายอย่าง ที่สำคัญคือทรงซ่อม พระที่นั่งสุทธาสวรรย์แลัวเปลี่ยนนามเรียก "พระที่นั่งพุทไธศวรรย์" มาจนทุกวันนี้
    วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ววังหลวง) วัดสำคัญที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์
    วัด พระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระแก้ว นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕แล้วเสร็จในปีพ.ศ.๒๓๒๗
    เป็นวัดที่สร้างขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระศรีสรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดนี้อยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ทางทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่กรุงที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มาประดิษฐาน ณ ที่นี้ วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการสถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัดสำคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก ๕๐ ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมา มุ่งอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอันเป็นมรดกชิ้นเอกของชาติ ให้คงความงามและรักษาคุณค่าของช่างศิลปไทยไว้อย่างดีที่สุด เพื่อให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้อยู่คู่กับกรุงรัตนโกสินทร์ตลอดไป
    สมเด็จกรุวังหน้านี้ แรกเริ่มเดิมทีนั้นได้มีการจัดทำวัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า ) ที่เรียกกันทั่วไปว่า “พระสมเด็จกรมท่า และพระสมเด็จวังหน้า” ผู้ริเริ่มในการสร้างคือเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) (กรมท่าในรัชกาลที่ ๔) เจ้าพระยาภาณุวงษ์มหาโกษาธิบดี ( เจ้าคุณกรมท่าในรัชกาลที่ ๕) และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญสถานมงคล (วังหน้าในรัชกาลที่ ๕) สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี พระอุตรเถระ ( หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ) หลวงพ่อทัด ( สมเด็จพระพุฒาจารย์ ) หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน หลวงปู่คำ วัดอัมรินทราราม หลวงปู่จาด วัดภาณุรังสี และพระเกจิอาจารย์ที่ประพฤติดีปฏิบัติชอบทั้งย่านฝั่งธนบุรี และวัดต่างๆในระแวกนั้นอีกหลายรูป โดยได้รวบรวมช่างสิบหมู่ที่สุดยอดในทางฝีมือ การช่างอันวิจิตร (ประณีตศิลป์) โดยรูปแบบต่างๆนั้นในฝีมือของช่างแต่ละคนได้ ทำเป็นพิมพ์พุทธปฏิมา ( องค์แทนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ) ในรูปแบบปรางค์ต่าง ทั้งพิมพ์พระประจำวัน และอริยาบทของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี และอีกมากมายตามจินตนาการของช่างนั้นๆ
    โดยพระสมเด็จ กรุวัดบวรสถานสุทธาวาส(วัดพระแก้ววังหน้า) และกรุวัดพระศรีรัตนศาสดาราม(วัดพระแก้ว)นั้นตามประวัติการสืบค้นนั้นแบ่งการสร้างออกเป็นหลายช่วงระยะเวลาคร่าวๆดังนี้
    ๑.สำหรับในปีพ.ศ.๒๔๐๘ นี้แรกเริ่มเดิมทีก็ไม่ศัทธาเท่าใดนักเกรงว่าจะเป็นเจตนาสร้างความเชื่อถือขึ้น ต่อ มาได้วิเคราะห์ทางนามโดยผู้เชี่ยวชาญปรากฎว่าเป็นพระพิมพ์ซึ่งแกะแม่แบบโดย พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวปลุกเสกที่พระราชวังหน้าโดยเจ้าพระคุณ สมเด็จฯในการนี้ได้อาราธนาบรมครูโลกอุดรปรมาจารย์แห่งพระราชวังหน้าซึ่งเป็น อทิสมานกาย คือกายที่มองไม่เห็นถ้าไม่แสดงอภินิหารมาเป็นองค์ประธาน

    ๒.ในปี ๒๔๑๑ นั้นจัดว่าเป็นพระพิมพ์ไม่เป็นทางการ บางส่วนที่ปะปนอยู่มีการจารึกปี พ.ศ. ที่สร้าง เช่น พ.ศ.๒๔๐๘ ย่อมเป็นพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ พ.ศ ๒๔๑๑ เป็นพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕ เพราะแม่แบบที่เตรียมไว้ แต่สร้างพระพิมพ์ไม่ทันพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จสวรค์คต ในปีพ.ศ.๒๔๑๑และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเสวยราชสมบัติในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ ซึ่งเป็นปีเดียวกันนี้เองไม่ประวัติว่าสร้างพระพิมพ์ปัญจสิริแจก
    พระวังหน้าโดยแรกเริ่มมีการจัดสร้างจากพระบัณฑูรย์ของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (ท่านเป็นพระราชโอรสองค์ต้นของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า) โดยเริ่มมีการสร้างและออกแบบขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมัยของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าคุณกรมท่าในสมัยรัชกาลที่ ๔ รวมทั้งแม่พิมพ์ของพระสมเด็จวัดระฆัง และใช้ผงวิเศษของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ในคราวนั้นได้มอบให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และประชาชนโดยทั่วไปไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการบรรจุกรุที่ใด เจ้าพระคุณสมเด็จฯพุทธาภิเษก พระเทพโลกอุดรเป็นองค์ประธานในการพุทธาภิเษกโดยอทิสสมานกาย ภายในวัดบวรสถานสุทธาวาส(วัดพระแก้ววังหน้า)

    ๓. สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๑๒ – ๒๔๑๕ จวบจนเจ้าพระคุณสมเด็จฯได้สิ้นชีพิตักษัย เจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญสถานมงคล จึงได้ร่วมกันสร้างพระพิมพ์สมเด็จขึ้น และบางพิมพ์ได้ใช้แม่พิมพ์ของพระสมเด็จวัดระฆัง และช่างสิบหมู่ได้แกะแม่พิมพ์ขึ้นมาใหม่ บางส่วนได้ผสมผสานกับพิมพ์นิยมของวัดระฆัง และใช้ผงวิเศษของเจ้าพระคุณสมเด็จฯเพื่อเป็นสิริมหามงคลเนื่องในการเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ซึ่งในคราวนั้นได้มอบถวายแด่พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ที่เหลือได้บรรจุในสุวรรณเจดีย์ ฐานชุกชีองค์พระประธาน และพระพิมพ์อีกส่วนหนึ่งซึ่งได้เก็บไว้เก็บไว้บนเพดานพระอุโบสถวัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า ) เพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนาต่อไปในภายภาคหน้า สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี เป็นองค์ประธานในการพุทธาภิเษก คณะสงฆ์ประกอบด้วยหลวงพ่อทัด (สมเด็จพระพุฒาจารย์) หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน หลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ หลวงปู่จาด วัดภาณุรังสี และพระเกจิอาจารย์ที่ประพฤติดีปฏิบัติชอบในยุคนั้นอีกหลายรูปร่วมนั่งปรกด้วย ณ วัดบวรสถานสุทธาวาส (วัดพระแก้ววังหน้า)

    ๔. ได้มีการจัดสร้างเรื่อยมาจนในปี พ.ศ. ๒๔๒๕ สร้างพระสมเด็จเพื่อเป็นมหามงคลการฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และบูรณะวัดวาอารามต่างๆหลายแห่งสำหรับวัดพระศรีรัตนศาสดารามก็ได้อยู่ในจำนวนนี้ด้วยและยังมีการก่อสร้างเพิ่มเติมเป็นบางส่วน พระพิมพ์ซึ่งเก็บรวบรวมไว้บนเพดานพระที่นั่งได้ถูกลำเลียงเข้าไปบรรจุกรุบนเพดานพระอุโบสถ ฐานชุกชีพระ ระเบียง หลังองค์ครุฑ สุวรรณเจดีย์ย่อไม่สิบสอง ซึ่งตอนนี้เองเป็นที่ทราบกันดีว่าเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) นั้นได้สิ้นชีพิตักษัยได้นานถึง ๑๐ ปีแล้วข้าราชการรุ่นเก่าก็ปลดเกษียณกันไป ข้าราชการรุ่นใหม่ก็เข้ามาทุกกรม ทุกกระทรวง ผู้ที่ยังไม่มีโอกาสได้รับการแจกพระพิมพ์สมเด็จก็มีอยู่เป็นจำนวนมาก จึงพร้อมใจกันทำเรื่องราวร้องเรียน เจ้าพระยาภานุวงศ์โกษาธิบดีขอให้ทำการแจกพระพิมพ์ที่ทันเจ้าประคุณสมเด็จฯ ปลุกเสกปลุกเสกอีกทั้งวรรณสีขาวตามความนิยมทั้วไปในขณะนั้น ก็มีคำนิยามว่า “พระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า” เกิดขึ้น อีกครั้งหนึ่งหลังจากพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าในรัชกาลที่ ๔ เริ่มหายไปเนื่องจากสร้างขึ้นจำนวนน้อยปรากฏตามหลักฐานว่าพระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าที่ได้รับแจกในสมัยนั้น ไม่มีพิมพ์ปัญจสิริ และพิมพ์สีของธาตุวิเศษห้าประการจะหาดูก็ทั้งยากมีแต่ชื่อล่ำลือกัน
    ๕. จนมาถึง พ.ศ. ๒๔๒๘ กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญทิวงคตด้วยโรควักกะพิการ(ไต) และมี พระราชกฤษฏีกายุบตำแหน่งอุปราชวังหน้า โอนช่างสิบหมู่แห่งพระราชวังหน้าไปรวมกับช่างสิบหมู่วังหลวง คำว่าช่างสิบหมู่แห่งพระราชวังหน้าต้องสลายตัวไปตามปริยาย และยังมีการสร้างพระพิมพ์ต่อเนื่องกันเรื่อยมา
    ๖. ในปี พ.ศ. ๒๔๒๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุได้ ๔๐ พรรษา ได้ทรงมีพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ทางพระราชวังหลวงได้จัดสร้างพระพิมพ์ขึ้นที่เป็นพระพิมพ์บุทองใบใหญ่ก็มี ที่ประดับอัญมณีก็มีด้านหลังจะปรากฏพระสาทิสลักษณ์พระมัสสุ (หนวด) งามจงเข้าใจเถิดว่า ปีพ.ศ. ก็ยืนยันแล้วว่าทรงมีพระชนมมายุ ซึ่งได้บ่งบอกว่าพิมพ์พระที่มีลักษณะนั้นว่าไม่ทันเจ้าประคุณสมเด็จฯ สำหรับเหรียญที่สร้างในครั้งนั้นได้มีการสั่งสร้างที่ประเทศอิตาลี และยังมีการสร้างรูปพระโพธิสัตว์กวนอิมเพื่อแจกเป็นที่ละลึกสำหรับชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกด้วย ได้แก่ชาวจีนย่านสำเพ็งเป็นส่วนใหญ่
    ๗. ในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ได้มีการเสด็จพระราชกุศลโปรดเกล้าให้หล่อพระพุทธชินราชจำลองให้เป็นประธาน ณวัดเบญจมบพิตร และได้มีการจัดสร้างพระพิมพ์พุทธชินราชขึ้นซึ่งเป็นวรรณะปัญจสิริ และวรรณะอื่นๆเป็นที่ระลึกอีกด้วย
    ๘. ในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ ทรงเปิดพระบรมรูปทรงม้าได้มีการจัดสร้างพระพิมพ์พระบรมรูปทรงม้าแจกเป็นที่ระลึก ซึ่งนับได้ว่าเป็นการสร้างพระพิมพ์รุ่นสุดท้ายในสมัยรัชกาลที่ ๕
    ๙. เข้าสู่รัชสมัยในรัชกาลที่ ๖ ได้มีการจัดสร้างพระพิมพ์สืบทอดมาจากพระคณาจารย์ที่ทรงคุณวุฒิ เช่นพระพิมพ์ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ที่เป็นเนื้ออิฐก็มี เป็นเนื้อปัญจสิริก็มี พระหลวงพ่อเงินวัดบางคลานก็มีล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือช่างหลวงทั้งสิ้นโดยหลวงพ่อเงินสร้างที่กรุงเทพแล้วนำไปแจกที่พิจิตร ไม่ใช่สร้างที่พิจิตรแล้วมาแจกที่กรุงเทพฯ โปรดจงเข้าใจมา ณที่นี้
    ๑๐. ครั้นในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เกิดมหาสงครามโลกครั้งที่ ๑ ประเทศไทยส่งทหารอาสาสมัครไปช่วยฝ่ายพันธมิตร พระคณาจารย์ต่างๆได้จัดสร้างพระพิมพ์ถวายหลายวัด เช่นวัดจันทร์สโมสร วัดประชาระบือธรรม วัดอินทรวิหาร ส่วนที่เป็นพิมพ์พระนาคปรกมีคำว่า “สุโขวิเวโก” และทางวัดเทพศิรินทราวาส นำมาเป็นแม่แบให้เจ้าคุณนรฯอธิษฐานจิตก็เป็นยุคสงครามโลกครั้งที่ ๑ นั่นแหละ พระที่เหลือจาการแจกทหารอาสาสมัครในครั้งนี้ได้นำเข้าไปบรรจุในสุวรรณเจดีย์ คือพระเจดีย์ทององค์ใหญ่ปิดเปิดได้ ก็หลอยมีส่วนทะลักออกมาด้วย
    จะขอกล่าวให้ได้รับความรู้เพิ่มเติมว่าการพุทธาภิเษกพระพุทธรูป หรือพระเครื่องซึ่งเป็นวัตถุมงคลนั้น มงคลที่ถูกบรรจุในวัตถุมงคลเรียกว่า “อิทธิคุณ” อิทธิคุณ คือ พระคาถาในทางไสยศาสตร์ หรือไสยเวททั้งสองด้านคือขาวและดำ ส่วนคำว่าพุทธคุณ คือ คำกล่าวพรรณนาคุณของพระพุทธเจ้า หรือการกล่าวถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า
    ส่วนในเรื่องของแบบพิมพ์นั้น มีมากมายหลายพิมพ์ทั้งเป็นพิมพ์ดั้งเดิมหรือพิมพ์นิยมของพระสมเด็จวัดระฆัง และที่แกะแบบพิมพ์ขึ้นมาใหม่ โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าอยู่หัว พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ เจ้ากรมช่างสิบหมู่ และฝีมือช่างสิบหมู่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีความวิจิตรบรรจง มีความลงตัวทั้งรูปแบบและรูปทรงสวยงามเป็นอย่างยิ่ง โดยแกะจากไม้มะเกลือ หินลับมีด หินอ่อน ปูน และโลหะ (สันนิษฐานว่ามีมากกว่าหนึ่งร้อยพิมพ์) สมเด็จวัดพระแก้ว หรือพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าปัญจสิรินี้มีมากมายหลายสิบพิมพ์ เช่น พิมพ์ใหญ่ 3 ชั้น แบบสมเด็จฯ, พิมพ์ ทรงเจดีย์, พิมพ์สังฆาฏิ, พิมพ์ฐานแซม, พิมพ์ฐานคู่, พิมพ์ปรกโพ, พิมพ์ไชโย, พิมพ์พระพรหมรังสี, พิมพ์พระแก้วมรกต, พิมพ์นาคปรก, พิมพ์สมาธิเรือนแก้วซุ้มรัศมี, พิมพ์ซุ้มกอ ,พิมพ์ชฏาพรม พิมพ์เกศบัวตูม พิมพ์เศียรบาตร, พิมพ์อกร่องหูยาน, พิมพ์อรหัง, พิมพ์โบราณ เช่น พระรอดลำพูน พระลีลาเม็ดขนุน พระซุ้มกอ พระนางพญา พระผงสุพรรณ พระปิดตา พระสังกัจจายน์ และพิมพ์พิเศษอื่นๆ อีกมากมาย ฯลฯ มีทั้งแตกลายงาและไม่แตกลายงา
    ส่วนมวลสารก็คัดสรรจากหลายประเทศ เช่น จีน พม่า และประเทศในแถบยุโรป ถือเป็นสุดยอดแห่งมวลสาร ในด้านการย่อยสลายมวลสารต่างๆนั้นค่อนข้างที่จะมีความทันสมัยมากกว่ายุคแรกๆ แต่การบดมวลสารนั้นยังใส่ครกตำตามเดิมแต่ก่อนกาล จึงได้มวลสารที่มีความละเอียดสม่ำเสมอ และได้จำนวนมาก ระยะเวลาในการตำนั้น ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ส่วนจำนวนการสร้างที่ยังคงเป็นที่ถกเถียงอันเนื่องด้วยไม่ได้มีการจดบันทึก ไว้เป็นหลักฐาน คงเป็นการสันนิษฐานด้วยหลักเหตุผลมากกว่าซึ่งประมาณว่าจำนวน ๘๔,๐๐๐ องค์ เป็นประถม (เท่ากับจำนวนพระธรรมขันธ์ อันเป็นที่ยึดถือแห่งจำนวนการสร้างพระของสมเด็จพระพุฒาจารย์ ฯ และเป็นที่นิยมเลื่อมใสศรัทธราแก่พุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน)

    พุทธศิลป์ของพระสมเด็จวัดพระแก้ว คือศิลปะโบราณในแต่ละยุคที่ช่างสิบหมู่ (ช่างแกะพิมพ์) นำมาเป็นต้นแบบในการแกะพิมพ์
    ๑. สมัยเชียงแสน
    ๒. สมัยสุโขทัย
    ๓. สมัยอู่ทอง
    ๔. อยุธยา
    ๕. รัตนโกสินทร์ตอนต้น
    พุทธศิลป์ที่เป็นความหมายในองค์พระพิมพ์สมเด็จวัดพระแก้ว
    ๑. รูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า หมายถึง แผ่นดินที่ทรงพระอริยสัจจ์
    ๒. วงโค้งในรูปสี่เหลี่ยม หมายถึง อวิชาที่คลุมพิภพ
    ๓. รูปสามเหลี่ยมในวงโค้ง หมายถึง พระรัตนตรัย
    ๔. รูปพระนั่งขัดสมาธิบนบัลลังก์ หมายถึง พระพุทธเจ้าปางตรัสรู้ พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ณ โพธิบัลลังก์
    ๕. ฐานสามชั้น หมายถึง พระไตรปิฎก
    ๖. ฐานเจ็ดชั้น หมายถึง อปนิหานิยมธรรม
    ๗. ฐานเก้าชั้น หมายถึง มรรคแปด นิพพานหนึ่ง

    มวลสารต่างๆที่เป็นส่วนผสมหลักของพระพิมพ์สกุลนี้
    ๑. ปูนที่เกิดจากการย่อยสลายหินด้วยวิธีการบดจากเขาในเมืองอันฮุย มณฑลเสฉวน ประเทศจีน (ปูนเพชร ปูนที่ใช้ทำเครื่องถ้วยชามกังไสของจีน หรือถ้วยชามเบญจรงค์ของไทย)
    ๒. เศษหินอ่อนนำมาสลายลงในเนื้อพระ หินอ่อนนี้จารึกด้วยคาถาพญาธรรมิกราชอานิสงส์ในทางป้องกันรักษา อหิวาตกโรค จารึกทิ้งไว้ในสระน้ำวัดระฆังฯ วัดหงษ์รัตนารามและวัดอินทร์วิหาร
    ๓. พระธาตุพระอรหันต์
    ๔. ผงวิเศษนั้นได้ขอร้องทางวัดระฆัง ระยะเวลา ๑๗ เดือนส่วนใหญ่เป็นพระเณรในวัดเป็นผู้ลงทั้งสิ้นและระดมผงตามวัดต่างๆในเขตกรุงเทพฯ และธนบุรีหรือจังหวัดใกล้เคียง เช่นผงมูลกัจจายน์ ผงสนธิ ผงวิภัท ผงอาขยาด ซึ่งหาได้ง่ายในสมัยนั้นรวบรวมให้ได้มากที่สุด
    ๕. ข้าวสุก
    ๖. ผงทองนพคุณ บางสะพานใหญ่
    ๗. กล้วยน้ำไทย
    ๘. น้ำตาลทรายแดง หรือน้ำผึ้ง
    ๙. น้ำมันทังส์ ( มีเฉพาะบางกลุ่ม )
    ๑๐. เกศรดอกไม้ ๑๐๘
    ๑๑. เปลือกเมล็ดนุ่น
    ๑๒. น้ำมันงาเสก

    ยางรัก
    รักนั้นเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่เกิดจากยางในตัวของมัน ไม่ใช่รักที่ใช้ดอก และปลูกตามบ้านทั่วไป จึงมีชื่อเรียกว่า “ต้นรักน้ำเกลี้ยง” คำว่ารักน้ำเกลี้ยงจึงมีความหมายว่า เป็นรักที่ใช้ยางไม่ใช่รักสีแดงอย่างที่เข้าใจกัน การกรีดยางรักนั้นใช้กรรมวิธีกรีดเช่นเดียวกับการกรีดยางพาราเมื่ออายุได้ ๕ ปี จนถึง ๒๕ปี หมดยางและต้องทำการโค่นทิ้ง ยางรักต้นน้ำเกลี้ยงนี้มีลักษณะสีขาว และมีพิษ เมื่อได้ยางจากต้นรักมาได้พอควรแล้วนำมาเคี่ยวโดยผสมใบตองแห้งเผาไฟบดละเอียดจนสุด ยางรักจะเกิดสีดำเรียกว่า “รักสมุก” สำหรับผู้ที่แพ้นั้นจะมีอาการคันเป็นผื่นปวมคล้ายลมพิษ ฉนั้นคนที่แพ้รักนั้นจะไม่สามรถทำในอาชีพนี้ได้ และเมื่อได้รักสีดำแล้วนำไปบรรจุลงปี๊บปิดฝาให้สนิทถ้ากระทบอากาศผิวหน้า ชั้นบนของยางรักจะแห้งตัวเร็วจับตัวแข็ง ชั้นบนของยางรักนั้นค่อนข้างที่จะใสและมันยางรักจัดเป็นเกรดต่างๆ เกรดเลวที่สุดสีของยางรักจะออกด้านค่อนข้างมีเขียวกลิ่นไม่หอมแต่เหม็น เรียกกันว่า รักขี้ลิง ส่วนที่ตกตะกอนนั้นจะมีลักษณะค่อนข้างหยาบส่วนใหญ่ใช้ทางรองพื้นหากนำมาทา องค์พระพิมพ์แล้วนั้นสีของรักจะแลไม่เป็นมันและก็อาจจะถูกผู้เชี่ยวชาญนอก ตำราตะโกนว่าพระปลอมก็เคยเกิดขึ้นมาแล้วกล่าวกันว่าเมื่อสมัยโบราณนั้น บานประตูพระอุโบสถได้มีการลงรักถึง ๑๐๐ ครั้งเลยทีเดียว เมื่อลงรักหนาจนยางรัดจับตัวกันสนิทแน่นการกะเทาะของรักจะไม่ปรากฏ ประเทศจีนนั้นได้มีการทำรักสมุก และรักชาด รักชาด คือรักสีแดง โดยการนำยางรักมาเคี่ยวกับชาดจอแส และส่งมาขายยังประเทศไทย ทางเรามีรักสมุกสีดำเป็นพื้อนเดิมอยู่ ก็นำรักแดง หรือรักชาดมาผสมกับรักสมุกตามส่วนที่ต้องการ คือจะเห็นเป็นสีดำอมแดงคล้ายผลลูกว้าสุก สีตากุ้งสีแดงเข้มโดยกะปริมาณสูตรในการผสมผสานตามความชำนาญก็ว่าด้วยประการ ฉะนี้ หากมีใครถามว่ารักน้ำเกลี้ยงคืออะไร ก็ตอบเค้าไปว่ามันก็คือ ดับเบิ้ลรักซิครับ คือคำซ้อนคำนั่นเองเพียงแต่รียกให้ถูกต้องก็เพียงเท่านั้น
    กล่าวกันว่าในสมัยสมเด็จเจ้าคุณกรมท่านั้นได้มีการใช้รักสีน้ำเงินด้วยซึ่งเป็นรักที่พบแถบพม่า และรักสีเหลือง รักสีเขียว ซึ่งเกิดจากการนำรักสีน้ำเงิน มาผสมกับรักสีเหลืองก็มักพบแต่มีเพียงน้อยเต็มที รักที่สั่งจากประเทศจีน เรียกกันว่ารักไอ้มุ่ย ยิ่งเป็นพระพิมพ์ที่แตกลายงาด้วยแล้วนั้น เมื่อยางรักได้แทรกซึมเข้าลงไปบนผิวองค์พระ และใช้แว่นส่องดูก็เจริญตาดีมิใช่น้อย แต่ปัญจุบันนิยมใช้สีน้ำมันแทนการลงรัก ด้วยเหตุผลนี้เองจึงเริ่มจางหายไปในที่สุด การลงรักที่แย่ที่สุด ได้แก่การลงรักในพระพิมพ์ของสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าสมารถบ่งชี้ได้ว่า มิใช่ฝีมือช่างสิบหมู่แห่งพระราชวังหน้าจะมีอยู่บ้างก็เป็นส่วนน้อย คือมีการลงรักพิสดารเป็นเอกเทศส่วนใหญ่จะเป็นรักชาด และรักสมุกแต่ไม่ผสมเข้ากัน ใช้ลงด้วยชาดสีแดงก่อนแล้วทาทับด้วยรักสมุกเป็นรักสองชั้น คือถือว่ารักชาด หรือรักแดงต้องโฉลกในทางโชคลาภ ส่วนรักสมุกนั้นคุณปู่ประถมท่านก็หมายความไม่ออก สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า มีการลงรักด้านหน้า ด้านหลัง และขอบข้างทั้งสี่ด้านเป็นการลงรักชาดทับด้วยรักดำเป็นส่วนใหญ่ เป็นการลงรักอย่างรวบรัดที่สุด ป้ายเอาพอสังเขปก็มี ส่วนสมเด็จวัดระฆังนั้นไม่มีการลงรักด้านหลังนั่นอาจเป็นเพราะคนละสกุลช่างกันก็เป็นได้ การลงรักเช่นนี้คงเกี่ยวกับอาถรรพ์ที่ว่า ต่อหน้าก็รัก ลับหลังก็รัก คนข้างเคียงต่างพากันรักเรา นั่นเอง

    หลักการพิจารณาพระพิมพ์สมเด็จสกุลนี้
    ๑. ทรงพิมพ์มีทั้งที่เป็นพิมพ์นิยม (พิมพ์ของพระสมเด็จวัดระฆัง วัดใหม่อมตรส (วัดบางขุนพรหม) วัดไชโยวรวิหาร พิมพ์นางพญา พิมพ์ผงสุพรรณ พิมพ์ซุ้มกอ) และทรงพิมพ์อื่นๆ พิมพ์รูปเหมือนต่างๆ ล้วนมีความหมายสื่อให้ทราบถึงพุทธศิลป์ ความดี ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ ศาสนา และความศักดิ์สิทธิ์ พิมพ์คมชัดสมส่วน สวยงาม (ส่วนใหญ่เป็นพิมพ์แบบถอดยกสองชิ้นประกบกัน)

    ๒. เนื้อขององค์พระทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง ละเอียด แห้งแต่หนึกนุ่ม มันวาว แข็งแกร่ง มีน้ำหนัก ไม่ละลายในน้ำ น้ำส้มสายชู และแกร่งคงทน วรรณะองค์พระจะเป็นสีขาว ขาวอมเหลือง ขาวอมเทา สีน้ำตาลทั้งอ่อน และเข้ม รวมถึงสีที่เป็นมงคลต่างๆ และโดยรวมเรียกขานกันในนาม “พระพิมพ์ปัญจสิริ”

    ๓. การพิจารณา รัก ชาด ผิวด้านหน้าและด้านหลังขององค์พระจะมีทั้งลงชาดรักและไม่ลงชาดรัก การลงชาดรักสีแดงทาทับด้วยรักสมุกสีดำ หรือรักสีน้ำเงินจากประเทศพม่า ชาดรักพบว่ามีความเก่ามากให้สังเกตว่าสีของรักเหมือนสีของตากุ้ง น้ำเงินจางๆแต่คล้ำ ส่วนใหญ่จะร่อนและลอกออกไป การลอกจะเป็นหย่อมๆไม่ทั่วทั้งองค์พระ มากบ้างน้อยบ้างตามกาลเวลา และมีลักษณะเป็นไปโดยธรรมชาติ

    ๔. การพิจารณา “สีสิริมงคล” ที่นำมาผสมลงในเนื้อพระเป็นสีต่างๆ อันประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง สีชมพู สีเขียว สีส้ม สีฟ้า สีม่วง และพระเบญจสิริ อันประกอบด้วย สีขาว เหลือง ดำ เขียว แดง และใสดังแก้วผลึก สีแต่ละสีจะมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวเอง กล่าวคือมันเป็นเงางาม สีสดใส ไม่ละลายน้ำ น้ำมัน ทนต่อสภาวะธรรมชาติได้ดี ไม่หลุดลอกไม่ติดมือ และที่สำคัญสีต่างๆจะไม่สามารถนำมาผสมกันให้เป็นสีใหม่ได้ดังเช่นแม่สี (ให้พิจารณาจากพระสมเด็จเบญจสิริในองค์พระจะประกอบไปด้วยสีห้าสีเป็นอย่าง น้อยและแต่ละสีถึงแม้จะปะปนกันแต่จะไม่ผสมกรมกลืนกัน มีลักษณะของการเรียงตัวตามธรรมชาติอย่างเป็นเอกเทศ)

    ๕. การแตกลายงาขององค์พระจะมีสองประเภท คือ หนึ่งแตกลายงาแบบหยาบ ( แบบสังคโลก เหมือนชามสังคโลก ) สองการแตกลายงาแบบละเอียด ( เหมือนไข่นกปรอท ) ทั้งสองลักษณะร่องลอยการแตกตัวจะไม่ลึกถ้าดูเผินๆคล้ายไม่แยกจากกัน ต้องใช้กล้องส่องจึงจะเห็นชัด และขอให้จำเป็นหลักไว้ว่าการแตกลายงาขององค์พระไม่ได้เกิดจากการลงรัก ปิดทองล่องชาด แต่เกิดจากขั้นตอนของการตากผึ่ง และสภาพแวดล้อมของธรรมชาติในขณะนั้นเป็นสำคัญ พระสมเด็จที่ลงรักปิดทองล่องชาด พบว่าเมื่อลอกรัก ชาด ทองเหล่านั้นออกไม่ปรากฏลอยแตกลายงาเลยก็มาก

    ๖. ผงทองนพคุณ จะโรยไว้ทั้งด้านหน้า หลัง ไม่บ่งบอกถึงรูปแบบอาจมีมากบ้างน้อยบ้าง สันนิษฐานว่าเป็นไปโดยอัธยาศัยของผู้กดพิมพ์ และพบได้ในทุกพิมพ์

    ๗. ผงแร่รัตนชาติ (รัตนชาติ คือแร่ที่นำมาใช้ทำเป็นเครื่องประดับ) พบทั้งหมด ๑๒ สี คือ ม่วง คราม น้ำเงิน ฟ้า เขียว เหลือง น้ำตาล ส้ม แดง ชมพู ดำ และขาว ลักษณะจะเป็นมันวาวแลดูแกร่ง เก่า สัญฐานจะกลมหรือเหลี่ยม ให้สังเกตจะมนไม่มีคม ถูกนำมาย่อยเป็นเม็ดเล็กๆ ขนาดโดยประมาณ .๕ – ๓ มิลลิเมตร เป็นลักษณะของการผสมลงในเนื้อมวลสาร ถ้าหักองค์พระดูจะเห็นผงแร่รัตนชาติผสมอยู่เนื้อใน

    ๘. ด้านหลังขององค์พระมีทั้งเรียบ และไม่เรียบ พิจารณาให้ดีจะพบ เกาะแก่ง หลุมเล็กๆ รอยปูไต่ และรอยหนอนด้น เปรียบประดุจดั่งธรรมชาติปั้นแต่ง

    ๙. ลัญจกรและสัญลักษณ์ เช่น พญาครุฑ จักร ชฎา ช้าง เป็นต้น แต่จะมีเป็นส่วนน้อยเท่านั้น

    ๑๐. พิมพ์พระประธานมีลักษณะถูกต้องตามศิลปะโบราณ กล่าวคือ มีพระเนตร พระกรรณ พระนาสิก พระโอษฐ์ ปรากฏเด่นชัด พิมพ์ที่พบที่มีพุทธลักษณะคล้ายกับพิมพ์พระประธานได้แก่ พิมพ์ทรงเกศบัวตูม ส่วนพระพิมพ์อื่นๆ เช่น พิมพ์ประธาน (พิมพ์ใหญ่) พิมพ์ทรงเจดีย์ พิมพ์ทรงปรกโพ พิมพ์ทรงเกศบัวตูม พิมพ์ทรงฐานแซม พิมพ์ทรงฐานคู่ พิมพ์ทรงสังฆาฏิ พิมพ์ทรงอกครุฑเศียรบาตร (พระเจ้าไกเซอร์) พิมพ์ทรงฐานเส้นด้าย จะมีพุทธลักษณะ ขนาดเท่ากัน และใกล้เคียงกันกับพิมพ์ของพระสมเด็จวัดระฆัง บางขุนพรหม และวัดไชโย (พระพิมพ์นิยมในปัจจุบัน)

    ๑๑. การตัดขอบองค์พระ ส่วนใหญ่แล้วจะไม่ค่อยพบว่ามีการตัดขอบข้าง พบเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ลักษณะขอบด้านข้างจะเรียบ สวยงามตามแบบพิมพ์ (พิมพ์ต้นแบบเป็นลักษณะถอดยกเป็นบล็อกสองชิ้นประกบเข้าหากันเป็นส่วนใหญ่)
    ๑๒. คราบแป้งโรยพิมพ์ สืบค้นไม่พบหลักฐานแต่พบว่าในสมัยโบราณจะใช้น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันงาเป็นส่วนสำคัญในการทาพิมพ์เพราะเป็นน้ำมันที่ใสและลื่น ส่วนคราบขาวที่พบเห็นบริเวณผิวหน้าองค์พระนั้นเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ระหว่างน้ำมันที่ทาพิมพ์กับเนื้อของพระสมเด็จ (การล้างและทำความสะอาดจะทำให้ผิวของพระเสียหายได้)

    ๑๓. พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว ที่เรียกกันว่า “พระสมเด็จเจ้ากรมท่า” วรรณะองค์พระจะเป็นสีขาว ขาวอมเหลือง ขาวอมเทา สีน้ำตาลทั้งอ่อน และเข้ม และเข้มคล้ายกับเนื้อของพระสมเด็จวัดระฆัง และสมเด็จบางขุนพรหมแต่จะมีความละเอียดกว่า

    ๑๔. พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว ที่เรียกกันว่า “พระสมเด็จกรมท่าและวังหน้า” พ.ศ. ๒๔๑๒ และ พ.ศ.๒๔๒๕ วรรณะองค์พระจะเป็นสีขาว ขาวอมเหลือง ขาวอมเทา สีน้ำตาลทั้งอ่อน และเข้ม รวมถึงสีที่เป็นสิริมงคลต่างๆ และที่เรียกกันว่า ปัญจสิริ ดังที่กล่าวมาแล้ว
    สมเด็จปัญจสิริ ซึ่งคำว่าเบญจรงค์นั้นใช้เรียกกับถ้วยชาม โดยความหมายที่แท้จริงนั้นคำว่า ปัญจหรือเบญจะ หมายถึงห้าประการ สิริ หมายถึง ศรีหรือความดี รวมความแล้วหมายถึง ความดีห้าประการนั่นเอง ส่วน ลักษณะของ เบญจรงค์นั้นทางจีน เรียกว่า “อูไช่” โดยมีหลักการว่าธาตุสำคัญมีอยู่ 5 ธาตุ ด้วยกันคือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุทองหรือธาตุไม้ เมื่อนำมารวมกันเข้าถือว่าเป็นสิริมงคลล
    การจำแนกวรรณะพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า
    พระ พิมพ์สมเด็จวังหน้าที่สร้างขึ้นในสมัยแรกๆและทันเจ้าประคุณสมเด็จฯนั้นมี อยู่มากมายหลายวรรณด้วยกันต่อมาสมัยหลังก็มีการสืบทอดต่อกันมาก็ควรจะแยกได้ ตามความเข้าใจและความชำนาญก็ขอที่จะอธิบายพอเป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาซึ่ง จะลำดับให้เข้าใจ เมื่อเข้าใจดีแล้วก็จะเห็นได้ว่าวัตถุวิเศษอันทรงคุณค่ายิ่งนี้มิใช่“พระลิเก” ดังคนถ่อยถวายนามให้แก่ท่านโดยขาดความกตัญญูต่อผู่ที่มีพระคุณที่ซึ่งได้ล่วงลับไปแล้วนั้นอย่างสิ้นเชิง
    ๑.วรรณะสีแดงเข้ม จูชาอั้ง (คือชาดก้อนหรืชาดจอแส) เป็นสีประจำวันอาทิตย์ จัดเป็นธาตุไฟในกระบวนธาตุทั้งห้า คือธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลมหรือธาตุไม้ ธาตุไฟ ธาตุทองของจีน และมีความหมายของคำว่า “ ฮก ” ทรงบารมีเกริกไกร
    ๒.วรรณสีเหลืองหรดาร เป็นสีประจำวันจันทร์จัดแป็นธาตุดินในกระบวนธาตุทั้งห้า และมีความหมายของคำว่า “ ซิ่ว ” อายุวัฒนยืนนาน
    ๓.วรรณสีชมพู เป็นสีซึ่งประเทศจีนสั่งตรงจากประเทศยุโรป แล้วส่งมาประเทศไทยเป็นสีประจำวันอังคารไม่มีความหมายในกระบวนการธาตุทั้งห้า แต่อาจใช้เป็นสีของทับทิมส่งเสริมราศีของบุคคลก็อาจเป็นได้
    ๔.วรรณสีเขียวใบไม้ เป็นสีประจำวันพุธจัดเป็นธาตุไม้ในกระบวนการธาตุทั้งห้า ธาตุไม้ใช้แทนธาตุลมในเรื่องของสีธาตุเพราะลมไม่มีสี
    ๕.วรรณสีน้ำตาลไหม้ หรือสีช็อคโกเลต เกิดจากผงยาหลากหลาย คือผงยาวาสนา เป็นสีประจำวันพฤหัสบดีไม่มีความหมายในกระบวนการธาตุทั้งห้า แต่พิเศษก็คือเป็นหลังทิพย์ของบรมครูพระเทพโลกอุดรจากการตรวจสอบทางในที่นำมาเสริมก็เพื่อครบสีประจำวัน
    ๖.วรรณสีฟ้า เป็นสีประจำวันศุกร์ไม่มีความหมายในกระบวนการธาตุทั้งห้า
    ๗.วรรณสีดำ เป็นสีประจำวันเสาร์จัดเป็นธาตุน้ำในกระบวนการธาตุทั้งห้า ( กัวเซ็ก )
    ๘.วรรณสีขาวโรยผงทอง และผงขี้เหล็กไหล จัดเป็นธาตุทองในกระบวนการธาตุทั้งห้า และมีความหมายของคำว่า “ ลก ” บริบูรณ์ด้วยบริวาร และโภคทรัพย์ และเป็นเป็นวรรณชนิดเดียวที่จัดเป็นพระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า เป็นพิมพ์นิยมที่วิจิตรบรรจง บางพิมพ์บรรจงแกะโดยฝีมือพระหัตถ์ของ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าประดิษฐวรการ เจ้ากรมช่างสิบหมู่แห่งพระราชวังหน้า จะปรากฏพระเนตร พระนาสิก พระโอษฐ์ พระกรรณ น่ารักชัดเจน ประณีฝตซาบซึ้งตรึงใจ และอนุภาพอันสูงส่งจากพระราชพิธีหลวง
    ๙.วรรณสีเขียวครีม หรือสีเปลือกแตงโมเป็นสีเขียวเข้ม เป็นสีประจำวันพุธจัดเป็นธาตุสีของธาตุไม้ ในกระบวนการ ธาตุทั้งห้า เช่นเดียวกันกับวรรณที่ ๔
    ๑๑.วรรณสีน้ำเงินอ่อน แต่ไม่ใช่สีฟ้า
    ๑๒..วรรณสีฟ้าอมเขียว ( สีน้ำทะเลแลไกล )
    ๑๓.วรรณสีน้ำเงินเข้ม หรือสีขาบ ( สีกรมท่า )
    ๑๔.วรรณสีแดงหมากสุก เป็นสีของชาดหรคุณ จีนเรียกว่า “ กัวเซ็ก ” จัดเป็นธาตุไฟ ในกระบวนการธาตุทั้งห้า และมีความหมายของ คำว่า “ ฮก ” บารมีเกริกไกรใช้เป็นสีประจำวันพฤหัสบดีเป็นสีของวันอาทิตย์ และเป็นธาตุเดียวกัน
    ๑๕.วรรณสีแดงเลือดหมู ( ซิ่งซา ) คุ่กันกับจูซา เป็นสีของสนธยาฟ้าค่ำ
    ๑๖.วรรณสีเปลือกมังคุด พบน้อยเป็นสีแดงอมม่วง
    ๑๗.วรรณสีดอกบานเย็น หรือสีบัวโรยเป็นสีอ่อนเล็กน้อย
    ๑๘.วรรณสีโอโรส ใช้แทนสีชมพู เพราะสีชมพูนั้นพบน้อย
    ๑๙.วรรณสีเทา เป็นสีสำหรับผสมปั้นกาน้ำชา ทางจีนไม่นิยม สีนี้นิยมปั้นชาสีขาวกังไสลายครามตามใบสั่งของประเทศยุโรป
    ๒๐.วรรณปัญจสิริ ส่วนมากมักเรียกกันว่า สีเบญจรงค์ หมายถึงเครื่องห้าสี จีนเรียก “ อู่ไช้ ” คำว่า เบญจรงค์ ใช้เรียกกับถ้วยชาม คำว่า ปัญจ หรือเบญจะ หมายถึง ห้าประการ สิริ หมายถึง ศรี หรือความดี และความดีห้าประการ ได้แก่ความวิเศษของธาตุทั้งห้า พระพิมพ์วรรณนี้มิใช่ “พระลิเก ” แต่เป็น ฮก ลก ซิ่ว สุด ยอดความสิริมงคลก็ควรจะถวายนามว่า “พระปัญจสิริ”
    พระพิมพ์สมเด็จสกุลนี้เป็นของจริง ซึ่งกว้างขวางและพิสดารล้ำลึกมาก นับว่าเป็นโบราณวัตถุและมรดกไทยที่อายุกว่าร้อยปี และพระชุดนี้แทบทุกพิมพ์ส่วนใหญ่จะโรยผงตะไบทองคำการสร้างพระเครื่องในยุคโบราณนั้น ผู้สร้างต้องการสร้างเพื่อสืบศาสนาและเผยแพร่ศาสนาพุทธซึ่งการ สร้างพระนั้นถือว่าเป็นบุญกุศลแก่ผู้สร้างใหญ่หลวงนักยิ่งเจ้าคุณกรมท่าท่าน เป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในราชสำนัก และรับพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างเพื่อ “สืบศาสนาพุทธ” พระอาจารย์ทั่วประเทศและคนไทย ที่รู้ข่าวพากันมาช่วย ทั้งจัดหาวัตถุและกำลังแรงมาช่วยกันมืด ฟ้ามัวดิน ผงตะไบทองนั้นร้านทำทองต่างๆ ในย่านเยาวราช เจริญกรุงสะพานหัน บ้านหม้อ ฯลฯ จะนำผง ตะไบทองนั่งรถเจ๊ก (รถลาก) ใส่กระป๋องใส่ถังมาให้เป็นส่วน ผสมทุกเย็นและโดยเฉพาะท่านเจ้าคุณกรมท่าหรือเจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี ท่านได้นำอิฐ หิน สี ที่ใช้เป็นส่วนผสมทำถ้วย-ชาม “กังไส” บรรทุก ใส่ “เรือสำเภา” มาจากประเทศจีนนำมาเป็นส่วนผสมสร้าง
    พระเครื่องชุดสมเด็จปัญจสิริ จึงเป็นพระเครื่องที่สีสันสดใสและเนื้อแกร่งแปลกไปจากพระเครื่อง ทั่วๆ ไปในสมัยรัชกาลที่๕ เมื่อนำมาขัดเช็ดคราบกรุออกจะใสเหมือนใหม่เช่นถ้วยชามกระเบื้องต้องใช้แว่นส่องดูจึงจะเห็นได้ชัดว่าเป็น ของเก่าโบราณ ซึ่งมีทั้งคราบผงตะไบทองคำคราบกรุฝังอยู่ ในผิวเนื้อขององค์พระเห็นเด่นชัดแม่พิมพ์และจำนวนพระพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า มีประมาณ ๑๐๐ กว่าพิมพ์ เป็นพิมพ์ต่างๆ จาก ฝีมือของช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) และช่างราษฏร์อีกนับสิบๆ ช่วยกันแกะและกดแม่พิมพ์ เพื่อให้ได้พระเป็นจำนวนมากที่สุดไว้สืบศาสนาต่างฝ่ายต่างรับไปกลุ่มละหนึ่งธรรมขันธ์ (๘๔,๐๐๐องค์)เมื่อนำมารวมกันแล้วจึงได้พระเป็นจำนวนมากนับเป็นล้านๆองค์ ชีวิตบั้นปลายของเจ้าคุณกรมท่า ในปี พ.ศ.๒๔๒๘ ท่านได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีฯ เมื่อ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๔๒๘ เนื่องจากตรากตรำงานมามากสุขภาพทรุดโทรม ครั้งได้พักผ่อนบำรุงรักษาร่างกายเพียง ไม่นานร่างกายก็แข็งแรงและเนื่องจากท่านเป็นคนอยู่ว่างไม่ได้ร่างกายและสมอง เคยชินกับการทำงานท่านจึงได้ไปมาหาสู่กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งโบราณคดี ท่านมีวัยวุฒิสูงกว่าสมเด็จกรมพระยาดำรงฯ มีประสบการณ์และรอบรู้เกี่ยวกับเรื่องโบราณคดีไม่ว่าจะเป็นเรื่อง เกี่ยวกับโบราณสถาน เครื่องกังไส ลายคราม เบญจรงค์ ประกอบ ด้วยทั้ง ๒ ฝ่ายเป็นสกุลเก่าด้วยกัน ได้สนทนาติดต่อกันก่อนอายุ ๖๐ ปี ถึงอายุ ๘๐ ปี นับเป็นเวลายาวนานพอสมควรคล้าย กับเป็นยาอายุวัฒนะหล่อเลี้ยงจิตใจเป็นอย่างดีได้เล่าเรื่องโบราณคดีและ เรื่องราวเหตุการณ์บ้านเมืองให้ชนชั้นหลังได้ทราบ ความ เป็นมาซึ่งท่านมีความจดจำแม่นยำเป็นพิเศษ ในหนังสือเรื่องโบราณคดีของ สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ ได้อาศัยความรู้ของเจ้าคุณ กรมท่าส่วนหนึ่ง สมเด็จกรมพระยา-ดำรงฯ ทรงตรัสว่า“ในขณะที่ท่านเจ้าคุณกรมที่อายุ ๘๐ ปี นั้น ท่านยังความทรงจำแม่นยำฉันได้รับความรู้จากท่านเจ้าคุณหลายอย่าง”ท่าน เจ้าคุณกรมท่าถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๔๕๐ ศิริรวมอายุได้ ๘๔ ปี
    บทสรุปวิเคราห์
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ไม่ได้สร้างพระพิมพ์ เป็นเรื่องของผู้อื่นสร้างให้เสก
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->การเสกพระพิมพ์ของเจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นการเสกชนิดนั่งปรกในพิธีพุทธาภิเษกทุกครั้งไม่มีการเสกวันละ 3 เวลา
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระพิมพ์สมด็จมิได้มีส่วนผสมของผงวิเศษทางด้านเมตตาคงกระพัน แคล้วคลาด ล่องหน แปลงกาย ดำผุด ซึ่งค้านกับข้อเท็จจริงจนต้องมาตั้งทฤษีใหม่ว่า พระสมเด็จมีเพียงแต่ เมตตากับแคล้วคลาด
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ปูนที่ใช้สร้างพระพิมพ์สมเด็จ เป็นปูนที่ทำมาจากหิน เรียกว่า “ปูนเพชร” ขณะที่ยังไม่ทันแห้งตัว ถูกความร้อนของแสงอาทิตย์จะเกิดการแตกลายงา ปูนหอยเป็นซากเดรัจฉานบริสุทธิ์ไม่มีเทพสิง และไม่เกิดการแตกลายงาแบบดินหินที่ใช้ปั้นถ้วยชามสังคโลก กังใส
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ปูนที่ตายแล้วไม่มีการกาะตัว นำมาใช้สร้างพระพิมพ์ไม่ได้ นอกจากคลุกรัก
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ปูนที่แห้งตัวสนิทจะไม่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี การหดตัวของเนื้อพระจะเป็นแต่ตอนแรก ไม่ใช่ความนานของอายุพระ
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->การฉาบหน้าพระพิมพ์สมเด็จทำไม่ได้เป็นอันขาดนอกจากการทำคราบกรุปลอม
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->การแตกลายงาขององค์พระมิใช่เกิดจากรัก พระที่ลงรักแล้วไม่เกิดการแตกลายงาก็มีมาก
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->เนื้อในพระสมเด้จเมื่อแตกหักออกมาใหม่ๆ จะมีคล้ายสีชอลค์ หรือปูนพลาสเตอร์ ถ้าเนื้อข้างใน กับเนื้อข้างนอกเหมือนกันว่ากันเป็นของปลอม เปรียบดั่งโค่นต้นไม้นึ่งต้นอายุราวร้อยปีภายนอกคร่ำครึ เพียงตัดผ่าครึ่งแล้วแลดูเนื้อใน ตรงข้ามกันสิ้นเชิง
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->การแตกลายงาด้านหลังขององค์พระ ไม่ได้หมายความว่าเป็นของปลอมเพียงแต่พบน้อยทั้งนี้เนื่องจากพลิกหลังตาก
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->สมเด็จไม่จำเป็นจะต้องมีการแตกลายงาทุกองค์ พระที่ไม่มีการแตกลายงามักแห้งด้วยการผึ่งลมก่อนที่จะนำไปผึ่งแดด
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ที่แลเห็นคล้ายมีคราบแป้งส่วนมากจะเป็นพระที่แก่ปูนนั่นคือ ปฏิกิริยาระหว่างปูนกับน้ำมันทาพิมพ์พะร เนื้อน้ำมันจะไม่พบรอยคราบแป้ง ส่วนที่โรยแป้งในพิมพ์จริงๆก็มีล้างคราบแป้งออกเนื้อพระมักจะชำรุดเสียหายทุกองค์พยายามหลีกเลี่ยงพระพิมพ์ที่มีคราบแป้ง
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระพิมพ์ซึ่งผ่านการปลุกเสกจากเจ้าประคุณสมเด็จฯ มิได้มีแต่เฉพาะ ๓วัด คือวัดระฆังฯ วัดใหม่อมตรส และวัดไชโยวิหาร ( มิใช่วัดเกศไชโยดังที่กล่าวกัน ) พระสมเด็จปลอมส่วนมากมักจะมีเกิดขึ้นเฉพาะ ๓ วัดที่กล่าวนามนอกนั้นไม่ค่อยมีการปลอมพระเพราะคนส่วนใหญ่ไม่ค่อยนิยม
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระพิมพ์ที่มิได้มีพระราชาคณะเป็นประธานพิธีในการปลุกเสกไม่ควรเรียกพระสมเด็จ อย่าเห็นเพียงทรงพิมพ์สี่เหลี่ยม เพราะพระสมเด็จมีอยู่หลายรูปแบบ และพระราชาคณะนั้นต้องมีสมณศักดิ์ชั้นสมเด็จอีกด้วย นอกจากนั้นพระพิมพ์ที่องค์พระประมุขเป็นประธานการสร้างก็เรียกพระสมเด็จได้เพราะพระองค์ท่านเป็นที่สมเด็จโดยสมบูรณ์อยู่แล้ว เช่นพระพิมพ์สมเด็จจิตรลดาเป็นต้น
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->การตัดขอบพระสมเด็จจะต้องตัดจากด้านบนสู่ด้านล่าง และคนตัดขอบก็มิใช่เจ้าประคุณสมเด็จฯ หากการตัดทีการล้นขอบแสดงว่ามีการตัดขอบในขณะที่ผงยังไม่ทันห้งตัว แล้วปาดขึ้นเล็กน้อยจะแลเป็นพระขอบนูน แต่ถ้าตัดในขณะที่ผงแห้งตัวมากจะไม่มีลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้น และถ้าตัดห่างขอบก็จะกลายเป็นกรอบกระจก พระพิมพ์สมเด็จส่วนใหญ่มักมีกรอบสองชั้น และมักจะตัดตรงระดับรอยกรอบนี้ กล่าวเฉพาะสมเด็จวัดระฆังฯ และสมเด็จกรุวัดใหม่อมตรสซึ่งใช้แม่บบหินอ่อน
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->ให้พิจารณาสมเด็จโดยธรรมชาติไม่จำเป็นต้องวัดขนาดจุดโค๊ด เมื่อเราศึกษาไปนานๆจะทราบดีว่า การแกะแม่แบบ แต่ละแบบนั้นมีส่วนแตกต่างกันไปบ้างยิ่งเคร่งครัด หรือเล่นตาโน้ตจนเกินไปอาจเกิดการผิดพลาดได้เช่นกัน ในสมเด็จสกุลวังหน้า และวังหลวงนี้ มีผู้สร้างมากมาย แบบพิมพ์ธรรมดา ไปจนถึงแบบพิมพ์พิเศษ จนกล่าวชื่อพิมพ์แทบไม่ได้เพราะบางพิมพ์นั้นได้เหนือจินตนาการทางความคิดเราไปมาก หากเรายึดติดกับชื่อพิมพ์ก็ลำบากใจต่อผู้สร้างมิใช่น้อย เพราะว่าสิ่งที่เราคิดตั้งขึ้นมานั้นย่อมอาจไม่ตรง กับผู้ที่สร้างพระพิมพ์ก็คงเป็นได้ ดังนั้นเราควรสร้างจินตนาการไปตามเรื่องราวของทรงพิมพ์ เพื่อให้สมดั่งเจตนาของผู้สร้างอย่างแท้จริง
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระสมเด็จปัญจสิริ คือพระสมเด็จ “ฮก ลก ซิ่ว” ซึ่งเป็เอกลักษณ์แห่งธาตุวิเศษทั้งห้าประการ
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระที่มีราคาแทง พระที่ชนะการประกวด ไม่จำเป็นต้องเป้นของแท้เสมอไป
    <!--[if !supportLists]-->- <!--[endif]-->พระสมเด็จ และพระทั่วไปไม่มีพุทธคุณ ( พระมหากรุณาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระปัญญาธิคุณ ) มีได้เฉพาะ “อิทธิคุณ” เพราะเป็นเพียงอิทธิมงคลวัตถุ
    หลังจากที่ผมศึกษามานานปี ผมก็ได้ความรู้จากท่านอาจารย์ทั้งหลาย ที่มากด้วยประสบการณ์นี่แหละครับ ได้มาคอยเติมเต็มความรู้ให้กับผม ผมก็เลยเขียนเรื่องนี้ลง BLOGGER สำเร็จรูป ที่มีอยู่ในเวปไซด์ทั่วไป และใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด บางที่ผมต้องขออนุญาติ coppy บทความของ อ.จารย์หลายๆท่านเพื่อได้มารวบรวมไว้ใน ณ ที่นี้เพียงแห่งเดียว ผมจึงขออภัยไว้ ณที่นี้ด้วย เผื่อผู้ที่อยากทราบข้อมูลนั้น จะได้ศึกษาหากันได้ง่ายขึ้นและ มิได้หวังผลกำไรหรือประโยชน์ส่วนตนแต่อย่างใด เพียงแค่เผยแพร่ความรู้เพียงอย่างเดียวเท่านั้นถ้าอยากจะเข้าไปศึกษาหาความรู้เข้าไม่ยากครับ ง่ายๆครับเพียงเข้าไปใน...อินเตอร์เน็ต เข้า google แล้วพิมพ์คำว่า รวมสุดยอดสมเด็จวัดพระแก้ว แล้วท่านก็จะเจอข้อมูล และภาพพิมพ์สมเด็จกรุวังหน้าส่วน รายละเอียดต่างๆนั้น จะเรียงตามเดือนต่าง ลองคลิกเข้าไปดูนะครับ และที่ลงกระทู้ไว้ อีกมากมายหลายร้อยพิมพ์ซึ่งเป็นส่วนนึงเท่านั้น coppy แล้วเอาไปปริ้นเอาออกมาอ่านครับ เอาไปศึกษากันโดยไม่ต้องเสียตังค์ผมรู้ว่าเงินทองบางท่านนั้นหาได้ยากนัก สำหรับการที่จะไปซื้อหนังสือซักเล่มในราคาที่สูง การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในครั้งนี้ มีคนคลิกเข้าไปชมเป็น ๑๐๗, ๐๐๐ กว่าคนแล้วในขณะนี้ ผมรู้สึกดีใจเป็นอย่างยิ่ง ที่เป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่ความรู้ในครั้งนี้ บอกได้เลยว่ามีคนเป็นจำนวนไม่น้อยที่สนใจและมีไว้ในครอบครองเยอะพอสมควร แต่ไม่กล้าเปิดเผยตัวตนออกมา เพราะว่ากลัวจะถูกว่าเป็นพระเก๊ หลังจากเอกสารนี้ได้เผยแพร่ไปแล้ว ต่อจากนี้ไปจะมีคนสนใจกันมากขึ้น รู้มั๊ยครับว่าทำไมเราถึงจะเถียงเค้าได้ พูดออกไปดังๆเลยว่าเค้าเล่น อิทธิคุณ.... กันครับ
    ขอ ให้เก็บรักษาและบูชาให้ดีนะครับ สมเด็จกรุวังหน้าชุดที่ออกมานี้ ถ้ามีในครอบครองแล้วล่ะก็จะช่วยเสริมและป้องกันตัวเราและครอบครัวให้พ้นจากภัยอันตรายทั้งปวง ที่สำคัญต้องมีจิตที่นับถืออย่างจริงด้วย หมั่นการไหว้บูชา และที่ขาดมิได้ท่านก็ไม่ควรลืมผู้มีพระคุณของท่านทุกคนด้วยโดยเฉพาะบิดา และมารดา ของท่านเอง ถ้าเป็นไปได้ทำสมาธิบ้างก็จะดีมาก เมื่อท่านทำตามที่กล่าวมาขั้นต้นแล้วก็ลองสังเกตุชีวิตของตัวท่านดูก็แล้วกันนะครับ



    ขอขอบพระคุณ
    - คุณปู่ประถม อาจสาคร
    - คุณลุงเอกชัย อาจสาคร
    - คุณจำลอง มัลลิกะนาวิน
    - ขอระลึกถึง อาจารย์ ดีพร้อม ไชยวงค์เกียรติ
    - คุณอาทองปุย เอื้อเฟื้อภาพพระพิมพ์สมเด็จ
    - คุณอาโชคชัย เอื้อเฟื้อภาพพระพิมพ์สมเด็จ
    - พ.อ. ดำรง สุดใจทำ
    - อีกหลายท่านที่ไม่ทราบนาม
    - เพื่อนสมาชิก รวมสุดยอดสมเด็จวัดพระแก้วทุกคนที่ติดตาม

    *** เอกสารฉบับนี้มีไว้เพื่อแจกเท่านั้น*** ​
    ( ห้ามนำข้อมูลทำเป็นการค้าโดยเด็ดขาด เว้นแต่ทำเพื่อธรรมทานเพียงเท่านั้น โดยมิต้องขออนุญาติระวางโทษสูงสุด )
    โอมวังหลวง​

    ที่มา :รวมสุดยอดสมเด็จวัดพระแก้ว: ประวัติและความเป็นมาของสมเด็จกรุวังหน้า และ
     
  15. ทรงกลด999

    ทรงกลด999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,284
    ค่าพลัง:
    +1,510
    ขอบคุณพระเจ้าตาxlmen

    ขอส่งอัศวินฝาแฝดมาให้พิจารณาใหม่
     
  16. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    ขอบคุณที่มาให้กำลังใจครับคุณcocomoto

    พระองค์นี้ผิวไม่เรียบนัก หากได้คล้องแบบคนโบราณ ผิวน่าจะเงามันกว่านี้ ผมกำลังช่างใจว่าจะเอาพิมพ์นั่งยอง ของหลวงพ่อแก้ว วัดปากทะเลมาให้ชมดีไหม เพราะคนเพชรรุ่นเก่าเขาหวงมาก เพื่อนผมเป็นคนเมืองเพชร บังเอิญแก่เห็นของผม แก่บอกว่าเหมือนของปู่ที่จังหวัดเพชรบุรีเลย แต่พอมาวันนี้พิมพ์นี้มีบางคนตีเข้าหลวงพ่อปาน วัดบางกระสอบไปแล้ว ซึ่งพระหลวงพ่อแก้ว เนื้อจะออกน้ำตาลไหม้ คล้ายกะลา ชุบรักจีน ผิวพระที่ถูกน้ำรักจะออกแดงอมม่วง เนื้อแกร่งพอควร

    ผมว่าดูกันเลยดีกว่า เพราะอาจจะมีคนโพสต์มาขอดู ไม่ต้องการเสียเวลา ดูว่าเนื้อรักคล้ายกันขนาดไหน จะตีเข้าวัดบางกระสอบได้จริงหรือ

    ดูที่ใต้ผิวรัก วิเคราะห์รักจีนดูกันนะครับ จะได้ทักษะไปในตัว

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2010
  17. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    ไม่ค่อยกล้าวิเคราะห์ พิมพ์นี้เค้าปลอมกันมาก เท่าที่ดูเนื้อ น่าจะรุ่นหลัง เพราะเท่าที่ผมได้สัมผัสของผู้ใหญ่ เนื้อจะไม่เป็นแบบนี้ครับคุณxlmen
     
  18. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    พระองค์นี้เรียกพิมพ์ปรกโพธิ์สังฆฏิ ผมมองรายละเอียดไม่ชัดนัก ใจผมตีพิมพ์นี้เข้าวัดระฆังครับ รอคุณxlmen ฟันธงอีกที

    [​IMG]


    พระของผมยังไม่ไ้ด้ถ่ายภาพ แต่เอาพระของคนอื่นมาเทียบให้ดู


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Pro-F[1].jpg
      Pro-F[1].jpg
      ขนาดไฟล์:
      148.4 KB
      เปิดดู:
      4,529
    • P0134933-PIC2.jpg
      P0134933-PIC2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      128.1 KB
      เปิดดู:
      4,286
  19. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG]

    ผมว่าเนื้อยังไม่ถึงยุค แต่ทรงพิมพ์ใช้ได้ครับ เท่าที่คุยกัยคนสะสมพระสายกำแพง เค้าเล่าให้ฟังว่าปลอมกันหลายฝีมือมาก ปลอมกันมานานนับ 40-50 ปี เค้าเห็นจนกลัว แต่ก็ยังหาข้อยุติได้ หากแยกยุคของดินออก เอามาเทียบเคียงดูครับ

    [​IMG]
    เนื้อเดิมจากกรุ


    [​IMG]
    เนื้อที่ผ่านการใช้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG]

    องค์นี้พอดูจากทรงพิมพ์ ก็เข้าใจเลยว่าเป็นพระทางบางขุนพรหม จัดเป็นพิมพ์พระสมเด็จฐานแซม พิมพ์ที่3 แต่มวลสารองค์นี้ออกไปทางวัดระฆัง การยุบตัวอย่างนี้จัดว่าสวยตามธรรมชาติ แบบฉบับวัดระฆังครับ
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...