ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr><th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap"> 5.4 </td><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap">2010/06/24 04:08:37 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> 7.668 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> 91.956 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> 35.0 </td><td valign="top"> NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION</td></tr></tbody></table>
    10-degree Map Centered at 10°N,90°E

    Skip to earthquake lists [​IMG] [​IMG]
    [​IMG]
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr><th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap"> 6.1 </td><td valign="top" align="center" nowrap="nowrap">2010/06/24 05:32:32 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> -5.609 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> 151.086 </td><td valign="top" align="right" nowrap="nowrap"> 67.8 </td><td valign="top"> NEW BRITAIN REGION, PAPUA NEW GUINEA</td></tr></tbody></table>


    10-degree Map Centered at 5°S,150°E

    Skip to earthquake lists [​IMG] [​IMG]
    [​IMG]
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ลองดูพิกัดประเทศไทย

    บางทีเราจะดูพิกัด ว่าช่วงไหนที่แผ่นดินไหวอาจใกล้เคียงกับประเทศไทย

    ลองติดจูด 98E - 106E
    ละติจูด 5N - 21N



    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    :cool::cool::cool::cool:
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    นักวิชาการชี้ ไทยมีสิทธิ์เจอ แผ่นดินไหว เกิน6ริกเตอร์

    นักวิชาการชี้ ไทยมีสิทธิ์เจอ แผ่นดินไหว เกิน6ริกเตอร์


    หวั่นเป็นเมืองบาดาล กาญจนบุรีเสี่ยงสุด กทม.กทม. หากแผ่นดินไหวโดนเรียบ

    หลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลว่า เขื่อนหลายแห่งในประเทศไทยสร้างคร่อมรอยเลื่อนเปลือกโลก พร้อมกับมีการเปิดแผนที่หมู่บ้านที่เสี่ยงแผ่นดินไหว จำนวน 1,406 แห่งใน 22 จังหวัดที่น่าเป็นห่วง เรื่องนี้สร้างความตื่นตระหนก และสับสนให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก

    จากการสอบถามไปยังรศ.ดร.มนตรี ชูวงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญเรื่องแผ่นดินไหว และสึนามิกล่าวว่า อย่าตระหนกมากเกินไปพร้อมอธิบายว่า การสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ก็มักจะเลือกในบริเวณที่มีความสำคัญกับธรณีวิทยาทั้งนั้น แต่สิ่งที่น่าห่วงคือ ประเทศไทยกำลังมีรอยเลื่อน และพลังงานกระจายตัวอยู่มาก โดยเฉพาะจ.กาญจนบุรี, ด่านเจดีย์ 3 องค์ และรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์แต่หากมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นก็จะยังไม่เกิดผลกระทบกับ เขื่อนมากนักเพราะมีทีมที่ทำการประเมินอัตราเสี่ยงอยู่

    ” ถ้ามองลึกในระดับวิชาการจริงๆ การสร้างเขื่อนคร่อมรอยเลื่อนเปลือกโลกเป็นเรื่องธรรมดา เพราะมันต้องสัมพันธ์กับโครงสร้างทางธรณีวิทยา ต้องมีแม่น้ำสายหลักไหลผ่าน ซึ่งแม่น้ำสายหลักส่วนใหญ่มันก็จะพัฒนาการอยู่บนรอยเลื่อน มันถึงจะเป็นที่แม่น้ำจะสามารถนำพาน้ำมาเป็นอ่างเก็บน้ำได้ ไม่ว่าจะเป็นรอยเลื่อนเล็กหรือรอยเลื่อนใหญ่ มันมีความสัมพันธ์ไม่ต้องตกใจ”

    นอกจากนี้รศ.ดร.มนตรี ยัง อธิบายถึงกระแสข่าวที่ว่าพบรอยเลื่อนใหญ่แห่งใหม่อยู่ใต้กรุงเทพฯนั้นจริงๆ พบมานานมากแล้ว แต่รอยแยกดังกล่าว อยู่ลึก แล้วมีตะกอนดินไปปิดทับอยู่พอสมควร แต่ถ้าเกิดแผ่นดินไหวแล้วเชื่อว่าคนกรุงเทพฯ จะโดนกันหมด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงหลังจากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นมาก็คือ เรื่องสึนามิ ที่จะต้องเกิดขึ้นแน่นอน แต่อาจจะไม่ร้ายแรงเท่ากับปี 2547 แต่ถ้าเกิดขึ้นน่าจะสร้างความเสียหายให้กับคนไทยได้ไม่น้อย เนื่องจากหอเตือนภัยไม่พร้อมแน่นอน ยังไม่ทั่วถึง

    ด้าน รศ.ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญเรื่องแผ่นดินไหว กล่าวย้ำถึงพื้นที่อันตรายด้วย ว่า นอกจาก 8 จังหวัดภาคเหนือ และแถบตะวันตกแล้ว จ.กาญจนบุรีถือว่าเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่สุดในเมืองไทย แม้ว่าตามข้อมูลการวิจัยจะพบว่าในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยยังไม่มีแผ่นดินไหวมากกว่า 6 ริกเตอร์ก็ตามแต่จากการศึกษา ของเราที่ จ.กาญจนบุรี และ 8 จังหวัดทางภาคเหนือ โดยที่ จ.เชียงใหม่มีรอยเลื่อนหลายตัวที่มีศักยภาพทำให้แผ่นดินไหวมากกว่า 6 ริกเตอร์ ซึ่ง 6 ริกเตอร์ อาจทำให้บ้านที่สร้างไม่ดีก็จะพังทลายในพริบตา ถือว่าเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงมากๆ

    สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือวันนี้ประเทศไทยไม่พร้อมกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด เกินกว่า 7 ริกเตอร์แน่นอน ดังนั้นข้อมูลที่เผยแพร่ต้องกลั่นกรองให้ดีส่วนวิธีป้องกันเมื่อเกิดแผ่นดิน ไหวแรงๆ สิ่งที่ทำได้ก็คือคนที่อยู่ในอาคารใหญ่ห้ามวิ่งหนีแบบสะเปะสะปะให้วิ่งไปที่ มุมห้อง แล้วเอาโต๊ะ-เก้าอี้ที่แข็งแรงมาช่วยบังเอาไว้เป็นวิธีที่ดีที่สุด

    ด้านดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการมูลนิธิเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กล่าวว่า สถานทีที่น่าเป็นห่วงตอนนี้ก็คือ ภาคเหนือ และ จ.กาญจนบุรี โดยเฉพาะเขื่อนศรีนครินทร์ ประชาชนในพื้นที่ต้องคอยฟังข้อมูลเรื่องแผ่นดินไหวเอาไว้ตลอดเวลา

    ที่มา:นักวิชาการชี้ ไทยมีสิทธิ์เจอ แผ่นดินไหว เกิน6ริกเตอร์ - ข่าวทั่วไป
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    วันที่ควรระวังแผ่นดินไหวใหญ่ และ ซึนามิ แถบประเทศไทย

    8 กรกฎาคม 7-8 ริกเตอร์
    9 กันยายน 7-8 ริกเตอร์
    21 กันยายน 7-8 ริกเตอร์
    8 ตุลาคม 8-9 ริกเตอร์


    เป็นข้อมูลลับๆ มาจากคนลับๆ ฮ่าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
    :boo::boo::boo:

    แถบประเทศไทย ---> (อันนี้เดาเอา เพราะเค้าไม่ได้บอกว่าเกิดที่ไหน)

    รู้ไว้ใช่ว่า จิ้งจกทักยังต้องหยุดฟัง อิอิ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มิถุนายน 2010
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    HAARP วันนี้

    [​IMG]
     
  8. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง




    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center><TBODY><TR><TD>หลังมีข่าวคราว พบรอยเลื่อนแขนงพาดผ่านทิศใต้ของกรุงเทพมหานคร อ้อมมาทาง จ.สมุทรปราการ และเลยลึกไปถึง จ.ชลบุรี อีกแขนงหนึ่งไปทางองครักษ์ และ ท่าจีน ทำให้กรมทรัพยากรธรณีคงจะอยู่เฉยไม่ได้

    นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาให้ความเห็นเกี่ยวกับรอยเลื่อนที่พบใหม่นี้ น่าสนใจทีเดียว

    งบประมาณก็ไม่มาก แต่งานนี้ไม่เร่งศึกษาไม่ได้เสียแล้ว เพราะไม่มีใครให้คำตอบได้ด้วยว่า ยักษ์ใหญ่ที่หลับใหลจะพลิกตัว หรือ ขยับตัว หรือตื่นขึ้นมาเมื่อไหร่





    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ศ.ดร.ปริญญา นุตาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว กล่าวว่า ข้อมูลรอยเลื่อนใกล้กทม.นี้คณะ กรรม [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]การแผ่นดินไหวแห่งชาติ เคยทำเรื่องเสนอเข้าครม.ไปตั้งแต่ปี 2547 [/FONT]



    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]เพราะเห็นว่ายิ่งอยู่ใกล้กับกทม.ก็[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ควรต้องเร่งทำให้ชัดเจนเท่านั้น เพื่อจะรู้สถานะว่าต้องเฝ้าระวังอย่างไร เหมือนกับรอยเลื่อนมี [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พลัง 13 รอยที่ต้องศึกษาพฤติกรรมของมัน [/FONT]



    [​IMG]





    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อน เป็นลักษณะของรอยแตกหรือแนวแตกในหิน โดยหินทั้งสองฟากของรอยแตก [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]มีการเคลื่อนที่สัมพันธ์กัน และทิศทางการเคลื่อนที่ขนานไปกับระนาบของรอยเลื่อนนั้นๆ รอยเลื่อนเกิดจากกระบวนการที่ทำให้หินแตกและเลื่อน / เคลื่อนไหว [/FONT]



    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]เนื่องจากความเค้นในเนื้อหินที่เปลือกโลก การเลื่อนของรอยเลื่อนอาจเป็นไปได้ทุกทิศทางที่เป็นแนวเปราะบาง ระยะทางของการเลื่อนตัวอาจน้อยเป็นเซนติเมตร[/FONT]​



    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลตกอยู่ในความเสี่ยงแผ่น[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ดินไหว จาก 3 ปัจจัย ได้แก่ [/FONT][/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]-[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif] รอยเลื่อนนอกประเทศ เช่น รอยเลื่อนตะแกงในพม่า จุดที่ใกล้ที่สุดอยู่[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ห่างกรุงเทพฯ 400 กม.[/FONT]



    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]- รอยเลื่อนในประเทศที่อยู่ใกล้กรุงเทพฯ [/FONT]​




    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]
    - รอยเลื่อนใต้ดินที่เพิ่งพบเมื่อ
    [/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ไม่นานมานี้ และยังไม่มีข้อมูลการเคลื่อนตัวที่ชัดเจน ยังไม่สามารถประเมินความ[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]เสี่ยงได้[/FONT]





    [/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif][​IMG][/FONT]



    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]นายวรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากร[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ธรณี กล่าวถึงผลการ[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ขุดร่องสำรวจบริเวณ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี และ อ.ศรีสวัสดิ์ อ.ทองผาภูมิ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]จ.กาญจนบุรี รวม 6 จุด [/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พบว่าในอดีตเคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาแล้ว ความรุนแรงสูงสุด 7 ริกเตอร์ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]เมื่อ 7,000 ปีก่อน จนถึง 6.4 ริกเตอร์ เมื่อ 1,000 ปีก่อน [/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แสดงว่ารอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และรอยเลื่อน[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]เจดีย์สามองค์เป็นรอยเลื่อนที่มีพลังมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในบริเวณดังกล่าวได้อีกครั้ง [/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แต่ยังต้อง[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ศึกษาเพิ่มเติม เช่น หาอัตราความเร็วการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกเพื่อศึกษาความถี่การเกิด[/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]" รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และเจดีย์สามองค์เป็นรอยเลื่อนที่มีขนาดยาว สามารถทำให้เกิดแผ่น[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ดินไหวรุนแรงและยังอยู่บริเวณใกล้กรุงเทพฯ และจุดที่เป็นชุมชน รวมถึงมีเขื่อนขนาดใหญ่ตั้งอยู่ ซึ่งหากเกิด[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แผ่นดินไหวรุนแรงอาจเกิดความเสียหายได้มาก " [/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]นายปริญญา พุทธาภิบาล ประธานหลักสูตรธรณีศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ขณะนี้แนวโน้มการเกิด[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แผ่นดินไหวทั่วโลกจากปีละ 20,000 ครั้ง เป็น 30,000 ครั้ง โดยช่วง 4 เดือนของปีนี้ เกิดขึ้นแล้ว [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]11,000 ครั้ง [/FONT][/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]หากพิจารณาจากสถิติคาดว่าปีนี้อาจจะเกิดได้อีกนับหมื่นครั้ง [/FONT][/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]นอกจากนี้ ยังพบว่าก่อนเกิด[/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แผ่นดินไหวที่ทำให้เกิดสึนามิประมาณ 1 ปี มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นแถบภูมิภาคนี้ประมาณ 2 เท่าจากปกติ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]แต่ประเทศที่มีความเสี่ยงมากกว่าไทย คือ จีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย[/FONT][/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif] ​
    [/FONT]


    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif][​IMG][/FONT]




    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ภาพจาก [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]www.rmutphysics.com[/FONT]

    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]
    สำหรับรอยเลื่อน[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ในประเทศไทยที่มีพลังอยู่ มี 13 กลุ่ม ประกอบด้วย [/FONT]
    • รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ครอบคลุม จ.กาญจนบุรี และราชบุรี ซึ่งต่อถึงรอยเลื่อนสะแกง ในพม่า ความยาวของรอยเลื่อนช่วงที่อยู่ในประเทศไทยยาวกว่า 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนนี้มากมายหลายพันครั้ง
    [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]


    • รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ครอบคลุม จ.กาญจนบุรีและอุทัยธานี รอยเลื่อนนี้อยู่ทางด้านตะวันตก ของรอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี มีความยาวทั้งหมดกว่า 500 กิโลเมตร ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ที่ผ่านมามีรายงานแผ่นดินไหวขนาดเล็กหลายร้อยครั้ง ซึ่งครั้งใหญ่สุดวัดได้ วันที่ 22 เมษายน 2526 มีขนาด 5.9 ริคเตอร์

    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนแม่จันและแม่อิง ครอบคลุม จ.เชียงรายและเชียงใหม่ [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน ครอบคลุม จ.แม่ฮ่องสอนและตาก [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนเมย ครอบคลุม จ.ตากและกำแพงเพชร [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนแม่ทา ครอบคลุม จ.เชียงใหม่ ลำพูนและเชียงราย [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนเถิน ครอบคลุม จ.ลำปางและแพร่ [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนพะเยา ครอบคลุม จ.ลำปาง เชียงรายและพะเยา [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนปัว ครอบคลุม จ.น่าน [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ ครอบคลุม จ.อุตรดิตถ์ [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนท่าแขก ครอบคลุม จ.หนองคายและนครพนม [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนระนอง ครอบคลุม จ.ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนองและพังงา [/FONT]
    • [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ครอบคลุม จ.สุราษฎร์ธานี กระบี่ และพังงา[/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]สำหรับรอยเลื่อนที่พบใหม่ซึ่งพาดผ่านทิศใต้ของ กทม. จะเป็นกิ่ง ก้าน สาขา หรือรอยเลื่อนใหม่ เราคงได้แต่ติดตามข้อมูล เพื่อการตั้งรับอย่างมีสติ [/FONT]

    รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จากหลักฐานชี้ชัดว่า ในอดีตเมื่อ 22,000 ปีก่อน

    บริเวณรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ริกเตอร์มาแล้ว และในปี 2526 ก็เกิดระดับ 5 ริคเตอร์ ในอนาคตจึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดค่าอุบัติซ้ำได้

    ซึ่งตนต้องการให้เกิดความตระหนัก และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ไปสานต่อและเตรียมรับมือกับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

    ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย ผู้เชี่ยวชาญเรื่องแผ่นดินไหว สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือ AIT กล่าวว่า ประเด็นที่ กฟผ.ยืนยันว่า เมื่อปี 2526 บริเวณทิศเหนือของเขื่อนศรีนครินทร์ เคยเกิดแผ่นดินไหวแล้ว มีความรุนแรงถึง 5.9 ริกเตอร์ ในระยะ 55 กิโลเมตรจากตัวเขื่อน

    แต่เขื่อนก็ยังไม่แตก แสดงว่าเขื่อนแข็งแรง เพราะเขื่อนนี้สร้างขึ้นมารับแรงไหวของแผ่นดินได้ถึง 7.5 ริกเตอร์ นั้น เป็นการสรุปแบบไม่เข้าใจ เพราะเป็นการสั่นสะเทือนที่วัดคนละหน่วยกัน

    ที่ถูกต้อง คือ เขื่อนนี้รับความรุนแรงการไหวของแผ่นดินที่ 7.5 ริกเตอร์ หรือ ประมาณ 10 ้ของค่าความเร่งในแนวดิ่งของโลก หรือค่า g ในขณะที่ การไหวของแผ่นดินในปี 2526 ที่มีขนาด 5.9 ริกเตอร์ ที่ระยะ 55 กิโลเมตรนั้น ความรุนแรงไม่ถึง 5 ของ ของค่า g เขื่อนจึงไม่สั่นสะเทือน และไม่เป็นอันตราย


    ซึ่งบริษัทที่ปรึกษาทั้ง 3 แห่งสรุปผลออกมาเหมือนกันว่า จ.กาญจนบุรีอาจเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ขนาด 7.5-8.0 ริกเตอร์ นั่นคือ มากกว่าที่ กฟผ.ออกแบบเขื่อนไว้ 500-4,000 เท่า และทั้งหมด แนะนำให้ กฟผ.เพิ่มมาตรการเสริมความแข็งแรงของเขื่อน

    รวมถึง
    การให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับทุกฝ่าย ทั้งที่จะได้รับผลกระทบหรือไม่ได้รับก็ตาม เพื่อเราจะได้ตั้งรับอย่างมีสติ


    </TD></TR><TR><TD align=right></TD></TR></TBODY></TABLE>​

    รอยเลื่อน แผ่นดินไหว กรุงเทพ ฯ

    วันนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่าโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น พายุรุนแรง แผ่นดินไหวรุนแรงและถี่มากขึ้น สิ่งหนึ่งที่ผมได้รู้วันนี้ ที่ไม่เคยได้รับรู้ว่ากรุงเทพเราก็มีรอยเลื่อน ติดตามได้ที่ http://mblog.manager.co.th/sazzie/th-12784/


    [​IMG]


    ข้อมูลประกอบความรุนแรงของแผ่นดินไหว


    <TABLE style="WIDTH: 498pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=663><TBODY><TR style="HEIGHT: 19.5pt" height=26><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; WIDTH: 84pt; HEIGHT: 19.5pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl24 height=26 width=112 align=left>ระดับความรุนแรง </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; WIDTH: 275pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl24 width=366 align=left>ผลของแผ่นดินไหว </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; WIDTH: 139pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl24 width=185 align=left>จำนวนแผ่นดินไหวในแต่ละปี </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>2.5หรือต่ำกว่า</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>โดยปกติไม่รู้สึก แต่สามารถถูกบันทึกโดยเครื่องไซโมกร๊าฟ </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl27>900,000</TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>2.5 ถึง 5.4 </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>มักจะรู้สึกได้ แต่ทำให้เกิดความเสียหาเล็กน้อย </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl28>30,000</TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>5.5 ถึง 6.0</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>ทำให้เกิดความเสียหายเล็กน้อยต่ออาคารบ้านเรือน และโครงสร้างอื่น</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl27>500 </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>6.1 ถึง 6.9 </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>อาจทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากในพื้นที่ ที่มีผู้คนอาศัยหนาแน่น </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl27>100</TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>7.0 ถึง7.9 </TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ทำความเสียหายอย่างรุนแรง</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl27>20</TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl25 height=17>8.0หรือสูงกว่า</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 align=left>แผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก สามารถทำลายเมืองเกือบทั้งหมดลงได้</TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl27>เกิดในทุกๆ 5-10ปี </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt" height=17><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; HEIGHT: 12.75pt; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26 height=17></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26></TD><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #e0dfe3; BACKGROUND-COLOR: yellow; BORDER-TOP-COLOR: #e0dfe3; BORDER-RIGHT-COLOR: #e0dfe3; BORDER-LEFT-COLOR: #e0dfe3" class=ecxecxxl26></TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง
    http://www.fortunermania.com/main/modules.php?name=News&file=article&sid=12


    รอยเลื่อนกรุงเทพ



    " ไทยมีรอยเลื่อนพาดผ่าน 13 แห่ง และอีก 1 แห่ง ใต้กรุงเทพ เป็นข้อมูลของสำนักแผ่นดินไหวประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีหลักฐานว่าเคยทำให้เกิดแผ่นดินไหว เมื่อกว่า 100 ปี ที่ผ่านมา แต่ตอนนี้ไม่น่าจะมีพลังแล้ว " ..


    นั่นยังไม่น่าตกใจเท่าเมื่อได้ยินคำขยายความต่อจากนั้นว่า ..

    " ทางใต้กรุงเทพนี่ไม่ได้หมายถึงใต้แผ่นดิน แต่หมายถึงทางทิศใต้ของกรุงเทพ คือทางฝั่งภาษีเจริญที่อาจจะต่อมาจากรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ..... "







    [​IMG]


    คำอ้างอิงที่ได้ยินมาเขาว่าถึงแหล่งที่มาของข้อมูลคือสำนักแผ่นดินไหวของอเมริกา .. ก็กรอกข้อมูลนั้นลงไป Earthquake.usgs.gov แล้วคลิกหา .. ว่าในเว็บนั้นมันแจ้งถึงแผ่นดินไหวในอดีตครั้งอดีตว่าอย่างไรบ้าง .. กลับไม่พบอะไรเลย นอกจากหลักฐานข้อมูลสมัยใหม่ต่างๆ รวมถึงแผนที่แผ่นดินไหวทั่วโลก ของการเกิดแผ่นดินไหวในอดีตที่เพิ่งจะไม่นานมานี้ทั้งนั้น .. หาแล้วหาอีกก็หามีไม่

    กลับไปเริ่มต้นหาใหม่อีกครั้งในกูเกิ้ล ..

    คราวนี้ใส่คำภาษาไทยลงไปว่า " แผ่นดินไหวในอดีต"
    ก็เลยได้ข้อมูลเก่ากึ้ก .. แต่เพิ่มรอยหยักในสมองมาอีกหลายรอยเลยทีเดียว

    ว่าแท้จริงแล้วในประวัติศาสตร์ชาติไทย เคยเกิดแผ่นดินไหวมานับครั้งไม่ถ้วน ขอยกตัวอย่างแผ่นดินไหวที่โยนกนคร เมื่อปี พ.ศ.1558 (ซึ่งไม่ใช่ข้อมูลที่เก่าที่สุดนะ มีเก่ากว่านี้อีก)

    จนทำให้เมืองยุบหายกลายเป็นหนองน้ำใหญ่มาให้อ่านกันซักหนึ่งเหตุการณ์ ..

    จาก “พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน” ประชุมพงศาวดารภาคที่ 61 ประชุมพงศาวดาร 2512 หน้า 44-48
    และมานิต วัลลิโภดม ตำนานสิงหนวัติกุมาร ฉบับสอบค้นโรงพิมพ์
    สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี กรุงเทพฯ, 2416 หน้า 94-98

    "…สุริยอาทิตย์ก็ตกไปแล้ว ก็ได้ยินเสียงเหมือนดั่งแผ่นดินดังสนั่นหวั่นไหว
    ประดุจดังว่าเวียงโยนกนครหลวง ที่นี้จักเกลื่อนจักพังไปนั้นแลแล้วก็หายไปครั้งหนึ่ง ครั้งถึงมัชฌิมยามก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสองแล้วก็หายนั้นแล

    ถึงปัจฉิมยามก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสาม หนที่สามนี้ดังยิ่งกว่าทุกครั้งคราวที่ได้ยินมาแล้ว กาลนั้นเวียงโยนกนครหลวงที่นั้นก็ยุบจมลงเกิดเป็นหนองอันใหญ่

    ยามนั้นคนทั้งหลายอันมีในเวียงนั้น มีพระมหากษัตริย์เป็นประธานก็วินาสฉิบหาย ตกไปในน้ำที่นั้นสิ้นยังเหลือ อยู่แต่เรือนยามแม่หม้ายเฒ่าหลังเดียวนั้น

    แลศักราชได้ 376 ตัวปีเมิงเม้า เดือน 8 ออก 7 ค่ำ วันอังคาร (=วันอังคาร ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 6 พ.ศ. 1558)

    เขาทั้งหลายก็พร้อมกันสร้างเวียงลูกหนึ่งริมฝั่งน้ำของถ้ำตะวันตกมีหนตะวันออก เวียงโยนกนครเก่า คือว่าเวียงอันจมไปแลครั้นสร้างบริบูรณ์แล้วก็ให้ขุนลัง ตั้งอยู่เป็นใหญ่แก่บ้านเมืองแห่งเขาแล้วก็เรียกว่าเวียงปรึกษา นั้นแล "

    อ่านแผ่นดินไหวในประวัติศาสตร์เพิ่มเติมได้ที่
    http://www.dmr.go.th/geohazard/earthquake/Homep/History.htm


    แล้วก็ยังมีอีกครั้งที่สำคัญและมักจะได้นักธรณีวิทยานำมาอ้างอิงถึงเสมอๆ คือ

    แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่นครเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2088 ในครั้งนั้นทำให้ยอดเจดีย์หลวง ที่มีความสูง 86 เมตรหักโค่นลงมาจนเหลือความสูง 60 เมตร .. ยิ่งค้นก็ยิ่งเจอเรื่องน่าสนใจ แต่ขอเก็บไว้กล่าวถึงในคราวหน้า หากมีโอกาส ..

    เพราะครั้งนี้ฉันกำลังตามล่าหารอยเลื่อนกรุงเทพ .. แต่หายังไงก็หาไม่เจอข้อมูล ไม่ว่าจะเก่าจะใหม่ ทั้งเว็บไทยเว็บนอก .. ไม่มีข้อมูลใดเพิ่มเติม
    จะมีก็แต่รอยเลื่อนสำคัญๆ อื่นๆ ในประเทศไทย

    ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่ยังมีพลังอยู่ .. หมายถึง อาจจะ .. เขย่าพสุธาให้เกิดแผ่นดินไหวได้


    ( รอยเลื่อนที่ไม่มีพลัง คือ รอยเลื่อนที่หยุดการเคลื่อนไหวใดๆ มามากกว่า 10,000 ปี ซึ่งมันทำให้ฉันงงมากว่า ..

    ถ้าหลักฐานของฝรั่งบอกว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวในกรุงเทพ เมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว .. แล้วทำไมท่านที่มาออกรายการถึงบอกว่ามันสิ้นท่าหมดพลังลงแล้ว)


    [​IMG]


    รอยเลื่อนทั้ง 13 รอยเลื่อนของไทยได้แก่

    รอยเลื่อนแม่จัน

    รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน

    รอยเลื่อนแม่เมย

    รอยเลื่อนแม่ทา

    รอยเลื่อนเถิน

    รอยเลื่อนปัว

    รอยเลื่อนพะเยา

    รอยเลื่อนอุตรดิตถ์

    รอยเลื่อนท่าแขก

    รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์

    รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์

    รอยเลื่อนระนอง

    คลองมะรุ่ย

    รวมทั้งรอยเลื่อนสะแกง จากพม่าที่พาดผ่านด้านตะวันตกของไทยไปลงในทะเลอันดามัน

    ใกล้บ้านที่สุด ก็เห็นจะเป็นรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ซึ่งได้ยินมาว่า อาจจะเป็นรอยเลื่อนนี้เอง ที่ต่อกับรอยเลื่อนด้านใต้ของกรุงเทพแต่ .. แต่ยังไม่ต้องตกใจใดๆทั้งสิ้น

    เพราะเป็นข้อมูลของฝรั่ง ซึ่งสำนักแผ่นดินไหวของเรากำลังมีการสำรวจเพิ่มเติมอยู่ ในรัศมี 100 กิโลเมตรรอบกรุงเทพมหานคร ..

    ฉันเคยเล่าและพูดถึงหลายครั้งแล้วว่า เมื่อ เจ็ดสิบกว่าปีที่แล้ว ..
    สมัยตามาปลูกบ้านหลังที่ฉันอยู่ ณ ปัจจุบันนี้นั้น ..
    ตอนที่ตาขุดดินเพื่อจะยกเสาเรือนใต้ผืนดินแห่งนี้

    มีแต่เปลือกหอยนางรมเก่าๆ เต็มไปหมด .. เป็นไปได้ไหมว่า ..
    ละแวกบ้านฉันนี้จะเคยเป็นทะเลมาก่อน .. ไม่งั้นใครมันจะหาหอยนางรม
    มานั่งกินจนทิ้งเปลือกถมแผ่นดินไว้ได้มากมายขนาดนั้น

    ยิ่งพอมาได้ยินเรื่องรอยเลื่อน .. นี่อีก .. มันยิ่งทำให้ฉันอยากค้นหาข้อมูลที่จะยืนยันได้ว่า
    ครั้งหนึ่ง .. ที่ดินบริเวณนี้ น่าจะเคยเป็นทะเล .. แล้วอาจจะเกิด

    การเคลื่อนของแผ่นดินครั้งใหญ่ ทำให้ดินที่อยู่ในพื้นที่สูงกว่า .. เคลื่อนลงมาถมทะเล ..จนกลายเป็นแผ่นดิน ..

    (ซึ่งอาจจะเคยเกิดมานานกว่า 100 ปีที่แล้วอาจจะหลายร้อยปีมาแล้ว)

    อาจจะฟังดูแปลกๆ เพราะตัวฉันเองก็เคยได้ยินแต่ แผ่นดินทรุดจนกลายเป็นหนองน้ำ หรือ หาดเซาะจนกลืนลงไปในทะเล .. แต่อะไรๆ ก็เกิดขึ้นได้ในโลกใบนี้มิใช่หรือ ..

    ยิ่งช่วงนี้ .. ดูเหมือนว่า โลกกำลังเรอ .. หลังจากอิ่มกับมลพิษมากมายที่มนุษย์ช่วยกันป้อนให้โลก

    ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว่าพิบัติภัย .. ก็เลยกระหน่ำซ้ำเติมมนุษยชาติ ฐานที่ป้อนมลพิษให้โลกมากเกินไป จนเกิดอาการท้องอืด

    .. แต่จะอย่างไรก็ตาม ..

    ฉันก็หวังแค่ว่า โลกจะแค่เรอ .. อย่างเดียวพอ .. ขออย่าให้ถึงกับท้องเดินเลย ..

    เพราะหากถึงวันนั้นจริงๆ .. แผ่นดิน ทั้งแผ่นดิน ..
    อาจจะถูกย่อยไปหมดจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของก้นทะเล .. ก็เป็นได้


    [​IMG]



    นักธรณีวิทยาห่วงรอยเลื่อนแขนงเจดีย์สามองค์พาดผ่านทางตอนใต้ กทม. ชี้ต้องเร่ง ศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรธรณี เผยมีหลักฐานไทยเคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาแล้วเมื่อพันปีก่อน ความรุนแรงที่ 7 ริกเตอร์

    พร้อมระบุกรุงเทพฯ-ปริมณฑลอยู่ในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว เหตุอยู่ใกล้รอยเลื่อนในพม่า แนะให้ความรู้ประชาชนเตรียมรับมือ คาดปีนี้ทั่วโลกจะเกิดแผ่นดินไหวได้อีกนับหมื่นครั้ง


    นายวรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี กล่าวถึงผลการศึกษาในระยะแรกว่า ได้ศึกษากลุ่มรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอนและรอยเลื่อนเมย บริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก และกำแพงเพชร

    กับกลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ จ.กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี และตาก พบว่ายังไม่มีความเปลี่ยนแปลงที่น่ากังวลว่าจะนำไปสู่การเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง

    อย่างไรก็ตาม จากการขุดร่องสำรวจบริเวณ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี และ อ.ศรีสวัสดิ์ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี รวม 6 จุด

    พบว่าในอดีตเคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาแล้ว ความรุนแรงสูงสุด 7 ริกเตอร์ เมื่อ 7,000 ปีก่อน จนถึง 6.4 ริกเตอร์ เมื่อ 1,000 ปีก่อน

    แสดงว่ารอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์เป็นรอยเลื่อนที่มีพลังมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในบริเวณดังกล่าวได้อีกครั้ง แต่ยังต้องศึกษาเพิ่มเติม เช่น หาอัตราความเร็วการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกเพื่อศึกษาความถี่การเกิด

    นายวรวุฒิ กล่าวต่อว่า รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และเจดีย์สามองค์เป็นรอยเลื่อนที่มีขนาดยาว สามารถทำให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงและยังอยู่บริเวณใกล้กรุงเทพฯ และจุดที่เป็นชุมชน รวมถึงมีเขื่อนขนาดใหญ่ตั้งอยู่ ซึ่งหากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงอาจเกิดความเสียหายได้มาก

    ทั้งนี้ พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลตกอยู่ในความเสี่ยงแผ่นดินไหว จาก 3 ปัจจัยคือ

    1. รอยเลื่อนนอกประเทศ เช่น รอยเลื่อนตะแกงในพม่า จุดที่ใกล้ที่สุดอยู่ห่างกรุงเทพฯ 400 กม.

    2. รอยเลื่อนในประเทศที่อยู่ใกล้กรุงเทพฯ

    3. รอยเลื่อนใต้ดินที่เพิ่งพบเมื่อไม่นานมานี้ และยังไม่มีข้อมูลการเคลื่อนตัวที่ชัดเจนเพราะอยู่ลึกลงไป 20 ม. ยังไม่สามารถประเมินความเสี่ยงได้ ต้องผ่านการศึกษาอีกระยะหนึ่ง

    การป้องกันขณะนี้คือ ต้องสร้างอาคารที่มีความมั่นคงแข็งแรงและการให้ความรู้ประชาชน ถึงความเสี่ยงดังกล่าว ทราบว่า กทม. จะเดินหน้าให้ความรู้ประชาชนและหามาตรการรองรับ

    นายปริญญา พุทธาภิบาล ประธานหลักสูตรธรณีศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ขณะนี้แนวโน้มการเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลกจากปีละ 20,000 ครั้ง เป็น 30,000 ครั้ง โดยช่วง 4 เดือนของปีนี้ เกิดขึ้นแล้ว 11,000 ครั้ง

    หากพิจารณาจากสถิติคาดว่าปีนี้อาจจะเกิดได้อีกนับหมื่นครั้ง นอกจากนี้ ยังพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่ทำให้เกิดสึนามิประมาณ 1 ปี มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นแถบภูมิภาคนี้ประมาณ 2 เท่าจากปกติ แต่ประเทศที่มีความเสี่ยงมากกว่าไทย คือ จีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย

    นายปริญญา กล่าวต่อว่า จากการติดตามศึกษาผลกระทบจากแผ่นดินไหวรุนแรงที่ทำให้เกิดสึนามิเมื่อปี 2547 พบว่าบริเวณรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ มีอาคารเรียนบางแห่งแตกร้าว นอกจากนั้นบ่อน้ำพุหินดาดยังมีอุณหภูมิสูงขึ้นและสีขาวขุ่นขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิและทางเคมี

    รวมทั้งมีบ่อน้ำของชาวบ้านใน จ.ราชบุรี ความลึก 3 วา อุณหภูมิสูงขึ้นจาก 29 องศาฯ เป็น 48 องศาเซลเซียส ในวันที่ 28 ธันวาคม 2547

    จากนั้นลดลงวันละ 2 องศาฯ เป็นเวลา 10 วัน ปรากฏการณ์เหล่านี้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่ก็ถือว่าสัญญาณเตือนภัยได้อย่างหนึ่ง ว่าเมื่อเกิดความผิดปกติของน้ำใต้ดินอาจมีเหตุรุนแรงตามมา

    นักธรณีพบรอยเลื่อนแขนงใกล้กทม.ปริมณฑล


    กระทรวงทรัพยากร - 2 ก.ค.-- นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (ทส.) กล่าวในการสัมมนาเรื่อง “ แผ่นดินไหว : ธรณีพิบัติภัยใกล้ตัว” ว่า

    หลังจากเหตุการณ์แผ่นดิน ไหวครั้งรุนแรงในทะเลขนาด 9.3 ริกเตอร์จนทำให้เกิดสึนามิเมื่อ 26 ธค.2547 ทางกรมทรัพยากรธรณี ได้ทำการสำรวจรอยเลื่อนมีพลังของประเทศไทย

    เนื่องจากก่อนหน้านี้เป็นเพียงข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมว่ามีรอยเลื่อน 13 รอย แต่ยังไม่รู้ถึงตำแหน่ง ทิศทาง ลักษณะการเคลื่อนตัว ตลอดจนขนาดของแผ่นดินไหว สภาพของความมีพลังของรอยเลื่อน และคาบอุบัติซ้ำของการเกิดแผ่นดินไหว

    ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยในการวางแผนลดผลกระ ทบ โดยเฉพาะการออกแบบอาคาร การวางผังเมือง สิ่งก่อสร้างอาทิ โรงพยาบาล เขื่อนอ่างเก็บน้ำ โรงไฟฟ้านิว เคลียร์ สนามบิน ให้สามารถรองรับแรงแผ่นดินไหวได้

    ทั้งนี้ช่วงปี 2549 เพิ่งศึกษากลุ่มรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน และรอยเลื่อนเมย ในเขตพื้นที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก กำแพงเพชร และกลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อน เจดีย์สามองค์ ในเขตพื้นที่ จ.กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี และตาก และยังไม่แล้วเสร็จ

    การศึกษาจากทีมนักวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งโฟกัสพื้นที่จ.กาญจนบุรีและ สุพรรณบุรี โดยอาศัยหลักฐานธรณีสัณฐานที่ได้จากข้อมูลโทรสัมผัส

    และการตรวจสอบภาคสนาม รวมทั้งได้คัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการขุดร่องสำรวจ เพื่อประเมินหาขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิดในอดีต และช่วงเวลาที่เคยเกิด จำนวน 6 พื้นที่ ดังนี้

    พื้นที่ที่ 1 บ้านทุ่งมะกอก ต.องค์พระ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริกเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี

    พื้นที่ที่ 2 บ้านแก่งแคบ ต. ท่ากระดาน อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริกเตอร์ เกิดมาแล้ว 1,000 ปี

    พื้นที่ที่ 3 บ้านโป่งหวาย ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.5 ริกเตอร์ เกิดมาแล้ว 1,500 ปี

    พื้นที่ที่ 4 บ้านดงเสลา ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.0 ริกเตอร์ เกิดมาแล้ว 10,000 ปี

    พื้นที่ที่ 5 บ้านองธิ ต.ท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริกเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี

    พื้นที่ที่ 6 บ้านทิพุเย ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริกเตอร์เกิดมาแล้ว 2,000 ปี

    ส่วนปี 2550-53 จะศึกษารอยเลื่อนมะรุยและรอย เลื่อนระนอง เขตพื้นที่ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี โดยร่วมมือกับทีม ม.สงขลานครินทร์ ติดตั้งเครื่องมือวัดแผ่นดินไหวชนิด Short period 4แห่ง

    คือพังงา จำนวน 2แห่ง กระบี่ 1 แห่ง และจังหวัดภูเก็ต 1แห่ง ซึ่งอยู่ใกล้แนวรอยเลื่อนคลองมะลุ่ย

    โดยตรวจวัดแผ่นดินไหว ขนาดเล็ก (Micro earthquake) จำนวนมากกว่า 200 ครั้งที่เกิดขึ้นมาตามแนวรอยเลื่อนคลองมะลุ่ย และรอยเลื่อนระนองทั้งบนบก และในทะเล

    หลังจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ส่วนกลุ่มรอยเลื่อนแม่ทาและรอยเลื่อนเถิน รวมทั้งรอยเลื่อนแม่จันและ รอยเลื่อนพะเยา และรอยเลื่อนปัว และรอยเลื่อนอุตรดิตถ์

    ซึ่งข้อมูลที่ได้จะต้องจัดทำแผนที่อันตราย จากแผ่นดินไหวให้กับหน่วยงานต่างๆไปเตรียมการบรรเทาภัยที่จะเกิดขึ้น และเผยแพร่ผลกระทบแผ่น ดินไหวให้สาธารณชนได้รับรู้ โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงมากในไทย เช่น จ. กาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน และเชียงราย

    ด้าน รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจันธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ขณะนี้นักธรณีวิทยาหลายคนกังวลว่า

    นอกจากกลุ่มรอยเลื่อน 6 กลุ่มที่ต้องเร่งศึกษาถึงพฤติกรรม และความสี่ยงแล้ว ยังพบว่าพื้นที่กทม. เองก็มีความเสี่ยง เนื่องจากผลการศึกษาระยะที่ 1

    โดยใช้ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ พบว่ามีรอยแขนงที่แตกออกจากรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ พาดผ่านเข้ามาทางพื้นที่ตอนใต้ของกทม. คือบริเวณ จ. สมุทรปราการ และวกเข้าไปใน จ.ชลบุรี และยังไม่มีการตั้งชื่อ

    ซึ่งน่าเป็นห่วงว่าหากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หรือแม้แต่ระดับปานกลางจะกระทบกับพื้นที่กทม. อย่างมากด้วยปัจจัยจากชั้นดินในกทม. เป็นดินอ่อนที่สามารถขยายคลื่นความสั่นสะเทือนให้แรงเหมือนกับเราหมุนวิทยุให้เสียงดังขึ้น ทำให้เพิ่ม ความแรงได้มหาศาล

    อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาเคยเสนอให้ศึกษารายละเอียดของรอยเลื่อนแขนงที่พบนี้ แต่ได้รับทราบจากกรมทรัพยากรธรณีว่าถูกตัดงบประมาณทำให้ต้องเลื่อนงานวิจัยออกไป

    “นักธรณีวิทยา โดยเฉพาะ ดร.ปริญญา นุตาลัย ก็เป็นห่วงประเด็นนี้เพราะอยู่ใกล้กับกทม. มากเพราะอาจทำให้เสียหายใหญ่หลวง สอดคล้องกับสิ่งที่ผมศึกษาแล้วพบว่ามีรอยเลื่อนที่เข้ามาถึง กทม. แต่ได้รู้ว่ามีรอยเลื่อน ที่น่าจะเป็นส่วนต่อของรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์

    แต่ยังไม่มีการศึกษาอย่างละเอียด มีเพียงบางท่อนที่มีการศึกษาว่ายังมีพลังอยู่แถวใกล้กับพื้นที่ไทรโยค ศรีสวัสดิ์ และทางตอนใต้ของเขื่อนเขาแหลม มีแนวโน้มการมีพลังสูงมาก

    แต่เราไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะไหวสักครั้ง แต่เรารู้เชิง พื้นที่ตามแม่น้ำแควน้อย แควใหญ่ และรอยเลื่อนนี้ที่พาดผ่านจากชายแดนพม่า แขนงของมันจะต่อเลย " รศ.ดร.ปัญญา กล่าว


    จากด่านเจดีย์สามองค์เข้ามาถึงทางด้าน ทางใต้ของกทม. และอีกแขนงไปองครักษ์ และแขนงหนึ่งไปแถวแม่น้ำ ท่าจีนอย่างไรก็ตาม ในช่วง 1-2 เดือนนี้ยังเกิดแผ่นดินไหวจากแถบประเทศพม่า ลาว ซึ่งมีการตั้งข้อสังเกตว่าเป็นถี่ปกติหรือเป็นรอบของมันหรือเปล่า

    ดังนั้นคนไทยควรต้องรู้ถึงสภาวะ และความ เสี่ยงที่อาจเกิดจากภัยแผ่นดินไหว

    โดยกรมทรัพยากรธรณี ก็ต้องให้ความสำคัญการทำแผนที่พิบัติภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย หลังจากทำแผนที่รอยเลื่อนมีพลังของไทยออกมาแล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มิถุนายน 2010
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr><th>
    </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap"> 2.5 </td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">2010/06/25 07:52:54 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 32.132 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> -115.353 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 12.3 </td><td valign="top"> BAJA CALIFORNIA, MEXICO</td></tr> <tr><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap"> 5.1 </td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">2010/06/25 07:29:00 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 7.493 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 91.848 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 35.0 </td><td valign="top"> NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION</td></tr></tbody></table>
    10-degree Map Centered at 5°N,90°E

    Skip to earthquake lists [​IMG] [​IMG]
    [​IMG]
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    แปะไว้ก่อนเดี๋ยวมาแปล ใครว่างช่วยหน่อยจิ

    Relationships between Cenozoic strike-slip faulting and basin opening in northern Thailand

    <nobr>Wutti Uttamo<sup>1</sup></nobr>, <nobr>Chris Elders<sup>2</sup></nobr> & <nobr>Gary Nichols<sup>2</sup></nobr> <sup>1</sup> Department of Geological Sciences, Faculty of Science, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand uttamo@geol.science.cmu.ac.th<script type="text/javascript"><!-- var u = "uttamo", d = "geol.science.cmu.ac.th"; document.getElementById("em0").innerHTML = '<a href="mailto:' + u + '@' + d + '">' + u + '@' + d + '<\/a>'//--></script>
    <sup>2</sup> SE Asia Research Group, Department of Geology, Royal Holloway, University of London, Egham, Surrey TW20 0EX, UK

    <!-- ABS --> [SIZE=-1] Northern Thailand is located in a structurally complex area<sup> </sup>between three major tectonic regimes, a region of extensional<sup> </sup>tectonics to the south and two major strike-slip zones, the<sup> </sup>Sagaing fault zone to the west and the Red River fault zone<sup> </sup>to the northeast. Cenozoic tectonics in northern Thailand resulted<sup> </sup>from the collision between the Indian plate and Eurasia. The<sup> </sup>continued indentation of the Indian plate into Eurasia caused<sup> </sup>polyphase extrusion of Sundaland and the movement of major strike-slip<sup> </sup>faults. The movement of these faults accompanying the regional<sup> </sup>east-west extension during Late Oligocene to Early Miocene initiated<sup> </sup>the formation of the Tertiary basins.<sup> </sup>[/SIZE]
    [SIZE=-1]Thirty-six major faults and forty-two intra-cratonic depositional<sup> </sup>basins in northern Thailand have been recognized and delineated<sup> </sup>using Landsat TM images. More than 70% of these basins are related<sup> </sup>to strike-slip tectonics. Five basin types have been recognized<sup> </sup>on the basis of geometric and kinematic considerations. These<sup> </sup>are fault-tip basins, pull-apart basins, fault-wedge basins,<sup> </sup>fault zone basins, and extensional basins. The opening and development<sup> </sup>of these basins was influenced by the movement of NW-trending<sup> </sup>dextral faults and NE-trending sinistral faults associated with<sup> </sup>north-south shortening and east-west extension.[/SIZE]
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    หารอยเลื่อนไปมา ไปเจออันนี้

    บ่อน้ำมัน บ่อก๊าซธรรมชาติ

    [​IMG]


    เหมืองทองคำ

    Mining Gold in Thailand


    <script type="text/javascript" src="http://plus.cnbc.com/stickers/partners/cnbcpermalink/events.js"></script><object classid="clsid:D27CDB6E-AE6D-11cf-96B8-444553540000" codebase="http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=9,0,0,0" id="cnbcplayer" width="580" height="370"></object>
    Airtime: <script> document.write(cnbc_video_toDateString(1277263200000)); </script>Wed. Jun. 23 2010 | 10:20 AM ET

    Kingsgate is a low cost producer and gold mining and exploration company. Ross Smyth-Kirk, Chairman of Kingsgate speaks to CNBC's Oriel Morrison about the firm's new gold discoveries surrounding Chatree, 280 km north of Bangkok.


    ฮ่วย มีทั้งน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ทอง ข้าวปลาอาหาร :cool:
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • oil fields.JPG
      oil fields.JPG
      ขนาดไฟล์:
      103.3 KB
      เปิดดู:
      1,651
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มิถุนายน 2010
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table style="border-collapse: collapse;" align="center" border="1" bordercolor="#666666" cellpadding="3" cellspacing="0" width="600"><tbody><tr bgcolor="#cccc66"><td align="center" width="70" nowrap="nowrap">วันที่</td> <td align="center" width="60" nowrap="nowrap">เวลา</td> <td align="center" nowrap="nowrap">ขนาด</td> <td align="center" width="50" nowrap="nowrap">lat</td> <td align="center" width="50" nowrap="nowrap">long</td> <td align="center" width="120" nowrap="nowrap">บริเวณที่เกิด</td> <td align="center" nowrap="nowrap">ข้อมูล อื่นๆ</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">2553-06-25</td> <td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">21:39:34</td> <td align="center" valign="top">
    4.6
    </td> <td align="center" valign="top">21.920</td> <td align="center" valign="top">97.310</td> <td valign="top">ประเทศพม่า</td> <td valign="top"> - ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.เมือง จ. แม่ฮ่องสอน ประมาณ 280 กิโลเมตร</td></tr></tbody></table>
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table style="border-collapse: collapse;" align="center" border="1" bordercolor="#666666" cellpadding="3" cellspacing="0" width="600"><tbody><tr bgcolor="#cccc66"> <td align="center" width="70" nowrap="nowrap">วันที่</td> <td align="center" width="60" nowrap="nowrap">เวลา</td> <td align="center" nowrap="nowrap">ขนาด</td> <td align="center" width="50" nowrap="nowrap">lat</td> <td align="center" width="50" nowrap="nowrap">long</td> <td align="center" width="120" nowrap="nowrap">บริเวณที่เกิด</td> <td align="center" nowrap="nowrap">ข้อมูล อื่นๆ</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">2553-06-26</td> <td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">09:24:02</td> <td align="center" valign="top">
    4.0
    </td> <td align="center" valign="top">20.370</td> <td align="center" valign="top">99.770</td> <td valign="top">ประเทศพม่า</td> <td valign="top"> - ทางทิศเหนือของอ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย ประมาณ 11 กม.</td></tr></tbody></table>
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap"> 6.9 </td><td align="center" valign="top" nowrap="nowrap">2010/06/26 05:30:20 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> -10.607 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 161.429 </td><td align="right" valign="top" nowrap="nowrap"> 35.0 </td><td valign="top"> SOLOMON ISLANDS</td></tr></tbody></table>
    10-degree Map Centered at 10°S,160°E

    Skip to earthquake lists [​IMG] [​IMG]
    [​IMG]
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td valign="top">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top" width="30" nowrap="nowrap">
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG] </td> <td valign="top" width="100%"> Green Earthquake Alert Solomon Is.</td> <td valign="top"> [​IMG] [​IMG] [​IMG]</td> </tr> </tbody></table> Summary

    [​IMG] On 6/26/2010 5:30:21 AM UTC (about 16:16h local time) an earthquake of magnitude 7.1 occurred in the moderately populated region of Solomon Is. in Solomon Is.. The nearest populated places are: Taraoto (18km), Panuha (11km), Apurahe (13km), Bugawahu (3km), Apaoro (16km). The closest civilian airport is Kirakira (27km).
    It is likely that a tsunami was generated. The maximum tsunami wave height near the coast of will be m. Please refer to the GDACS tsunami report for more details.
    Potentially affected critical infrastructure:

    • Nuclear plants: [None]
    • Hydrodams: [None]
    • Airports: Rennell Island (184km), Santa Ana (95km), Kirakira (27km), Marau (122km), Avu Avu (158km), Mbambanakira (138km), Parasi (104km), Tarapaina (148km), Onepusu (174km)
    • Ports: Rennell Island (184km), Cape Surville (86km), Kira Kira (37km), Aola Bay (172km)
    Based on an automated impact model, this earthquake, which occurred in a region with low vulnerability to natural disasters, has potentially a low humanitarian impact.
    Whether international humanitarian aid is needed must be decided by an expert.
    <table><tbody><tr><td>Event Date Univ. Time: </td><td>Sat, 6/26/2010 05:30 UTC</td></tr> <tr><td>European Time of the event: </td><td>Sat, 6/26/2010 07:30 CEST (Brussels, Paris, Rome)</td></tr> <tr><td>East America Time of the event: </td><td>Sat, 6/26/2010 00:30 EST (New York, Washington)</td></tr> <tr><td>West America Time of the event: </td><td>Fri, 6/25/2010 21:30 PST (San Francisco, Los Angeles)</td></tr> <tr><td>East Asia Time of the event: </td><td>Sat, 6/26/2010 14:30 JTI (Tokyo)</td></tr> <tr><td colspan="2"> </td></tr> <tr><td colspan="2">This email report was automatically created by a computer at: 6/26/2010 5:52:54 AM UTC (22 minutes after the event)</td></tr> </tbody></table> See the GDACS website for live news coverage (including OCHA Situation Reports), the full earthquake report and tsunami report .
    For information on emergency response, please consult the GDACS Virtual OSOCC.

    Tsunami Event

    It is likely that a tsunami was generated. Based on precalculated scenarios, the maximum tsunami wave height near the coast of will be m.
    A detailed tsunami wave height calculation is ongoing and should be available 20 minutes after this report was created. Results can be slightly different than the precalculated scenario. The outcome can be checked here: GDACS tsunami report .
    [​IMG]
    Travel time map.
    Other maps: maximum wave height, animation.
    Earthquake Event

    Characteristics


    • Source: World Data Centre for Seismology, Denver (NEIC) M
    • Magnitude: 7.1 M
    • Depth: 30 km
    • Location (Lat/Long): -10.63 | 161.62
    • Country: Solomon Is.
    • Province: Solomon Is.
    • Region: Solomon Islands
    • UTC/GMT (Greenwich time): 6/26/2010 5:30:21 AM
    • Estimated local solar time: 6/26/2010 4:16:50 PM
    [​IMG]
    [​IMG]
    Population Density near epicenter (people/km<sup>2</sup>). Image area: 6x4 decimal degrees (approx. 650x450km2).

    Earthquake Impact Details

    Potentially affected People

    <table style="border-collapse: collapse;" id="ecxAutoNumber2" border="1" bordercolor="#111111" cellspacing="0"> <tbody><tr> <th colspan="3">
    Population Data​
    </th> </tr> <tr> <th>Radius (km)</th> <th>Population</th> <th>Density (people/km?)</th> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">1</td> <td style="text-align: right;">0 </td> <td style="text-align: right;">0 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">2</td> <td style="text-align: right;">43 </td> <td style="text-align: right;">3 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">5</td> <td style="text-align: right;">187 </td> <td style="text-align: right;">2 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">10</td> <td style="text-align: right;">628 </td> <td style="text-align: right;">1 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">20</td> <td style="text-align: right;">2143 </td> <td style="text-align: right;">1 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">50</td> <td style="text-align: right;">17516 </td> <td style="text-align: right;">2 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">100</td> <td style="text-align: right;">39044 </td> <td style="text-align: right;">1 </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right;">200</td> <td style="text-align: right;">171663 </td> <td style="text-align: right;">1 </td> </tr> </tbody></table> The population in the area of this earthquake is 2 people/km?.
    The earthquake occurred at 16h local time. At this time a day, more people are at work and therefore more vulnerable to collapsing office buildings. During traffic hours, people can be affected by collapsing bridges and other road infrastructure.
    [​IMG] Resilience and Vulnerability

    Resilience is the capacity of the population to cope with a hazard. Since much of investments in earthquake preparedness and available funds for quick response is related to household income, the GDP per capita can be used as a rough indicator of resilience.
    Solomon Is. has a GDP per capita of 784 PPP$ (Parity Purchasing Power Dollar, about 1 Euro) and is therefore part of the low level income countries. Therefore, the earthquake happened in an area of low resilience.
    Based on the combination of 9 indicators, ECHO attributes Solomon Is. a low vulnerability.
    <table style="border-collapse: collapse; border: 1px none;" border="1" bordercolor="#006699" cellspacing="0"><tbody><tr> <th colspan="2" valign="top"> ECHO Intervention Priority Ranking for Solomon Is.</th> </tr> <tr> <td style="text-align: right;" colspan="2" valign="top">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td style="text-align: center;" colspan="2" bgcolor="#ecdb88" valign="top"> Overall situation</td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top">Human Development </td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top">
    Human Poverty
    </td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: center;" colspan="2" bgcolor="#ecdb88" valign="top"> Exposure to Major Disasters</td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top">
    Natural Disasters
    </td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top">
    Conflicts
    </td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: center;" colspan="2" bgcolor="#ecdb88" valign="top"> Humanitarian effects of population movement</td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top"> Refugees</td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top"> Internally Displaced People</td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: center;" colspan="2" bgcolor="#ecdb88" valign="top"> Health and Nutrition</td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top"> Undernourishment</td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td style="text-align: right; border-right-style: none; border-right-width: medium;" valign="top"> Mortality rates</td> <td style="text-align: center; border-left-style: none; border-left-width: medium;" valign="top" width="8"> [​IMG]</td></tr></tbody></table>
     
  17. pmntr

    pmntr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    631
    ค่าพลัง:
    +2,244
    ความสัมพันธ์ระหว่างรอยเลื่อนด้านข้างสมัยซีโนโซอิกกับการเปิดของแอ่ง ในภาคเหนือของประเทศไทย
    ภาคเหนือของประเทศไทยตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ มีโครงสร้างซับซ้อน มีการแปรสัณฐานหลัก ๆ อยู่ 3 อย่าง คือพื้นที่ ๆ มีลักษณะการขยายออกอยู่ทางทิศใต้ และพื้นที่ตั้งของรอยเลื่อนด้านข้าง 2 รอยเลื่อน ทั้งรอยเลื่อนสะแกงทางด้านทิศตะวันตก และรอยเลื่อนแม่น้ำแดงทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ การแปรสัณฐานในช่วงยุคซีโนโซอิกในภาคเหนือของประเทศไทยเป็นผลมาจากการชนกันของแผ่นทวีประหว่างแผ่นทวีปอินเดียและยูเรเชีย การชนเช้าไปอย่างต่อเนื่องของแผ่นทวีปอินเดีย ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของทวีปซุนด้า และการเคลื่อนที่ของรอยเลื่อนด้านข้างที่เป็นรอยเลื่อนใหญ่ การเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนนี้ทำให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นในทางทิศตะวันออก-ตก ในระหว่างช่วงปลายสมัยโอลิโกซีนถึงต้นไมโอซีน ซึ่งก่อให้เกิดแอ่งเทอร์เชียรีขึ้น
    ทั้ง 36 รอยเลื่อนหลัก ๆ และแอ่งสะสมตะกอน 42 แอ่งในภาคเหนือของประเทศไทย สามารถกำหนดได้จากการใช้ภาพถ่ายดาวเทียมแลนด์แซท ซึ่งมากกว่าร้อยละ 70 ของแอ่งทั้งหมดเกี่ยวข้องกับรอยเลื่อนด้านข้าง สามารถแบ่งได้เป็น 5 ชนิดตามการพิจารณาด้วยรูปร่างและแรง ทั้งแอ่งแบบรอยเลื่อนเอียง แบบรอยเลื่อนดึง แบบรอยเลื่อนอัด แบบพื้นที่รอยเลื่อน และแบบขยายออก การเปิดและการพัฒนาตัวของแอ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนขวาตามแนวตะวันตกเฉียงเหนือ และรอยเลื่อนซ้ายตามแนวตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะไปเกี่ยวข้องกับการหดตัวลงทางด้านเหนือ-ใต้ และขยายออกทางด้านตะวันออก-ตะวันตก

    *ผิดถูกอย่างไร ขอโทษด้วยครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มิถุนายน 2010
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table style="border-collapse: collapse;" align="center" border="0" bordercolor="#669933" cellpadding="3" cellspacing="0" width="600"><tbody><tr bgcolor="#669933"><td width="130" nowrap="nowrap">วัน-เวลา</td> <td width="40" nowrap="nowrap">ขนาด</td> <td width="50" nowrap="nowrap">lat</td> <td width="50" nowrap="nowrap">long</td> <td width="120" nowrap="nowrap">บริเวณที่ เกิด</td> <td nowrap="nowrap">ข้อมูลอื่นๆ</td> </tr> <tr bgcolor="#ffffff"> <td valign="top">2553-06-27 18:19:29</td> <td valign="top">2.7</td> <td valign="top">14.64</td> <td valign="top">99.22</td> <td valign="top">บ้านนาสวน อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี</td> <td valign="top"> - รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี</td></tr></tbody></table>
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จับตาการ เรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 8 กรกฎาคม คศ 2010

    [​IMG]


    Submitted by Administration on Sun, 2010-06-27 10:38



    ระดับความรุนแรง:มาก



    ช่วงเวลา:Thu, 2010-06-03 - Tue, 2010-07-13





    คำเตือน บทความนี้จัดทำขี้นเพี่อวัตถุประสงค์ในการทดสอบระบบการพยากรณ์แผ่นดินไหว ซี่งจะต้องจัดเก็บสถิติต่อไปเพี่อนำมาซี่งความเที่ยงตรงของการพยากรณ์ใน อนาคต ขอให้ผู้อ่านได้ใช้วิจารณญาณและติดตามผลความเที่ยงตรงด้วยตัวเอง และทางผู้จัดทำจะนำข้อผิดพลาดไปปรับปรุงแก้ไขระบบพยากรณ์ต่อไป

    ในวันที่ 8 กรกฏาคม คศ 2010 นั้น ทางเวปของเราคาดการณ์ว่าจะเกิดปฏิกริยาที่พระอาทิตย์อีกครั้งหนี่งซี่งจะส่ง ผลกระทบต่อโลกในรูปแบบของแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวนครั้งสำคัญอีกครั้ง หนี่งโดยเกิดในวันที่ 8 กรกฏาคม และ วันที่ 11 กรกฏาคม คศ 2010 โดยความน่าจะเป็นที่จะเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7-8 ริตเตอร์ อยู่ที่ 90% ในช่วงวันดังกล่าว และความน่าจะเป็นที่จะเกิดระเบิดที่พระอาทิตย์ที่ปล่อยพลังงาน CME ระดับ M-Class อยู่ที่ 95% ซี่งจะต้องจับตาดูสถานการณ์ของพระอาทิตย์อย่างต่อเนื่องไปจนถีงในวันที่ 8 และอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้


    เหตุการณ์ครั้งจะเริ่มขี้นจากปฏิกริยาที่พระอาทิตย์ ซี่งคาดว่าจะเริ่มเกิดเปลวพลังงานสนามแม่เหล็ก และจุดดับขี้นในช่วงต้นเดือน กรกฎาคม โดยความรุนแรงจะเพิ่มขี้นในระดับปานกลาง ในวันที่ 3 กรกฏาคม และจะปล่อยพลังงานออกมาในรูปแบบของ CME ในวัน ที่ 8 กรกฏาคม ในเวลาประมาณ 20:00 UTC +/-2 ชั่วโมง แต่จากสถิติในอดีต พระอาทิตย์จะปล่อยพลังงานออกมาประมาณสิบกว่าชั่วโมงก่อนเวลาดังกล่าว ซี่งพี้นที่ๆคาดว่าจะได้รับผลกระทบหนักได้แก่ ประเทศบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ใกล้ประเทศ ญี่ปุ่นและใต้หวัน ส่วนอีกซีกหนี่งของโลกได้แก่ประเทศบริเวณแอฟริกาใต้ และอาจจะเกิด aftershock ตามมาเล็กน้อย ส่วนพี้นที่อี่นก็อาจมีผลกระทบได้เช่นกัน


    ในช่วงเวลาดังกล่าวยังมีการเรียงตัวของดาว โลก พฤหัส ยูเรนัส และ ดาวเนปจูน และแนวการเรียงตัวของโลก ดาวพุทธ ศุกร์ และ ดาวอังคารในบางพี้นที่บนโลกอีกด้วย



    [​IMG]


    จากการคำนวณแรงกระทำที่ดวง อาทิตย์จะสูงสุดในวันที่ 8 กรกฏาคม 2010 เวลา 20:00 UTC +/- 2ชั่วโมง


    [​IMG]


    พี้นที่ๆคาดว่าจะได้ผลกระทบหลักๆ ในวันที่ 8 กรกฎาคม คศ 2010
    หลังจากนั้นจะเกิดภัยพิบัติขี้นอีก ทีประมาณวันที่ 11 กรกฏาคม 2010 ซีงเป็นวันที่เกิด สุริยุปราคาซี่งคาดว่าขนาดของแผ่นดินไหวจะเล็กว่าในวันที่ 8 กรกฏาคม 2010 ส่วนบริเวณที่จะได้รับผลกระทบนั้น คาดว่าจะเป็นประเทศใกล้เคียงกับที่เกิดในวันที่ 8 กรกฏาคม 2010 ซ๊่งได้แก่ประเทศทางเอเซียตะวันออก เป็นหลัก และ ประเทศในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก ผลกระทบหลังจากนั้นจะอยู่ในรูปแบบของภัยธรรมชาติรูปแบบของสภาพอากาศแปรปรวน ต่อเนื่องหลังจากนั้นไปประมาณ 3-4 วัน


    [​IMG]


    สุริยุปราคา ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2010 เวลาประมาณ 19 UTC และพี้นที่ๆจะได้เห็นปรากฏการณ์นี้ ซ๊่งอยู่บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก
    สถานการณ์ของดวงอาทิตย์ในช่วงที่ดาวเรียงตัว

    ในวันที่ 27 มิถุนายน นั้น ยังไม่มีปฏิกริยาพระอาทิตย์ในรูปแบบของเปลวพลังงานสนามแม่เหล็ก ซี่งอาจจะต้องรอหลังวันที่ 30 มิถุนายนเป็นต้นไป และทางเวป Truth4thai.org จะรายงานให้ทราบภายหลังเมื่อมีข้อมูล
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คืนนี้ 27 มิถุนายน 53 น่าจับตาเรื่องแผ่นดินไหวหน่อยนะ

    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...