พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ตกลงอาจารย์ปู่ท่านว่าอย่างไร? ใช่พระธาตุของสมเด็จโตหรือไม่ ยังไม่ได้แจ้งให้เพื่อนพ้องน้องพี่ชาวคณะพระวังหน้าเลยนะครับ จะมอบแล้วหรือ หรือว่าใช่แน่แท้ จึงได้มอบ ...

    ตอนนี้ตารางเรียนออกมาแล้ว ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ เสาร์อาทิตย์ติดแน่นไปไหนยากมากเลย มีสัปดาห์ที่ 14 วันที่ 4 ต.ค. 2552 เขาหยุดวันออกพรรษาได้ 1 วัน ปลายเดือนต.ค.(ส.-อา.)สอบกลางภาค จากนั้นก็เรียนภาค 2 ยาว ไปสอบอีกครั้งก็กลางเดือนมี.ค.2553

    ส่วนวันที่ 5-14 ธ.ค. ก็จะไปทำบุญวันเฉลิมพระชนมพรรษา และถือธุดงค์รักษาศีล 8 และกรรมบถ 10 ต่ออีก 9 วัน รวม 10 วัน ที่วัดท่าซุง

    ก็ขอโมทนาในบุญทานต่างๆที่จะมีขึ้นในกาลข้างหน้ากับเพื่อนๆชาวคณะพระวังหน้าด้วยครับ..
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมยังไม่ได้ถามครับ ครั้งที่แล้วผมลืมถาม แต่ในครั้งนี้ผมไม่ลืมแน่นอน

    แต่ไม่ใช่พระธาตุสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีแน่นอน เนื่องจากสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พระมรังสี ยังไม่เป็นพระอรหันต์

    แต่วัตถุนี้ เสด็จมาเอง มาที่พระบูชาสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี (มาอยู่ที่หน้าตัก) ครับ

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ชั้นฟ้า

    ����ͧ��š ��š ��鹿�� ����� ������� ��������

    ที่มา กระปุก

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

    ชั้นฟ้า (เดลินิวส์)

    "ครว่า เซียรส์ ทาวเวอร์" ตึกระฟ้าแห่งเมืองชิคาโก้ มลรัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ที่เคยเป็นแชมป์ตึกสูงที่สุดในโลก (ระหว่างปี พ.ศ. 2517 ถึง พ.ศ. 2541) ปัจจุบันหล่นมาสูงสุดแค่อันดับ 4 แต่ก็ยังเป็นที่ 1 ในแดนมะกัน ด้วยความสูง 442 เมตร (หรือ 1,451 ฟุต) มีทั้งหมด 108 ชั้น จะไม่มีอะไรน่าสนใจอีกแล้วนอกจากความสูง

    ล่าสุดเจ้าของตึกดังกล่าว ท้าผู้มาเยือนให้ขึ้นไปวัดใจบน "ชั้นฟ้า" ที่ไม่ใช่ชั้นที่ 108 หรือ ดาดฟ้าตึก แต่เป็นส่วนต่อขยายด้วยกระจกใสที่ยื่นออกไปนอกตัวอาคารบนชั้นที่ 103 หรือในระดับความสูง 1,353 ฟุต

    ชั้นฟ้าที่ว่าคล้ายระเบียงที่ยื่นออก แต่ถูกสร้างให้มิดชิดปิดด้วยกระจกอย่างหนา 1.5 นิ้ว กว้าง 10 ฟุต ยาว 10 ฟุต และรับน้ำหนักได้ไม่เกิน 5 ตัน มีค่าใช้จ่ายในการขึ้นไปสัมผัสทิวทัศน์ระดับเดียวกับเมฆหมอกในราคาคนละ 15 เหรียญสหรัฐ (ราว 500 บาท)

    ด้วยความสูงของชั้นฟ้าจะทำให้ผู้กล้ามองเห็นทัศนียภาพของเมืองชิคาโก้ แต่หากก้มมองไปที่พื้นกระจก คุณจะยืนอยู่ตรงจุดนั้นได้นานเท่าไหร่?





    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก เดลินิวส์
    [​IMG]
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>อย่าหลงเชื่ออีเมล"ภาพลับ"ราชาเพลงป็อป
    CyberBiz - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>3 กรกฎาคม 2552 11:28 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=150 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>โซโฟส (Sophos) และไซแมนเทค (Symantec) ค่ายโปรแกรมแอนตี้ไวรัสพร้อมใจออกประกาศเตือนภัยไวรัสอินเทอร์เน็ตที่ใช้การเสียชีวิตของราชาเพลงป็อป "ไมเคิล แจ็คสัน" เป็นเครื่องมือ โดยทั้งคู่เตือนภัยว่าอย่าหลงเชื่ออีเมลที่ระบุว่ามีเพลงและภาพลับของแจ็คสัน เพราะคอมพิวเตอร์ของคุณอาจติดเชื้อไวรัสทันทีหากคลิกดาวน์โหลดไฟล์

    อีเมลมหาภัยนี้ใช้ชื่อว่า "Remembering Michael Jackson" เพื่อระลึกถึงราชาเพลงป็อปที่เพิ่งจากไป ข้อมูลระบุว่าอีเมลนี้ถูกส่งมาจากอีเมลแอดเดรส "sarah@michaeljackson.com"

    เมลนี้จะล่อลวงผู้รับโดยแนบไฟล์ชื่อ "Michael songs and pictures.zip" ระบุว่าเป็นเพลงและภาพลับของแจ็คสันที่ไม่เคยเผยแพร่ต่อสาธารณชน

    ทั้งสองบริษัทย้ำว่าอย่าเปิดไฟล์แนบเด็ดขาด

    "การเปิดไฟล์แนบจะทำให้คอมพิวเตอร์ติดไวรัส เมื่อติดไวรัส คอมพิวเตอร์จะส่งหนอนออกไปยังอีเมลแอดเดรสที่มีอยู่ในเครื่องโดยอัตโนมัติ กระจายตัวไปเรื่อยๆ" โซโฟสกล่าว "นอกจากกระจายตัวผ่านอีเมล ผู้ชำนาญของโซโฟสพบว่าไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายไปยังแฟลชไดร์ฟยูเอสบีด้วย โดยใช้ฟีเจอร์ Autorun หรือการรันโปรแกรมอัตโนมัติ"

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=150 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150>[​IMG] </TD></TR><CAPTION align=bottom>ตัวอย่างอีเมลมหาภัย "Remembering Michael Jackson"</CAPTION></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>เกรแฮม คลูลีย์ (Graham Cluley) ที่ปรึกษาอาวุโสด้านเทคโนโลยีของโซโฟสกล่าวว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จำนวนมากหลงเปิดไฟล์แนบเหล่านี้เพราะมีความสนใจกับข่าวการเสียชีวิตแบบกระทันหันของแจ็คสัน แต่ก็มีผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่รับรู้ได้ว่านี่คือกลลวงที่ผู้ประสงค์ร้ายมักใช้ข่าวหรือสถานการณ์ที่สังคมให้ความสนใจมาเป็นประเด็นในการล่อลวงบ่อยครั้ง

    ขณะที่ฝ่ายตอบสนองด้านความปลอดภัยของไซแมนเทค (Symantec Security Response) ระบุว่าหนอนชนิดนี้เป็นหนอนประเภท W32.Ackantta.F@mm โดยในไฟล์ Michael songs and pictures.zip นั้นจะมีไฟล์ชื่อ MichaelJacsongsongsandpictures.doc.exe พ่วงมาด้วย ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวสำเนาของหนอนไวรัส ทำให้สามารถแพร่กระจายตัวเองแบบอัตโนมัติทันทีที่มีการคลิกเปิดไฟล์

    "ใครก็ตามที่ได้รับอีเมลนี้ ควรลบทิ้งทันทีเพื่อป้องกันตัวเองและเพื่อนทางอีเมล" คลูลีย์กล่าว

    Company Relate Link :
    Sophos
    Symantec
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    โมทนาสาธุครับ

    แต่ผมไม่ค่อยมีความรู้เรื่องบูชาพระธาตุเลยครับ

    เมื่ออาราธนาท่านแล้วต้องทำยังงัยบ้างครับ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=661 border=0><TBODY><TR><TD class=textHeadBlue>กล้องสายลับขนาดเท่ารีโมทรถ!</TD></TR><TR><TD height=25>:: INN online .- ʴ�ѹ�շ���բ��� ::</TD></TR><TR><TD><B><TABLE height=300 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=664 border=0><TBODY><TR><TD width=1></TD><TD vAlign=top width=660>
    <!-- [​IMG] -->
    </B>
    <!-- Show Detail -->
    JTT Spy Camera Keychain กล้องขนาดจิ๋ว หน้าตาเหมือนกับรีโมทรถยนต์
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD height=5></TD></TR>


    <!-- Show Image -->
    [​IMG]



    <!-- End Show Image -->



    </TBODY></TABLE>

    วันนี้ กล้องถ่ายภาพนั้นจะมีขนาดเล็กลงไปเรื่อยๆ ล่าสุดกลายเป็นพวงกุญแจไปเรียบร้อยกับ JTT Spy Camera Keychain...

    JTT Spy Camera Keychain เป็นกล้องขนาดจิ๋ว หน้าตาเหมือนกับรีโมทรถยนต์ ที่คุณภาพก็พอไปวัดไปวาได้ ถ้าภาพนิ่งก็ได้ ถ่ายวีดีโอก็ดี มีหน่วยความจำในตัวถึง 4GB แยกส่วนของการทำงานอย่างชัดเจน เพราะมีปุ่ม 2 ปุ่ม เอาไว้สั่งงานกล้องถ่ายภาพนิ่งปุ่มนึง และกล้องวีดีโออีกปุ่มนึง ความละเอียดของกล้องตัวนี้คือ 1.3 ล้านพิกเซล ขนาดภาพที่ออกมาได้ก็จะประมาณ 640 x 480 /29 fps สำหรับภาพวีดีโอ และขนาด 1280 x 960 / JPEG สำหรับภาพนิ่ง ชาร์จไฟได้ผ่าน USB โดยใช้แบทเตอรี่ขนาด 280mA

    ที่มา : igadgety.com


    </TD></TR></TBODY></TABLE></B></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    ได้ครับ

    เมื่อก่อนผมไม่กล้ามีไว้บูชาเลยครับ

    ครั้งนี้อาจจะเป็นครั้งแรกในชีวิตน่ะครับ
     
  10. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เมื่อ 10กว่าปีก่อนเคยไปยืนที่ตึกหนึ่งครับตัดเป็นช่องกระจกมองทะลุลงไปข้างล่างกว่า80ชั้น ขนาดผมไม่ค่อยกลัวอะไรเท่าใดนะครับไปยืนแล้วก็ความรู้สึกบอกไม่ถูกเลยครับ หุ หุ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>คุมไม่อยู่! วันนี้ป่วยหวัด09เพิ่ม231ราย รวม 2,076 ราย
    Quality of Life - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>5 กรกฎาคม 2552 12:16 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> "วิทยา"นำทีมผู้บริหารระดับสูง ออกตรวจเยี่ยมโรงพยาบาลในสังกัดดูแลรักษาผู้ป่วยหวัด09 เผยยอดผู้ติดเชื้อเพิ่ม 231 ราย ทำให้ยอดผู้ป่วยสะสมรวม 2,076 ราย มอบนโยบายเน้นแบบวันสต็อบ เซอร์วิส ตรวจรักษา จ่ายยาเบ็ดเสร็จที่จุดเดียว เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อสู่คนอื่น เตือนผู้ที่ป่วยไข้หวัดใหญ่ ห้ามกินแอสไพริน ระบุเสี่ยงตับวายถึงตาย ชวนคนไทยปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันใหม่ หลังจากเดินทางถึงที่ทำงานล้างมือ เช็ดโต๊ะเพื่อสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม ทำให้ปลอดโรค ส่วนผู้ป่วยหนัก 3 ราย อาการทรงตัว

    วันนี้( 5 ก.ค. 52) นายวิทยา แก้วภราดัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมคณะ เดินทางไปตรวจเยี่ยมโรงพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี โรงพยาบาลตราด โรงพยาบาลระยองและโรงพยาบาลชลบุรี เพื่อติดตามมาตรฐานการดำเนินงานดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 เพื่อลดการเสียชีวิตของผู้ป่วย รวมทั้งการป้องกันควบคุมการแพร่เชื้อ

    นายวิทยากล่าวว่า การพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ฯ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขณะนี้กระทรวงสาธารณสุข ได้วางแนวทางการดูรักษาไว้ 2 ส่วน โดยในกลุ่มที่มีอาการไม่รุนแรง ซึ่งจะพบเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่รายที่ไข้ไม่สูง ไม่มีอาการซึม และรับประทานอาหารได้ สามารถรักษาตามอาการด้วยตนเองที่บ้านได้ ไม่จำเป็นต้องไปโรงพยาบาล โดยในการใช้ยาลดไข้ ให้ใช้ยาพาราเซตามอล นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ ควรหยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหายเป็นปกติ หลีกเลี่ยงการคลุกคลีคนใกล้ชิด หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น

    นายวิทยากล่าวต่อว่า หากอาการไม่ดีขึ้น ไข้ยังสูงติดต่อกัน 2-3 วัน มีอาการไอมาก หายใจลำบาก หอบเหนื่อย อาเจียนมาก มีอาการซึมลง ควรรีบพบแพทย์ ซึ่งขณะนี้โรงพยาบาลในสังกัดทั่วประเทศกว่า 800 แห่งทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ได้จัดช่องทางบริการพิเศษให้ผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจเป็นการเฉพาะ เพื่อผู้ป่วยได้รับความสะดวก ได้รับการดูแลอย่างรวดเร็ว ไม่แพร่เชื้อสู่คนอื่น หากมีอาการรุนแรงหรืออยู่ในกลุ่มที่เสี่ยงอาการรุนแรง แพทย์จะรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล และดูแลอย่างดีที่สุด เพื่อป้องกันการเสียชีวิต ซึ่งขณะนี้โรงพยาบาลในสังกัดทุกระดับ ได้จัดเตรียมห้องแยกไว้ดูแลเป็นการเฉพาะแล้ว และจัดทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากส่วนกลางไว้เป็นที่ปรึกษาแพทย์ทั่วประเทศทั้งรัฐและเอกชนตลอด 24 ชั่วโมง

    ด้าน นายมานิต นพอมรบดี - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้สัมภาษณ์ภายหลังตรวจเยี่ยมโรงพยาบาลนครปฐม โรงพยาบาลสมุทรสาคร และโรงพยาบาลราชบุรี เพื่อติดตามการดำเนินดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ฯเมื่อเช้าวันนี้ว่า กระทรวงสาธารณสุขได้สั่งการให้โรงพยาบาลในสังกัดทุกแห่งทั่วประเทศ จัดช่องทางพิเศษสำหรับผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจโดยเฉพาะ ดูแลทั้งโรคไข้หวัดทั่วไปและโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ฯ ไม่ให้ปะปนกับผู้ป่วยอื่นๆ เป็นบริการแบบเบ็ดเสร็จ ตรวจ รักษา จ่ายยาที่จุดเดียวหรือวัน สต็อบ เซอร์วิส ให้ใช้สถานที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อให้ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ฯได้รับความสะดวก และไม่แพร่กระจายเชื้อให้ผู้ป่วยอื่นๆ เพราะโดยทั่วไปผู้ป่วยที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล จะมีภูมิต้านทานต่ำอยู่แล้ว อาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย

    “ขอให้ประชาชนอย่าตื่นตระหนก เพราะโรคนี้สามารถป้องกันและรักษาให้หายได้ โดยขอให้ดูแลตนเองตามที่กระทรวงสาธารณสุขรณรงค์ คือกินร้อน ช้อนกลางและล้างมือ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อมาถึงที่ทำงานหรือที่โรงเรียน ให้ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและสบู่ หรือเจลล้างมือฆ่าเชื้อโรคในระหว่างการเดินทาง มือจะสัมผัสกับเชื้อโรคที่ติดอยู่กับสิ่งสาธารณะต่างๆที่มีผู้คนใช้รวมกันมากๆเช่นราวโหนรถเมล์ ที่จับประตูเป็นต้น” นายมานิตกล่าว

    นายมานิตกล่าวต่อว่า ได้เน้นย้ำให้ผู้ดูแลพื้นที่สาธารณะต่างๆ ดูแลทำความสะอาดเพิ่มขึ้น โดยเน้นทำความสะอาดบ่อยๆ ด้วยน้ำผสมผงซักฟอก สำหรับเด็กนักเรียน ในช่วงวันหยุดยาว 5 วันนี้ ขอให้ดูแลตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ฯ โดยไม่ไห้ไปร้านเกม งดไปโรงเรียนกวดวิชา หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีคนอยู่จำนวนมากๆ โดยขอให้อยู่บ้านอ่านหนังสือแทน ส่วนคนที่ป่วยให้ดูแลตนเองมากขึ้น

    นายมานิตได้เปิดเผยสถานการณ์ล่าสุดกรณีผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ว่าขณะนี้พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่เพิ่ม 231 ราย ในกลุ่มนี้เป็นนักเรียน 205 ราย และมีการติดเชื้อภายในประเทศ 26 ราย ทำให้มียอดผู้ป่วยสะสมรวม 2,076 ราย รักษาหายแล้ว 2,036 ราย เหลือนอนรับการรักษาพยาบาล 33 ราย ยอดเสียชีวิตสะสมรวม 7 ราย

    ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขได้กำชับให้ทุกโรงพยาบาลทั่วประเทศเพิ่มช่องทางการรักษาโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่โดยเฉพาะ เพื่อให้การรักษาไปเป็นอย่างรวดเร็ว พร้อมเตรียมส่งเสริมให้ปรับพฤติกรรมคนไทยใหม่ หลังจากเดินทางถึงที่ทำงาน สิ่งแรกที่ควรทำคือการล้างมือ และเช็ดโต๊ะเก้าอี้ทำงานเพื่อให้ปลอดโรค และสร้างสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีในการทำงาน แทนการถึงที่ทำงานแล้วชงและดื่มกาแฟ

    ด้าน นพ.ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการน่าเป็นห่วงขณะนี้มี 3 ราย รายแรกเป็นหญิงวัย 81 ปี จังหวัดพิจิตร ขณะนี้รับการรักษาอยู่ที่ห้องไอซียู มีโรคอื่นแทรกซ้อนร่วมด้วย แต่อาการทั่วไปขณะนี้ดีขึ้น

    รายที่ 2 เป็นหญิง อายุ 24 ปี จังหวัดราชบุรี มีภาวะอ้วนน้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร ขณะนี้ได้ย้ายมารับการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราชแล้ว ส่วนรายที่ 3 เป็นหญิงวัย 21 ปี จังหวัดชลบุรี ขณะนี้อาการยังคงทรงตัว และยังคงอยู่ในห้องไอซียูเช่นกัน ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขเตรียมถือโอกาสนี้ส่งเสริมให้ประโยชน์รักษาสุขภาพออกกำลังลดพุ่ง ลดความอ้วน เนื่องจากความอ้วนเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิด

    นพ.ไพจิตร์ยังกล่าวอีกว่า ในการลดไข้ผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ที่มีไข้สูง ทำได้ 2 วิธี คือเช็ดตัวด้วยน้ำสะอาด น้ำธรรมดาทั่วๆไป โดยบิดผ้าให้เปียกหมาดๆ น้ำจะมีคุณสมบัติช่วยพาความร้อนระเหยออกจากร่างกาย วิธีการเช็ดให้เช็ดจากส่วนปลายอวัยวะเข้าหาหัวใจ เช่นปลายเท้า มือ เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนขับความร้อนออกจากร่างกายให้ดียิ่งขึ้นและวางผ้าตามซอกคอ รักแร้ ข้อพับ เพื่อถ่ายเทความร้อนออกมาจากผิวหนัง และใส่เสื้อผ้าบางๆ ส่วนยาลดไข้แนะนำให้ใช้พาราเซตามอล อาจจะกินทุก 4-6 ชั่วโมง ไม่ควรกินยาแอสไพริน เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาตับอักเสบและตับล้มเหลวที่เรียกว่า เรย์ ซินโดรม (Reye’s syndrome) เป็นอันตรายแก่ชีวิตได้

    ในขณะที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ “เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์” ถึงกรณีที่รัฐบาลได้ประกาศวันหยุดยาว 5 วัน ในช่วงเทศกาลวันอาฬาสหบูชาและวันเข้าพรรษา เชื่อว่าจะช่วยให้การแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ลดลง เพราะแหล่งเสี่ยงของการแพร่ระบาด เช่น โรงเรียน สถานบันเทิงปิดชั่วคราว เนื่องจากรัฐบาลได้ประกาศห้ามขายเหล้าหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ รวมทั้งได้ให้ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าไปดูแลทำความสะอาด

    อย่างไรก็ตาม นายอภิสิทธิ์ยังได้แสดงความเสียใจเสียใจต่อผู้เสียชีวิตทั้งหมดจากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งจากการที่ได้ติดตามอย่างใกล้ชิด ทราบว่ามีปัจจัยอื่นแทรกซ้อนเข้ามา เช่น มีโรคประจำตัว เป็นต้น แต่ก็ได้กำชับให้สถานพยบาลให้ดูแลอย่างรัดกุมมากขึ้น พร้อมย้ำว่า ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ฯ เหมือนกับไข้หวัดใหญ่ปกติ ทุกคนสามารถป้องกันได้ ด้วยการดูแลสุขภาพ หมั่นล้างมือ หากมีดอาการไข้ให้รีบไปพบแพทย์ รวมทั้งหลีกเลี่ยงไปในที่ชุมชน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา กระทู้ รวมก๋วยเตี๋ยว ที่ไม่ธรรมดา เว็บพลังจิต

    และ กระทู้ รวมก๋วยเตี๋ยว ที่ไม่ธรรมดา เว็บอกาลิโก


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"ไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด" รสเด็ดเป็ดนุ่ม สูตรสมุนไพร
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>5 กรกฎาคม 2552 15:09 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>บรรยากาศภายในร้าน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ใครที่เคยผ่านไปผ่านมาแถวถนนร่วมจิตต์ตัดใหม่ คงจะสังเกตเห็นป้ายร้านอาหารแห่งหนึ่งที่เขียนไว้ว่า "ร้านไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด" ฟังดูพิลึกๆตรงที่ว่าชื่อร้านเป็นไก่ แต่ดันขายเป็ด เห็นแล้วชักเป็นงง งองู 2 ตัว และชื่อนี้ก็คุ้นหูเคยมีคนพูดถึงบ่อยๆ วันนี้ "ผ่านมาแวะกิน" จึงขอแวะไปกินไปลิ้มลองรสตามคำร่ำลือ

    และเพื่อไขข้อข้องใจ "ผ่านมาแวะกิน" จึงได้เข้าไปถามกับเจ้าของร้านคือ คุณณัฐเสกร์ ไทยศิริมงคล และเมื่อสอบถามก็ได้ความมาว่า ชื่อร้านเป็นชื่อของลูกคนเล็ก ตอนแรกไม่ได้ใช้ชื่อนี้ซึ่งก็ขายไม่ค่อยดี จึงเปลี่ยนชื่อใหม่มาเป็นไก่แก้ว และย้ายทำเลที่ตั้งมาตั้งที่ถนนร่วมจิตตัดใหม่ในปัจจุบัน

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กึ๋น ตับ เนื้อเป็ดชิ้น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>คุณณัฐเสกร์ เล่าว่าเปิดร้านมากว่า 13 ปี ซึ่งเป็นก๋วยเตี๋ยวเป็ดสูตรสมุนไพรไทยที่คิดค้นขึ้นมาเอง โดยเลือกใช้เป็ดจีนเพราะหนังจะบางไม่มีมัน แล้วคัดเอาน้ำหนักตัวที่ 3 กิโลกรัมขึ้นไป

    จากนั้นก็นำเอาเป็ดมาต้มกับเครื่องสมุนไพรไทยต่างๆ อาทิ เครื่องพะโล้ ไม้หอม อบเชย เร่วจากเมืองจันทบุรี เม็ดพริกไทย ผักชี นำมาต้มเคี่ยวเกือบ 2 ชั่วโมง จึงได้ออกมาเนื้อนุ่มไม่เหนียวเลยแม้แต่น้อย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>บะหมี่น้ำเป็ด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>"ผ่านมาแวะกิน" ได้ฟังแล้วก็น้ำลายสอ จึงขอสั่งอาหารมาลิ้มลองรสชาติกันเลย โดยจานแรกเป็น เกี๊ยวทอด (25บาท) มาเป็นออเดิร์ฟเรียกน้ำย่อยระหว่างรอเมนูจานหนัก โดยเกี๊ยวทอดของที่ร้านนี้เป็นแผ่นเกี๊ยวห่อไส้เนื้อหมู ทอดสดๆใหม่ๆกรอบแห้ง ต้องขอบอกว่าแห้งจริงๆ เหมือนไม่ได้ทอดในน้ำมันเลยก็ว่าได้

    ตามมาติดๆด้วย ตับ กึ๋น เป็ดชิ้น (100 บาท) โดย กึ๋น จะต้มให้นุ่มกับน้ำพะโล้ เคี้ยวนุ่มไม่เหนียวได้รสพะโล้ ส่วน ตับ ก็ลวกในน้ำพะโล้ ชิ้นใหญ่เคี้ยวนุ่มเช่นกัน สำหรับเนื้อเป็ดก็ไม่มีมันเคี้ยวนุ่ม ไม่เหม็น ไม่สาบ จะกินเดี่ยวๆ หรือจะจิ้มกับน้ำจิ้มที่ทางร้านปรุงขึ้นมาเอง เป็นน้ำจิ้มคล้ายน้ำจิ้มซีฟู้ดออกรสเปรี้ยว เผ็ด เค็ม เด็ดจัดจ้านก็ได้ไม่ว่ากัน

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ไส้แก้ว</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>จานถัดมาคือ ไส้แก้ว (40 บาท) ) ซึ่งก็คือไส้เป็ดสีใส ที่ทางร้านล้างทำความสะอาดหลายต่อหลายรอบเป็นอย่างดี เพื่อให้ได้ไส้ที่สะอาดไม่มีกลิ่น ไม่ใส่สารใดๆ เคี้ยวกรึบกรอบปาก ยิ่งจิ้มกับน้ำจิ้มสูตรพิเศษของทางร้านก็ยิ่งเด็ด

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เกี๊ยวลวกจิ้ม </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ต่อด้วย บะหมี่น้ำเป็ดทุกอย่าง (30 บาท) ซึ่งบะหมี่เป็นบะหมี่เส้นเป๊าะ หรือบะหมี่เหลืองที่เส้นใหญ่กว่าบะหมี่ปกตินั่นเอง แล้วก็ใส่เป็ดชิ้น ไส้ ตับ กึ๋น เลือด น้ำซุปหอมหวานเครื่องพะโล้ กลมกล่อม

    นอกจากเส้นบะหมี่แล้ว ยังมีเส้นเล็กที่สั่งมาจากเมืองจันทบุรี เป็นเส้นที่เล็กกว่าเส้นเล็กทั่วไป เหนียวนุ่ม เคี้ยวนุ่มลื่นปาก นอกจากนี้ยังมีเส้นก๋วยเตี๋ยวให้เลือกอีกได้แก่ เส้นหมี่ เส้นใหญ่ และวุ้นเส้น

    เมนูสุดท้ายคือ เกี๊ยวลวกจิ้ม ( 40 บาท) ซึ่งเป็นเกี้ยวเนื้อหมูและเนื้อเป็ดหมักปรุงรสตีจนเหนียวหมักไว้ครึ่งชั่วโมง จึงนำมาห่อแผ่นเกี๊ยว นำไปลวกสุกเป็นเกี๊ยวคำโตเคี้ยวได้เนื้อเต็มๆปากเต็มคำ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ข้าวหน้าเป็ด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>นอกจากนี้ยังมีให้เลือกอิ่มอีกหลายเมนู อาทิ ข้าวหน้าเป็ด (30 บาท) เส้นเล็กแห้งเป็ดทุกอย่าง (30 บาท) ขนมทำเองได้แก่ ขนมกล้วยโบราณ (3ชิ้น 10 บาท) ขนมเทียนไส้เค็ม (3 ชิ้น 10 บาท) ข้าวต้มมัดไส้กล้วยและไส้เผือก (มัดละ 10 บาท) และของหวานยังมีไอศกรีมกะทิ ใส่ข้าวเหนียว ลูกชิด ( 15 บาท) ด้วย ถ้าเริ่มหิวแล้วละก็อย่าลืมแวะกินได้ที่ร้านไก่แก้วแต่ขายก๋วยเตี๋ยวเป็ดเจ้านี้ได้เลย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ขนมต่างๆ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

    ร้านไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด ตั้งอยู่บน ถนนร่วมจิตต์ตัดใหม่ เขตดุสิต กทม. การเดินทาง ถ้ามาจากถนนนครไชยศรีวิ่งมาจากราชวัตรข้ามคลองมา ผ่านสี่แยกพิชัย พอถึงแยกถัดไปคือแยกร่วมจิตต์(จุดสังเกตคือตรงสี่แยกมีไปรษณีย์ดุสิต) พอถึงแยกให้เลี้ยวขวาเข้าถนนร่วมจิตต์ตัดใหม่ ตรงมาครึ่งทางร้านไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ดจะอยู่ทางขวามือเยื้องตึก Bเบญจมาศ ร้านเปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.30-16.00 น. รับจัดงานนอกสถานที่ โทร.0-2243-5514, 08-1913-4173, 08-9682-6363

    คลิก!! อ่านรายละเอียดและแผนที่การเดินทางไปยังร้าน "ไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด"

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>รายละเอียดและแผนที่การเดินทางไปยังร้าน "ไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด"
    Travel - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>5 กรกฎาคม 2552 15:14 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ชื่อร้าน : ไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ด

    ประเภทอาหาร
    : ก๋วยเตี๋ยวเป็ด

    เมนูจานเด่น : กึ๋น ตับ เนื้อเป็ดชิ้น, บะหมี่น้ำเป็ด, ไส้แก้ว, เกี๊ยวลวกจิ้ม, ข้าวหน้าเป็ด

    บรรยากาศร้าน : มีโต๊ะให้เลือกนั่งสบายๆ

    ที่ตั้ง และการเดินทาง : ตั้งอยู่บน ถนนร่วมจิตต์ตัดใหม่ เขตดุสิต กทม. การเดินทาง ถ้ามาจากถนนนครไชยศรีวิ่งมาจากราชวัตรข้ามคลองมา ผ่านสี่แยกพิชัย พอถึงแยกถัดไปคือแยกร่วมจิตต์(จุดสังเกตคือตรงสี่แยกมีไปรษณีย์ดุสิต) พอถึงแยกให้เลี้ยวขวาเข้าถนนร่วมจิตต์ตัดใหม่ ตรงมาครึ่งทางร้านไก่แก้วก๋วยเตี๋ยวเป็ดจะอยู่ทางขวามือเยื้องตึก Bเบญจมาศ

    เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.30-16.00 น.

    เบอร์โทรศัพท์ :0-2243-5514, 08-1913-4173, 08-9682-6363
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันอาสาฬหบูชา

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    วันอาสาฬหบูชา - วิกิพีเดีย

    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->
    เว็บย่อ: th.wikipedia.org/wiki/Asalha Puja
    <TABLE class=toccolours id=WSerie_Buddhism style="BORDER-RIGHT: #060 1px solid; BORDER-TOP: #060 1px solid; FLOAT: right; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; BORDER-LEFT: #060 1px solid; BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center" cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG]

    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ไตรสรณะ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล · ธรรม
    ศีลห้า · เบญจธรรม
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TH colSpan=2>[​IMG] สถานีย่อย</TH></TR></TBODY></TABLE>[​IMG] [​IMG]
    วันอาสาฬหบูชา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันพระธรรม" และ "วันพระสงฆ์" เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาประกาศพระธรรมจักร (ฟัง) เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ และเป็นวันที่บังเกิดมีพระสงฆ์ครบเป็นองค์พระรัตนตรัยครั้งแรกในโลก


    <TABLE><TBODY><TR vAlign=center><TD style="FONT-SIZE: 300%">[​IMG]</TD><TD>บทความนี้ใช้ระบบปีพุทธศักราช เพราะเป็นส่วนหนึ่งของบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ พ.ศ. และ/หรือมีการอ้างอิงไปยังพุทธศตวรรษ
    สำหรับก่อนปี พ.ศ. 2484 นับให้วันที่ 1 เมษายนเป็นวันแรกของปี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    วันอาสาฬหบูชา (บาลี: อาสาฬหปูชา; อังกฤษ: Asalha Puja) เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94_0-0>[1]</SUP> คำว่า อาสาฬหบูชา ย่อมาจาก "อาสาฬหปูรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ" อันเป็นเดือนที่สี่ตามปฏิทินของประเทศอินเดีย ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย ซึ่งมักจะตรงกับเดือนมิถุนายนหรือเดือนกรกฎาคม แต่ถ้าในปีใดมีเดือน 8 สองหน ก็ให้เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 8 หลังแทน สำหรับในปี พ.ศ. 2552 นี้ วันอาสาฬหบูชาจะตรงกับวันอังคารที่ 7 กรกฎาคม ตามปฏิทินสุริยคติ
    วันอาสาฬหบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมีดิถี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาเป็นครั้งแรกเป็นปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>
    การแสดงธรรมครั้งนั้นทำให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ใน 5 ปัญจวัคคีย์ เกิดความเลื่อมใสในพระธรรมของพระพุทธเจ้า จนได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก และด้วยเหตุที่ท่านได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคล (อนุพุทธะ) เป็นคนแรก จึงทำให้ในวันนั้นมีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้วันนี้ถูกเรียกว่า "วันพระธรรม" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แก่วันที่ล้อแห่งพระธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็นครั้งแรก และ "วันพระสงฆ์" คือวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก อีกด้วย
    เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีการบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาในประเทศพุทธเถรวาทมาก่อน จนมาในปี พ.ศ. 2501 การบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาจึงได้เริ่มมีขึ้นในประเทศไทย ตามที่คณะสังฆมนตรี ได้กำหนดให้วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรีได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาในประเทศไทย ตามคำแนะนำของ พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจารี)<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเป็นประกาศสำนักสังฆนายกเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_3-0>[4]</SUP> กำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาพร้อมทั้งกำหนดพิธีอาสาฬหบูชาขึ้นอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยมีพิธีปฏิบัติเทียบเท่ากับวันวิสาขบูชาอันเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาสากล
    อย่างไรก็ตาม วันอาสาฬหบูชาถือเป็นวันสำคัญที่กำหนดให้กับวันหยุดของรัฐเพียงแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ส่วนในต่างประเทศที่นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทอื่น ๆ ยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับวันอาสาฬหบูชาเทียบเท่ากับวันวิสาขบูชา

    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ความสำคัญ

    วันอาสาฬหบูชา หรือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมที่ทรงตรัสรู้เป็นครั้งแรก จึงถือได้ว่าวันนี้เป็นวันเริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาแก่ชาวโลก และด้วยการที่พระพุทธเจ้าทรงสามารถ แสดง เปิดเผย ทำให้แจ้ง แก่ชาวโลก ซึ่งพระธรรมที่ทรงตรัสรู้ได้ จึงถือได้ว่าพระองค์ได้ทรงกลายเป็นสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยสมบูรณ์ คือทรงสำเร็จภารกิจแห่งการเป็นพระพุทธเจ้าผู้เป็น "สัมมาสัมพุทธะ" คือทรงเป็นพระพุทธเจ้าผู้สามารถแสดงสิ่งที่ทรงตรัสรู้ให้ผู้อื่นรู้ตามได้ ซึ่งแตกต่างจาก "พระปัจเจกพุทธเจ้า" ที่แม้จะตรัสรู้เองได้โดยชอบ แต่ทว่าไม่สามารถสอนหรือเปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ตามได้ ด้วยเหตุนี้วันอาสาฬหบูชาจึงมีชื่อเรียกว่า "วันพระธรรม"
    วันอาสาฬหบูชา เป็นวันที่ท่านโกณฑัญญะได้บรรลุธรรมสำเร็จพระโสดาบันเป็นพระอริยบุคคลคนแรก และได้รับประทานเอหิภิกขุอุปสมบทเป็นพระสงฆ์องค์แรกในพระศาสนา และด้วยการที่ท่านเป็นพระอริยสงฆ์องค์แรกในโลกดังกล่าว พระรัตนตรัยจึงครบองค์สามบริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก ด้วยเหตุนี้วันอาสาฬหบูชาจึงมีชื่อเรียกว่า "วันพระสงฆ์"<SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>
    ดังนั้น วันอาสาฬหบูชาจึงถูกจัดขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนาดังกล่าว ซึ่งควรพิจารณาเหตุผลโดยสรุปจากประกาศสำนักสังฆนายกเรื่องกำหนดพิธีอาสาฬหบูชา ที่ได้สรุปเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในวันอาสาฬหบูชาไว้โดยย่อ ดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">
    1. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธศาสนา
    2. เป็นวันแรกที่พระบรมศาสดาทรงแสดงพระธรรมจักร์ ประกาศสัจจธรรม อันเป็นองค์แห่งพระสัมมาสัมโพธิญาณ
    3. เป็นวันที่พระอริยสงฆ์สาวกองค์แรกบังเกิดขึ้นในโลก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้รับประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทา ในวันนั้น
    4. เป็นวันแรกที่บังเกิดสังฆรัตนะ สมบูรณ์เป็นพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— ประกาศสำนักสังฆนายกเรื่อง กำหนดพิธีอาสาฬหบูชา
    ในราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_3-1>[4]</SUP>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] เหตุการณ์สำคัญที่เกิดในวันอาสาฬหบูชาในพระพุทธประวัติ


    [แก้] หลังตรัสรู้-ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม

    ในพระไตรปิฏก หลังจากพระพุทธองค์ได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6ตำบลอุรุเวลาเสนานิคมแล้ว พระองค์ได้ประทับเสวยวิมุตติสุขอยู่บริเวณสัตตมหาสถานโดยรอบต้นพระศรีมหาโพธิ์เป็นเวลาถึง 7 สัปดาห์
    และในขณะทรงนั่งประทับเสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์ที่ 5 หลังการตรัสรู้ ภายใต้ต้นอชปาลนิโครธ ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ได้ทรงมานั่งคำนึงว่าสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้นั้นเป็นของลึกซึ้ง คนจะรู้และเข้าใจตามได้ยาก ตามความในมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A3.E0.B8.B3.E0.B8.9E.E0.B8.B6.E0.B8.87.E0.B8.9B.E0.B8.B1.E0.B8.88.E0.B9.80.E0.B8.88.E0.B8.81_5-0>[6]</SUP> ว่า
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... บัดนี้ ไม่สมควรที่เราจะประกาศธรรมที่เราตรัสรู้ เพราะธรรมที่เราตรัสรู้นั้นเป็นสิ่งที่คนทั่วไป ที่ถูกราคะ โทสะครอบงำอยู่จะไม่สามารถมองเห็นได้โดยง่าย, คนที่ถูกราคะย้อมไว้ ถูกกองมืด (คืออวิชชา) หุ้มไว้มิดทั้งหลาย ย่อมไม่สามารถที่จะเข้าใจธรรมะของเราที่เป็นสิ่งทวนกระแส (อวิชชา) ที่มีสภาพลึกซึ้ง ละเอียดเช่นนี้ได้เลย...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] พรหมอาราธนา

    ตามความในคัมภีร์มัชฌิมนิกาย เมื่อพระพุทธองค์ดำริจะไม่แสดงธรรมเช่นนี้ ปรากฏว่าท้าวสหัมบดีพรหมได้ทราบความดังกล่าวจึงคิดว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.97.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B8.AA.E0.B8.AB.E0.B8.B1.E0.B8.A1.E0.B8.9A.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.97.E0.B8.B9.E0.B8.A5.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.98.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.94.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1_6-0>[7]</SUP> "โลกจะฉิบหายละหนอ เพราะจิตของพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าน้อมไปเพื่อความเป็นผู้มีความขวนขวายน้อย ไม่น้อมไปเพื่อแสดงธรรม" ท้าวสหัมบดีพรหม จึงเสด็จลงจากพรหมโลกเพื่อมาอาราธนาให้พระพุทธองค์ทรงตัดสินใจที่จะทรงแสดงพระธรรมที่ทรงตรัสรู้แก่คนทั้งหลาย โดยท้าวสหัมบดีพรหมได้กล่าวว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมแก่ข้าพระองค์เถิด ขอพระสุคตจงทรงแสดงธรรมเถิด สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยมีอยู่ ย่อมจะเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม สัตว์ทั้งหลายผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักยังมีอยู่" จากนั้นท้าวสหัมบดีพรหม ได้กล่าวอาราธนาเป็นนิพนธ์คาถาอีก ใจความโดยสรุปว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.97.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B8.AA.E0.B8.AB.E0.B8.B1.E0.B8.A1.E0.B8.9A.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.97.E0.B8.B9.E0.B8.A5.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.98.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.94.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1_6-1>[7]</SUP><SUP id=fn_2_back>2</SUP>
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... ขณะนี้ ธรรมะที่ไม่บริสุทธิ์ได้เกิดขึ้นในแคว้นมคธมาเนิ่นนาน. ขอให้พระองค์เปิดประตูนิพพานอันไม่ตาย เพื่อสัตว์ทั้งหลายจักได้ฟังธรรมและตรัสรู้ตามเถิด, คนยืนบนยอดเขา ย่อมเห็นได้โดยรอบฉันใด. ข้าแต่พระองค์ พระองค์ย่อมเห็น! พระองค์เห็นเหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่จมอยู่ในความทุกข์โศกทั้งปวง ถูกความเกิดแก่เจ็บตายครอบงำอยู่ไหม!. ลุกขึ้นเถิดพระองค์ผู้กล้า! พระองค์ผู้ชนะสงคราม (คือกิเลส) แล้ว!... ขอพระองค์เสด็จจาริกไปในโลกเถิด, ขอพระองค์จงทรงแสดงธรรมเถิด สัตว์ที่จะรู้ทั่วถึงธรรมของพระองค์ มีอยู่แน่นอน!</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ คาถาพรหมอาราธนา<SUP id=fn_2_back>2</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] บุคคลเปรียบบัวสามเหล่า-ตัดสินใจแสดงธรรม

    หลังจากพระพุทธองค์ทรงพิจารณาตามคำเชื้อเชิญของสหัมบดีพรหมที่เชิญให้พระองค์แสดงธรรม พระพุทธองค์จึงทรงพิจารณาตรวจสัตว์โลกด้วยพุทธจักษุ และทรงเห็นว่า สัตว์โลกที่ยังสอนได้มีอยู่ เปรียบด้วยดอกบัว 3 จำพวก พวกที่จักสอนให้รู้ตามพระองค์ได้ง่ายก็มี พวกที่สอนได้ยากก็มี ฯลฯ ดังความต่อไปนี้<SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP>
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... ครั้นอาตมภาพทราบว่าท้าวสหัมบดีพรหมอาราธนา และอาศัยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย จึงตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ. เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี เปรียบเหมือนในกอบัวขาบ ในกอบัวหลวง หรือในกอบัวขาว ดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ซึ่งเกิดในน้ำ เจริญในน้ำ บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำ จมอยู่ในน้ำ น้ำหล่อเลี้ยงไว้ บางเหล่า ตั้งอยู่เสมอน้ำ บางเหล่า ตั้งขึ้นพ้นน้ำ น้ำไม่ติด ฉันใด ดูกรราชกุมาร เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ฉันนั้น ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงเปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า</TD></TR></TBODY></TABLE>ด้วยเหตุที่พระพุทธองค์พิจารณาบุคคลเปรียบด้วยบัวสามเหล่าดังกล่าว พระพุทธองค์จึง ทรงตัดสินใจที่จะแสดงธรรม เพราะทรง อาศัยบุคคลที่สามารถตรัสรู้ธรรมตามพระองค์ได้เป็นหลัก ดังความที่ปรากฏใน อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต ว่า<SUP class=reference id=cite_ref-8>[9]</SUP>
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... บุคคลบางคนในโลกนี้ ได้เห็นพระตถาคต ได้ฟังธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว จึงหยั่งลงสู่ความแน่นอนมั่นคงและความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย เมื่อไม่ได้เห็น ไม่ได้ฟัง ย่อมไม่หยั่งลงสู่ความแน่นอนมั่นคงและความถูกต้อง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดาบุคคล ๓ จำพวกนั้น เพราะเห็นแก่ บุคคลผู้ได้เห็นพระตถาคต ได้ฟังธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว จึงหยั่งลงสู่ความแน่นอนถูกต้องในกุศลธรรม เมื่อไม่ได้เห็นไม่ได้ฟัง ย่อมไม่หยั่งลง เราจึงอนุญาตการแสดงธรรมไว้ และก็เพราะ อาศัยบุคคลเหล่านี้เป็นหลักอีกเหมือนกัน จึงจำต้องแสดงธรรมแก่บุคคลประเภทอื่นด้วย...

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต คิลานสูตร สูตรที่ ๒</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] หาผู้รับปฐมเทศนา

    [​IMG] [​IMG]
    ธรรมเมกขสถูป สถานที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงจุดที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์


    หลังจากทรงตั้งพระทัยที่จะนำสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้มาสอนแก่มนุษย์ทั้งหลาย พระองค์ได้ทรงพิจารณาหาบุคคลที่สมควรจะแสดงธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้โปรดก่อนเป็นบุคคลแรก ในครั้งแรกพระองค์ทรงระลึกถึง อาฬารดาบสกาลามโคตร และ อุทกดาบสรามบุตร ก่อน ซึ่งทั้งสองท่านเป็นพระอาจารย์ที่พระองค์ได้เข้าไปศึกษาในสำนักของท่านก่อนปลีกตัวออกมาแสวงหาโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ก็ทรงทราบว่าทั้งสองท่านได้เสียชีวิตแล้ว จึงได้ทรงระลึกถึงปัญจวัคคีย์ทั้งห้า ผู้ที่เคยอุปัฏฐากพระองค์ในระหว่างที่ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา และทรงทราบด้วยพระญาณว่า ปัญจวัคคีย์พำนักอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี พระองค์จึงตั้งใจเสด็จไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวันเพื่อแสดงธรรมโปรดปัญจวัคคีย์ทั้งห้าเป็นครั้งแรก<SUP class=reference id=cite_ref-9>[10]</SUP>

    [แก้] เสด็จสู่พาราณสี-โปรดปัญจวัคคีย์

    พระพุทธองค์ใช้กว่า 11 วัน เป็นระยะทางกว่า 260 กิโลเมตร เพื่อเสด็จจากตำบลอุรุเวลา ตำบลที่ตรัสรู้ ไปยังที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์ (สถานที่แห่งนี้ชาวพุทธในยุคหลังได้สร้างสถูปขนาดใหญ่ไว้ ปัจจุบันเหลือเพียงซากกองอิฐมหึมา เรียกว่า เจาคันธีสถูป) เมื่อพระองค์เสด็จไปถึงที่อยู่ของเหล่าปัญจวัคคีย์ในวันเพ็ญเดือน 8 (อาสาฬหมาส) ขณะที่พระองค์กำลังเสด็จเข้าไปที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์ ปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระพุทธเจ้ามาแต่ไกล ด้วยเหตุที่ปัญจวัคคีย์รังเกียจว่า "เจ้าชายสิทธัตถะผู้ได้เลิกการบำเพ็ญทุกขกิริยาหันมาเสวยอาหารเป็นผู้หมดโอกาสบรรลุธรรมได้เสด็จมา" จึงได้นัดหมายกันและกันว่า "พวกเราไม่พึงอภิวาท ไม่พึงลุกขึ้นต้อนรับพระองค์ ไม่พึงรับบาตรจีวรของพระองค์ แต่พึงวางอาสนะไว้ ถ้าพระองค์ปรารถนาจะนั่งก็จักประทับนั่งเอง"
    [​IMG] [​IMG]
    เจาคันธีสถูป สถานที่พระพุทธองค์พบปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรกหลังจากตรัสรู้


    ครั้นพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าไปถึงกลุ่มพระปัญจวัคคีย์ พระปัญจวัคคีย์นั้นกลับลืมข้อตกลงที่ตั้งกันไว้แต่แรกเสียสิ้น ต่างลุกขึ้นมาต้อนรับพระพุทธเจ้า รูปหนึ่งรับบาตรจีวรของพระผู้มีพระภาค รูปหนึ่งปูอาสนะ รูปหนึ่งจัดหาน้ำล้างพระบาท รูปหนึ่งจัดตั้งตั่งรองพระบาท รูปหนึ่งนำกระเบื้องเช็ดพระบาทเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าจึงประทับนั่งบนอาสนะที่พระปัญจวัคคีย์จัดถวายไว้
    พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า "เราตถาคตเป็นอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ เราได้บรรลุอมฤตธรรมแล้ว เราจะสั่งสอน จะแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าสักเท่าไร 'จักทำให้เข้าใจแจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยม อันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์' ที่คนทั้งหลายผู้พากันออกบวชจากเรือนต้องการ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ด้วยตนเอง"
    แรกทีเดียวพระปัญจวัคคีย์ยังไม่เชื่อว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ จึงค้านถึงสามครั้งว่า "แม้ด้วยจริยานั้น แม้ด้วยปฏิปทานั้น แม้ด้วยทุกกรกิริยานั้น พระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษ อย่างประเสริฐ อย่างสามารถ (อุตตริมนุสสธรรมอลมริยญาณทัสสนวิเสส) ก็บัดนี้พระองค์เป็นผู้มักมาก คลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรม อันเป็นความรู้ ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถได้เล่า"
    พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า "พวกเธอยังจำได้หรือว่า เราได้เคยพูดถ้อยคำเช่นนี้มาก่อน" และตรัสว่า
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ท่านทั้งหลายจงเงี่ยโสตลงเถิด เราจะสั่งสอนอมตธรรมที่เราบรรลุแล้ว เราจะแสดงธรรม เมื่อท่านทั้งหลายปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนอยู่ ไม่ช้าเท่าไรก็จักทำให้แจ้งซึ่งที่สุดพรหมจรรย์ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน แล้วเข้าถึงอยู่...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์</TD></TR></TBODY></TABLE>ดัวยพระดำรัสดังกล่าว พระปัญจวัคคีย์จึงได้ยอมเชื่อฟังพระพุทธองค์ เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตเพื่อรู้ยิ่ง<SUP class=reference id=cite_ref-10>[11]</SUP>

    [แก้] ประกาศพระสัจธรรม-แสดงปฐมเทศนา

    [​IMG] [​IMG]
    พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ที่ขุดพบในป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่มีผู้ยกย่องว่าเป็นพระพุทธรูปปางแสดงปฐมเทศนาที่งามที่สุดในโลก<SUP class=reference id=cite_ref-11>[12]</SUP> (ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในพิพิธภัณฑ์สารนาถ)


    เมื่อปัญวัคคีย์ตั้งใจเพื่อสดับพระธรรมของพระองค์แล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-12>[13]</SUP> พระพุทธองค์ทรงจึงทรงพาเหล่าปัญจวัคคีย์ไปสู่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันอันร่มรื่น แล้วทรงแสดง ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (ฟัง) ซึ่งเรียกว่า "ปฐมเทศนา"<SUP class=reference id=cite_ref-13>[14]</SUP> เป็นการยังธรรมจักรคือการเผยแผ่พระธรรมให้เป็นไปเป็นครั้งแรกในโลก<SUP class=reference id=cite_ref-14>[15]</SUP>
    พระพุทธองค์ทรงกล่าวสรุปถึงเนื้อหาของการแสดงพระปฐมเทศนาไว้ในสัจจวิภังคสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ว่า<SUP class=reference id=cite_ref-15>[16]</SUP>

    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... ภิกษุทั้งหลาย! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้นครพาราณสี, เป็นพระธรรมจักรที่สมณะพราหมณ์, เทพ มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก จะต้านทานให้หมุนกลับไม่ได้ (คือความจริงที่ไม่มีผู้ใดปฏิเสธได้) ข้อนี้คือ การบอก การแสดง การบัญญัติ การแต่งตั้ง การเปิดเผย การจำแนก และการทำให้ง่าย ซึ่งความจริงอันประเสริฐสี่ประการ: สี่ประการนั้นได้แก่ ความจริงอันประเสริฐคือความทุกข์, ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้เกิดทุกข์, ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และความจริงอันประเสริฐคือทางที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สัจจวิภังคสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

    เมื่อพระพุทธองค์ตรัสแสดงพระปฐมเทศนานี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรม ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่า "สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวล ล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา" ท่านโกณฑัญญะได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลแล้ว
    [​IMG] [​IMG]
    รูปปูนปั้นพระพุทธเจ้าแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัจจวัคคีย์ในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี


    พระพุทธองค์ทรงทราบความที่พระโกณฑัญญะเป็นผู้ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในคำสอนของพระองค์<SUP class=reference id=cite_ref-16>[17]</SUP> จึงทรงเปล่งพระอุทานว่า "อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ" ท่านผู้เจริญ ท่านโกณฑัญญะ รู้แล้วหนอ เพราะเหตุนั้น คำว่า "อัญญา" นี้ จึงได้เป็นคำนำหน้าชื่อของท่านพระโกณฑัญญะ<SUP class=reference id=cite_ref-17>[18]</SUP>
    เมื่อท่านพระโกณฑัญญะได้บรรลุโสดาบันแล้ว จึงได้กราบทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธองค์จึงทรงประทาน เอหิภิกขุอุปสัมปทา ว่า "เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด"<SUP class=reference id=cite_ref-18>[19]</SUP>
    ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะจึงนับเป็น "พระสงฆ์อริยสาวกองค์แรก" ในพระพุทธศาสนา<SUP id=fn_1_back>1</SUP> ซึ่งวันนั้นเป็นวันเพ็ญ กลางเดือนอาสาฬหะ หรือเดือน 8 เป็น วันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์ บังเกิดขึ้นในโลกเป็นครั้งแรก คือมี "พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์" ครบบริบูรณ์<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A7..E0.B8.9B..E0.B8.A7.E0.B8.B5.E0.B8.A3.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.97.E0.B9.82.E0.B8.98_19-0>[20]</SUP>
    ปัจจุบันสถานที่พระพุทธเจ้าประกาศพระอนุตตรสัจธรรมเป็นครั้งแรก และสถานที่บังเกิดพระสงฆ์องค์แรกในโลก อยู่ในบริเวณที่ตั้งของ ธรรมเมกขสถูป (แปลว่า: สถูปผู้เห็นธรรม) ภายในอิสิปตนมฤคทายวัน หรือ สารนาถในปัจจุบัน
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สถานที่สำคัญเนื่องด้วยวันอาสาฬหบูชา<TABLE class=infobox style="CLEAR: right; BORDER-RIGHT: #af4630 3px solid; BORDER-TOP: #af4630 3px solid; FONT-SIZE: 85%; BACKGROUND: #fffee8; FLOAT: right; BORDER-LEFT: #af4630 3px solid; BORDER-BOTTOM: #af4630 3px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR style="FONT-SIZE: larger; BACKGROUND: #af4630"><TD><SMALL>จุดหมายแสวงบุญใน
    แดนพุทธภูมิ
    </SMALL>
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>พุทธสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล</TH></TR><TR><TD>ลุมพินีวัน · พุทธคยา
    สารนาถ · กุสินารา
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>สาวัตถี · ราชคฤห์
    สังกัสสะ · เวสาลี
    ปาฏลีบุตร · คยา
    โกสัมพี · กบิลพัสดุ์
    เทวทหะ · เกสาริยา
    ปาวา · พาราณสี
    นาลันทา
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>อารามสำคัญในสมัยพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>วัดเวฬุวันมหาวิหาร
    วัดเชตวันมหาวิหาร
    </TD></TR><TR style="BACKGROUND: #af4630; COLOR: white"><TH>สถานที่สำคัญหลังพุทธกาล</TH></TR><TR><TD>สาญจิ · มถุรา
    ถ้ำแอลโลลา · ถ้ำอชันตา
    มหาวิทยาลัยนาลันทา
    </TD></TR><TR><TD>แม่แบบ พูดคุย แก้ไข

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ สารนาถ และ พุทธสังเวชนียสถาน

    </DD></DL>[​IMG] [​IMG]
    วัดมูลคันธกุฏีวิหาร ภายในสารนาถ


    เหตุการณ์สำคัญที่เกิดในวันอาสาฬหบูชา เกิดในบริเวณที่ตั้งของ กลุ่มพุทธสถานสารนาถ ภายในอาณาบริเวณของป่าอิสิปตนมฤคทายวัน 9 กิโลเมตรเศษ ทางเหนือของเมืองพาราณสี อันเป็นเมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาพราหมณ์ สมัยนั้นแถบนี้อยู่ใน แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล (ในปัจจุบันอยู่ใน รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย) ปัจจุบัน สารนาถ จัดเป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ<SUP class=reference id=cite_ref-20>[21]</SUP>)
    เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถเนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงเริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลาย แต่บ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค+นารถ = ที่อยู่ของสัตว์จำพวกกวาง<SUP class=reference id=cite_ref-21>[22]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A7..E0.B8.9B..E0.B8.A7.E0.B8.B5.E0.B8.A3.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.97.E0.B9.82.E0.B8.98_19-1>[20]</SUP>
    ภายในอาณาบริเวณสารนาถมี ธรรมเมกขสถูป เป็นพุทธสถานขนาดใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุด สันนิษฐานว่าบริเวณที่ตั้งของธรรมเมกขสถูป เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาประกาศพระสัจจธรรมเป็นครั้งแรกที่นี่ และ เจาคันธีสถูป อยู่ไม่ไกลจากสารนาถ เป็นมหาสถูปที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสถานที่พำนักของเหล่าปัญจวัคคีย์ และสถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จมาทรงพบกับเหล่าปัญจวัคคีย์ครั้งแรก ณ จุดนี้ ก่อนที่จะพาไปแสดงปฐมเทศนาในสารนาถ<SUP class=reference id=cite_ref-22>[23]</SUP>

    [แก้] ความสำคัญและสภาพสารนาถในสมัยพุทธกาล

    สารนาถในสมัยพุทธกาล เรียกกันว่า ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แปลว่า เขตป่าอภัยทานแก่สัตว์ที่เป็นที่บำเพ็ญตบะของฤษี เป็นสถานที่สงบและเป็นที่ชุมนุมของเหล่าฤษีและนักพรตต่าง ๆ ที่มาบำเพ็ญตบะและโยคะเพื่อเข้าถึงพรหมมันตามความเชื่อในคัมภีร์อุปนิษัทของพรามหณ์ ทำให้เหล่าปัจจวัคคีย์ที่ปลีกตัวมาจากเจ้าชายสิทธัตถะ ภายหลังจากที่พระองค์ทรงเลิกบำเพ็ญทุกขกริยา ได้มาบำเพ็ญตบะที่นี่แทน
    หลังจากพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา และเทศน์โปรดปัญวัคคีย์จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ทั้งหมดแล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-23>[24]</SUP> ได้ทรงพักจำพรรษาแรก ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พร้อมกับเหล่าปัญจวัคคีย์ ซึ่งในระหว่างจำพรรษาแรก พระองค์ได้สาวกเพิ่มกว่า 45 องค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระยสะ<SUP class=reference id=cite_ref-24>[25]</SUP>และบริวารของท่าน 44 องค์<SUP class=reference id=cite_ref-25>[26]</SUP> ซึ่งรวมถึงบิดามารดาและภรรยาของพระยสะ ที่ได้มาฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์และได้ยอมรับนับถือเป็นอุบาสกอุบาสิกาที่ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะคู่แรกในโลกด้วย<SUP class=reference id=cite_ref-26>[27]</SUP> ทำให้ในพรรษาแรกที่พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน มีพระอรหันต์ในโลกรวม 60 องค์ และองค์พระพุทธเจ้า
    นอกจากนี้ ในบริเวณสารนาถ ยังเป็นสถานที่สำคัญที่พระพุทธองค์ทรงประกาศเริ่มต้นส่งให้พระสาวกกลุ่มแรกออกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาหลังจากทรงจำพรรษาแรกแล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-27>[28]</SUP> (เชื่อกันว่าเป็นจุดที่เดียวกับที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธรรมเมกขสถูป) ดังปรากฏความตอนนี้ใน สังยุตตนิกาย สคาถวรรค<SUP class=reference id=cite_ref-28>[29]</SUP> ว่า
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">...ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเที่ยวจาริกไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนหมู่มาก เพื่อความสุขแก่ชนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่าได้ไปด้วยกัน ๒ รูป โดยทางเดียวกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงแสดงธรรม งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ทุติยปาสสูตรที่ ๕</TD></TR></TBODY></TABLE>
    และด้วยเหตุทั้งหลายดังกล่าวมานี้ สารนาถจึงได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งศูนย์กลางพระพุทธศาสนาแห่งแรกมาตั้งแต่นั้น
    ซึ่งในช่วงหลังจากพระพุทธองค์เสด็จออกจากสารนาถหลังประกาศส่งพระสาวกออกเผยแพร่ศาสนานั้น ไม่ปรากฏในหลักฐานในพระไตรปิฎกว่ามีการสร้างอารามหรือสิ่งก่อสร้างในป่าสารนาถแห่งนี้ ทำให้สันนิษฐานได้ว่าสิ่งก่อสร้างใหญ่โตคงจะได้มาเริ่มสร้างขึ้นกันในช่วงหลังที่พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมั่นคงในแคว้นมคธแล้ว

    [แก้] สารนาถหลังพุทธกาล

    หลังพุทธกาล ประมาณ 300 ปี พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จมาที่สารนาถ<SUP class=reference id=cite_ref-29>[30]</SUP> ในปี พ.ศ. 295 ครั้งนั้นพระองค์ได้พบว่ามีสังฆารามใหญ่โตที่สารนาถแล้ว ในครั้งนั้นพระองค์ได้ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ในการบูรณะและก่อสร้างศาสนสถานเพิ่มเติมในสารนาถครั้งใหญ่ โดยพระองค์ได้สร้างสถูปและสิ่งต่าง ๆ มากมายในบริเวณกลุ่มสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมธรรมเทศนาและพระธรรมเทศนาอื่น ๆ แก่เบญจวัคคีย์ และหมู่คันธกุฎีของพระพุทธเจ้า ในบริเวณสารนาถ เพื่อถวายเป็นอนุสรณียสถานแก่พระพุทธเจ้า
    กลุ่มพุทธสถานเหล่านี้ได้เจริญรุ่งเรืองต่อมาจนถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์คุปตะ ตามบันทึกของพระถังซำจั๋ง (Chinese traveler Hiuen-Tsang) ​ซึ่งได้จาริกมาราว พ.ศ. 1280 ท่านได้กล่าวไว้ในบันทึกของท่านว่า ท่านได้พบสังฆารามใหญ่โต มีพระอยู่ประจำ 1,500 รูป ภายในกำแพงมีวิหารหลังหนึ่งสูงกว่า 33 เมตร มีบันไดทางขึ้นปูด้วยแผ่นหินกว่า 100 ขั้น กำแพงบันไดก่อด้วยอิฐเป็นขั้น ๆ ประดับด้วยพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของวิหารมีสถูปหินอ่อนสูง 70 ฟุต (เสาอโศก) บนยอดเสามีรูปสิงห์สี่ตัวเป็นมันวาวราวกับหยกใสสะท้อนแสง มหาสถูป (ธรรมเมกขสถูป) มีพระพุทธรูปทองคำประดิษฐานอยู่ทุกช่อง ฯลฯ<SUP class=reference id=cite_ref-30>[31]</SUP>
    กลุ่มพุทธสถานสารนาถได้เจริญรุ่งเรืองสลับกับความเสื่อมเป็นช่วง ๆ ต่อมา จนในที่สุดได้ถูกกองทัพมุสลิมเตอร์กบุกเข้ามาทำลายในปี พ.ศ. 1737<SUP class=reference id=cite_ref-31>[32]</SUP> ทำให้มหาสังฆารามและพุทธวิหารในสารนาถถูกทำลายล้างและถูกทิ้งร้างไปอย่างสิ้นเชิงในระยะต่อมากว่า 700 ปี เหลือเพียงกองดินและมหาสถูปใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธรรมเมกขสถูปและเจาคันธีสถูป ที่เป็นกองสถูปอิฐใหญ่โตมาก<SUP class=reference id=cite_ref-32>[33]</SUP>
    สภาพของสารนาถหลังจากนั้นกลายเป็นกองดินกองอิฐมหึมา ทำให้หลังจากนั้น ชาวบ้านได้เข้ามารื้ออิฐจากสารนาถไปก่อสร้างอาคารในเมืองพาราณสีเป็นระยะ ๆ ซึ่งเหตุการณ์ที่สำคัญคือเหตุการณ์ที่ราชาเชตสิงห์ (Chait Singh) มหาราชาแห่งเมืองพาราณสี ได้สั่งให้ชคัตสิงห์อำมาตย์ไปรื้ออิฐเก่าจากสารนาถเพื่อนำไปสร้างตลาดในเมืองพาราณสี (ปัจจุบันตลาดนี้เรียกว่า ชคันคุนช์) โดยได้รื้อมหาธรรมราชิกสถูป ที่สร้างโดยพระเจ้าอโศกมหาราชลง และได้พบกับผอบศิลาสีเขียวสองชั้น ชั้นในมีไข่มุก พลอยและแผ่นเงินทองอยู่ปนกับขี้เถ้าและอัฐิ 3 ชิ้น ซึ่งเป็นพระบรมสารีริกธาตุที่พระเจ้าอโศกมหาราชบรรจุไว้ แต่คชัตสิงห์กลับนำกระดูกไปลอยทิ้งที่แม่น้ำคงคา เพราะเชื่อว่าเจ้าของกระดูกในผอบคงจะไม่ได้ขึ้นสวรรค์เพราะไม่ได้นำกระดูกไปลอยน้ำตามธรรมเนียมฮินดู ในปี พ.ศ. 2337<SUP class=reference id=cite_ref-33>[34]</SUP>
    จนเมื่ออินเดียตกไปอยู่ในความปกครองของอังกฤษในปี พ.ศ. 2420<SUP class=reference id=cite_ref-34>[35]</SUP> ทำให้รัฐบาลอังกฤษต้องตั้งเจ้าหน้าที่มาขุดค้นอย่างถูกต้องตามหลักโบราณคดี โดยสานงานต่อจากพันเอกแมคแคนซี่ ที่เข้ามาดูแลการขุดค้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2358 ซึ่งใช้เวลากว่าร้อยปีจึงจะขุดค้นสำเร็จในปี พ.ศ. 2465 ในสมัยที่ท่าน เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม เป็นหัวหน้ากองโบราณคดีอินเดีย<SUP class=reference id=cite_ref-35>[36]</SUP> จนช่วงหลังที่ท่านอนาคาริก ธรรมปาละ ชาวศรีลังกา ได้มาบูรณะฟื้นฟูสารนาถให้เป็นศูนย์รวมจิตใจชาวพุทธขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยท่านได้ซื้อที่เพื่อสร้างวัดมูลคันธกุฏีวิหารใหม่ ซึ่งนับเป็นวัดพระพุทธศาสนาแห่งแรกในบริเวณสารนาถหลังจากถูกทำลาย<SUP class=reference id=cite_ref-36>[37]</SUP> หลังจากนั้นเป็นต้นมา สารนาถได้รับการบูรณะจากรัฐบาลอินเดียเรื่อยมา ทำให้สารนาถกลายเป็นจุดหมายปลายทางในการแสวงบุญที่สำคัญแห่งหนึ่งของชาวพุทธทั่วโลกมาจนถึงปัจจุบัน<SUP class=reference id=cite_ref-37>[38]</SUP>

    [แก้] จุดแสวงบุญและสภาพของสารนาถในปัจจุบัน


    ปัจจุบัน สถานที่แสวงบุญในบริเวณสารนาถได้รับการขุดค้นบ้างเป็นบางส่วน บางส่วนก็ยังคงจมอยู่ใต้ดิน แต่ซากพุทธสถานสำคัญ ๆ ส่วนใหญ่ในพุทธประวัติก็ได้รับการขุดค้นขึ้นมาหมดแล้ว เช่น
    • ธรรมเมกขสถูป สถานที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาและประกาศส่งพระสาวกไปเผยแพร่พระศาสนา
    • ยสสถูป สถานที่พระพุทธเจ้าทรงพบท่านยสะ ซึ่งต่อมาได้บรรลุเป็นพระอรหันตสาวกองค์ที่ 6 ในโลก<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A2.E0.B8.AA.E0.B8.B0_38-0>[39]</SUP>
    • รากฐานธรรมราชิกสถูป สถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงอนัตตลักขณะสูตร และสถานที่เคยประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
    • พระมูลคันธกุฏี พระคันธกุฏีที่ประทับจำพรรษาของพระพุทธองค์ในพรรษาแรกและพรรษาที่ 12
    • ซากเสาพระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งหักเป็น 5 ท่อน ในอดีตเสานี้เคยมีความสูงถึง 70 ฟุต และบนยอดเสามีรูปสิงห์ 4 หัวอีกด้วย ปัจจุบันสิงห์ 4 หัว ได้เหลือรอดจากการทำลายและรัฐบาลอินเดียได้เก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สารนาถ โดยสิงห์ 4 หัวนี้ ได้ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ของประเทศอินเดีย และข้อความจารึกของพระเจ้าอโศกมาราชที่จารึกไว้ใต้รูปสิงห์ดังกล่าวคือ "สตฺยเมว ชยเต" (เทวนาครี: सत्यमेव जयते) หมายถึง "ความจริงชนะทุกสิ่ง"<SUP class=reference id=cite_ref-39>[40]</SUP>) และได้ถูกนำมาเป็นคำขวัญประจำชาติของประเทศอินเดียอีกด้วย
    บริเวณโดยรอบสถานที่สำคัญดังกล่าว มีหมู่พุทธวิหารและซากสถูปมากมายอยู่หนาแน่น แสดงถึงความศรัทธาของคนในอดีตได้เป็นอย่างดี และนอกจากสถานที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในพุทธประวัติแล้ว ผู้มาแสวงบุญยังนิยมมาเยี่ยมชมวัดมูลคันธกุฏีวิหารใหม่ ที่สร้างโดยท่านอนาคาริก ธรรมปาละ พระสงฆ์ชาวศรีลังกา ผู้ฟื้นฟูพุทธสถานสารนาถให้กลายเป็นสถานที่แสวงบุญสำคัญเหมือนในอดีต วัดแห่งนี้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับมอบจากรัฐบาลอินเดียและวัดนี้ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่สวยงามมากภายในพุทธวิหารอีกด้วย และใกล้กับสารนาถ เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สารนาถ เป็นสถานที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุที่ขุดค้นได้ภายในบริเวณสารนาถ ซึ่งโบราณวัตถุที่สำคัญคือ ยอดหัวสิงห์พระเจ้าอโศก และพระพุทธรูปปางแสดงปฐมเทศนา ซึ่งมีผู้ยกย่องว่ามีความสวยงามมากที่สุดองค์หนึ่งของโลก<SUP class=reference id=cite_ref-40>[41]</SUP>

    [แก้] จุดที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา (ธรรมเมกขสถูป)

    ปัจจุบัน สามารถสันนิษฐานได้ว่าจุดที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันอาสาฬหบูชา คือที่ตั้งของธรรมเมกขสถูป เพราะแม้ในพระไตรปิฎกจะไม่ระบุว่าจุดใดคือที่ตั้งของสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และแม้สารนาถจะถูกทำลายและถูกทอดทิ้งไปนานกว่าเจ็ดร้อยปี แต่ด้วยหลักฐานบันทึกของสมณทูตจีนที่บันทึกไว้<SUP class=reference id=cite_ref-41>[42]</SUP>และชื่อเรียกของสถูปแห่งนี้ที่มีนามว่า ธรรมเมกขะ ที่แปลว่า "ผู้เห็นธรรม" บอกชัดเจนว่าสถานที่นี้เป็นสถานที่แสดงปฐมเทศนา (ซึ่ง ธรรมเมกขะ เป็นศัพท์จากภาษาบาลีว่า ธมฺม (ธรรม) + อิกข (เห็น) แปลได้ว่า เห็นธรรม หรือสถูปที่อุทิศให้แด่ผู้เห็นธรรม ซึ่งก็ได้แก่พระอัญญาโกญฑัญญะ ที่ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นคนแรกในโลกนั่นเอง)
    สถูปธรรมเมกขะในปัจจุบันเป็นโบราณสถานที่มีขนาดใหญ่โตมากที่สุดในสารนาถ แม้สถูปแห่งนี้จะถูกผู้บุกรุกพยายามรื้อถอนทำลายอย่างเป็นระบบหลายครั้ง แต่มหาสถูปองค์นี้ก็ยังคงตั้งอยู่ เป็นโบราณสถานที่เด่นที่สุดในสารนาถจนปัจจุบัน
    ปัจจุบัน หลังโบราณสถานสารนาถได้รับการบูรณะ รัฐบาลอินเดียได้มีการเทพื้นซีเมนต์รอบธรรมเมกขสถูปและตกแต่งบริเวณโดยรอบเป็นสวนหย่อม เป็นที่สัปปายะ เหมาะแก่การเจริญจิตภาวนาและปฏิบัติธรรม
    <TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    กวางที่รัฐบาลอินเดียเลี้ยงไว้ เพื่อรำลึกถึงสารนาถที่เคยเป็นสวนกวางในอดีต



    </TD><TD>[​IMG]

    อักษรพราหมี บนเสาศิลาจารึกพระเจ้าอโศกมหาราช



    </TD><TD>[​IMG]

    กลุ่มพุทธสถานโบราณในสารนาถ



    </TD><TD>[​IMG]

    เจาคันธีสถูป สถานที่ ๆ พระพุทธเจ้าพบปัญจวัคคีย์



    </TD><TD>[​IMG]

    ซากเสาหินพระเจ้าอโศกมหาราชที่ถูกทุบทำลาย



    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]

    ซากฐานเจดีย์ธรรมราชิกสถูป สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตรโปรดปัญจวัคคีย์ ทำให้ปัญจวัคคีย์บรรลุเป็นพระอรหันต์



    </TD><TD>[​IMG]

    ยสสถูป สถานที่พระยสเถระบรรลุพระอรหันต์ (พระอริยสาวกองค์ที่ 6) พร้อมกับบิดาของท่านที่ได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน เป็นอุบาสกคนแรกของโลก



    </TD><TD>[​IMG]

    หัวสิงห์ยอดเสาอโศกในสารนาถ โบราณวัตถุที่สำคัญที่สุดของอินเดีย หัวสิงห์นี้ถูกใช้เป็นตราประจำชาติอินเดียในปัจจุบัน



    </TD><TD>[​IMG]

    วัดมูลคันธกุฏีวิหารใหม่ สร้างโดยพระสงฆ์ศรีลังกา (อนาคาริก ธรรมปาละ) เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ



    </TD><TD>[​IMG]

    พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ภายในวัดมูลคันธกุฏีวิหารใหม่



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติในวันอาสาฬหบูชา

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    วันอาสาฬหบูชา พุทธศาสนิกชนชาวไทยนิยมทำบุญตักบาตรในตอนเช้า และตลอดวันจะมีการบำเพ็ญบุญกุศลความดีอื่น ๆ เช่น ไปวัดรับศีล งดเว้นการทำบาปทั้งปวง ถวายสังฆทาน ให้อิสระทาน (ปล่อยนกปล่อยปลา) ฟังพระธรรมเทศนา และไปเวียนเทียนรอบโบสถ์ในเวลาเย็น<SUP class=reference id=cite_ref-42>[43]</SUP>

    โดยก่อนทำการเวียนเทียนพุทธศาสนิกชนควรร่วมกันกล่าวคำสวดมนต์และคำบูชาในวันอาสาฬหบูชา โดยปกติตามวัดต่าง ๆ จะจัดให้มีการทำวัตรสวดมนต์ก่อนทำการเวียนเทียน ซึ่งส่วนใหญ่นิยมทำการเวียนเทียนอย่างเป็นทางการ (โดยมีพระภิกษุสงฆ์นำเวียนเทียน) ในเวลาประมาณ 20 นาฬิกา โดยบทสวดมนต์ที่พระสงฆ์นิยมสวดในวันอาสาฬหบูชาก่อนทำการเวียนเทียนนิยมสวด (ทั้งบาลีและคำแปล) ตามลำดับดังนี้
    1. บทบูชาพระรัตนตรัย (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:อรหัง สัมมา ฯลฯ)
    2. บทนมัสการนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้า (นะโม ฯลฯ ๓ จบ)
    3. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:อิติปิโส ฯลฯ)
    4. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ สวดทำนองสรภัญญะ (บทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วย:องค์ใดพระสัมพุทธ ฯลฯ)
    5. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:สวากขาโต ฯลฯ)
    6. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ สวดทำนองสรภัญญะ (บทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วย:ธรรมมะคือ คุณากร ฯลฯ)
    7. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:สุปฏิปันโน ฯลฯ)
    8. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ สวดทำนองสรภัญญะ (บทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วย:สงฆ์ใดสาวกศาสดา ฯลฯ)
    9. บทสวดพระธรรมจักกัปปวัตตนสูตรบาลี (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:เอวัมเม สุตัง เอกัง ฯลฯ) (ฟัง)
    10. บทสวดบูชาเนื่องในวันอาสาฬหบูชา (บทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วย:ยะมัมหะ โข มะยัง ฯลฯ)
    จากนั้นจุดธูปเทียนและถือดอกไม้เป็นเครื่องสักการะบูชาในมือ แล้วเดินเวียนรอบปูชนียสถาน 3 รอบ โดยขณะที่เดินนั้นพึงตั้งจิตให้สงบ พร้อมสวดระลึกถึงพระพุทธคุณ ด้วยการสวดบทอิติปิโส (รอบที่หนึ่ง) ระลึกถึงพระธรรมคุณ ด้วยการสวดสวากขาโต (รอบที่สอง) และระลึกถึงพระสังฆคุณ ด้วยการสวดสุปะฏิปันโน (รอบที่สาม) จนกว่าจะเวียนจบ 3 รอบ จากนั้นนำธูปเทียนดอกไม้ไปบูชาตามปูชนียสถานจึงเป็นอันเสร็จพิธี

    [แก้] หลักธรรมในวันอาสาฬหบูชา

    เนื่องด้วย วันอาสาฬหบูชา มีความเกี่ยวข้องอย่างมากกับพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ซึ่งเป็นพระสูตรแรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงขึ้นในโลก และได้ทรงแสดงเป็นครั้งแรกในวันอาสาฬหบูชานี้ หลักธรรมสำคัญในพระสูตรบทนี้จึงเป็นธรรมะสำคัญที่พุทธศาสนิกชนควรนำไปพิจารณาและทำความเข้าใจ และอาจจะเรียกได้ว่าหลักธรรมในพระสูตรดังกล่าวเป็นหลักธรรมสำคัญในวันอาสาฬหบูชา<SUP class=reference id=cite_ref-43>[44]</SUP> ซึ่งเนื้อหาในพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มี 3 ตอน ดังนี้

    [แก้] สิ่งที่ไม่ควรเสพสองอย่าง

    ส่วนแรกที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง คือ กามสุขัลลิกานุโยค และ อัตตกิลมถานุโยค กล่าวคือทรงแสดงสิ่งที่ไม่ควรเสพสองอย่าง อันได้แก่ การปฏิบัติตนย่อหย่อนสบายกายเกินไป (กามสุขัลลิกานุโยค) และการปฏิบัติตนจนทรมานกายเกินไป (อัตตกิลมถานุโยค) คือทรงแสดงการปฏิเสธลักษณะของลัทธิทั้งปวงที่มีในสมัยนั้นดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ที่สุดสองอย่างนี้อันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ
    • การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นธรรมอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ 1
    • การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน เป็นความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ 1"
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    การที่พระพุทธองค์ตรัสปฏิเสธแนวทางสองอย่างดังกล่าวมาในขณะเริ่มปฐมเทศนา เพื่อแสดงให้รู้ว่า พระพุทธศาสนาไม่ใช่ศาสนาที่สอนให้พ้นจากทุกข์ด้วยการแก้ปัญหานอกกายคือ หนีความทุกข์ด้วยการมัวแต่แสวงหาความสุข (หนีความทุกข์อย่างไม่ยั่งยืน เพราะต้องแสวงหามาปรนเปรอตัณหาไม่สิ้นสุด) หรือหาทางพ้นทุกข์ด้วยการกระทำตนให้ลำบาก (สู้หรืออยู่กับความทุกข์อย่างโง่เขลา ขาดปัญญา ทำตนให้ลำบากโดยใช่เหตุ) เพื่อที่จะทรงขับเน้นหลักการที่พระพุทธองค์จะทรงแสดงต่อไปว่า มีความแตกต่างโดยสิ้นเชิงจากแนวคิดพ้นทุกข์เดิม ๆ ซึ่ง เป็นการประกาศแนวทางพ้นทุกข์ใหม่แก่โลก อันได้แก่การแก้ทุกข์ที่ตัวต้นเหตุ คือ แก้ที่ภายในใจของเราเอง คือ มัชฌิมาปฏิปทา ของพระพุทธองค์

    [แก้] มัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง)

    [​IMG] [​IMG]
    หลักธรรมในพระธรรมจักกัปปวัตนสูตร มีจุดเด่นคือเน้นทางสายกลาง ให้มนุษย์มองโลกตามความเป็นจริง (แก้ทุกข์ที่ใจ) เพื่อพบกับความสุขที่ยั่งยืนกว่า


    สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงแสดงในปฐมเทศนาต่อมาคือ มัชฌิมาปฏิปทา คือ หลังจากทรงกล่าวปฏิเสธแนวทางพ้นทุกข์แบบเดิม ๆ แล้ว ได้ทรงแสดงเสนอแนวทางพ้นทุกข์ใหม่แก่โลก คือ มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง คือ การปฏิบัติที่ไม่สุดตึงด้านใดด้านหนึ่ง อันได้แก่การดำเนินตามมรรคมีองค์ 8 ซึ่งควรพิจารณาจากข้อความจากพระโอษฐ์โดยตรง ดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">"ปฏิปทาสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั้น นั่นตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาสายกลางที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตา ให้เกิด ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน นั้น เป็นไฉน?
    ปฏิปทาสายกลางนั้น ได้แก่อริยมรรค มีองค์ 8 นี้แหละ คือปัญญาอันเห็นชอบ 1 ความดำริชอบ 1 เจรจาชอบ 1 การงานชอบ 1 เลี้ยงชีวิตชอบ 1พยายามชอบ 1 ระลึกชอบ 1 ตั้งจิตชอบ 1"
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลคือปฏิปทาสายกลางนั้น ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาให้เกิด ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน.

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] อริยสัจสี่

    สุดท้ายทรงแสดงสิ่งที่ทำให้พระองค์ตรัสรู้ คือทรงแสดงอริยสัจ 4 ประการ และ "กิจ" ที่ควรทำในอริยสัจ 4 ประการ เพื่อการหลุดพ้นจากทุกข์ โดยแก้ที่สาเหตุของทุกข์ กล่าวคือ ทุกข์ ควรรู้ สมุทัย ควรละ นิโรธ ควรทำให้แจ้ง มรรค ลงมือปฏิบัติ
    โดยข้อแรกคือ ทุกข์ ในอริยสัจทั้งสี่ข้อนั้น ทรงกล่าวถึงสิ่งเป็นความทุกข์ทั้งปวงในโลกไว้ดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจ คือ ความเกิด ก็เป็นทุกข์ ความแก่ ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ ก็เป็นทุกข์ ความตาย ก็เป็นทุกข์ การเจอสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น ก็เป็นทุกข์ โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์"</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากนั้น พระพุทธองค์ทรงตรัสว่าการ ยึดถือ ในสิ่งทั้งปวงนั่นเองเป็น "สาเหตุแห่งความทุกข์" คือ
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ "ตัณหา" อันทำให้เกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา."</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากนั้น พระพุทธองค์ทรงตรัสว่าทุกข์สามารถดับไปได้ โดยการ ดับที่ตัวสาเหตุแห่งทุกข์ คือ ไม่ยึดถือว่ามีความทุกข์ หรือเราเป็นทุกข์ กล่าวคือ สละถอนเสียซึ่งการถือว่ามีตัวตน อันเป็นที่ตั้งของความทุกข์ (เมื่อไม่มีการยึดมั่นถือมั่นในใจว่าตนนั้นมี "ตัวตน" ที่เป็นที่ตั้งของความทุกข์ ทุกข์ย่อมไม่มีที่ยึด จึงไม่มีความทุกข์<SUP class=reference id=cite_ref-44>[45]</SUP>) ดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไม่เหลือด้วยมรรคคือ "หมดราคะ" "สละ" "สละคืน" "ปล่อยไป" "ไม่พัวพัน"."</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    เมื่อพระพุทธองค์ตรัสถึงผลของการปฏิบัติกิจในศาสนาแล้ว จึงได้ตรัสแสดงมรรค คือวิธีปฏิบัติตามทางสายกลางตามลำดับ 8 ขั้น เพื่อหลุดพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง คือ
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ อริยมรรคมีองค์ 8 นี้แหละ คือ ปัญญาอันเห็นชอบ 1 ความดำริชอบ 1 เจรจาชอบ 1 การงานชอบ 1 เลี้ยงชีวิตชอบ 1พยายามชอบ 1 ระลึกชอบ 1 ตั้งจิตชอบ 1

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    โดยสรุป พระพุทธองค์ทรงตรัสเรียงวิธีแก้ทุกข์ โดยแสดงให้เห็นปัญหา (ทุกข์) สาเหตุของปัญหา (สมุทัย) และจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาคือการดับทุกข์ (นิโรธ) โดยทรงแสดงวิธีปฏิบัติ (มรรค) ไว้ท้ายสุด เพื่อให้ผู้ปฏิบัติได้ทราบจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติก่อน เพื่อการเข้าใจไม่ผิด และจะได้ปฏิบัติโดยมุ่งไปยังจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้โดยไม่คลาดเคลื่อน
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [แก้] การประกอบพิธีวิสาขบูชาในประเทศไทย


    [แก้] การกำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาในประเทศไทย

    [​IMG] [​IMG]
    พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) ผู้เสนอให้มีการจัดงานวันอาสาฬหบูชาเป็นครั้งแรกในประเทศไทย


    วันอาสาฬหบูชา ได้ถูกกำหนดให้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรี (มหาเถรสมาคม) ในสมัยนั้น ได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา (ในประเทศไทย) ตามคำแนะนำของ พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจารี) <SUP class=reference id=cite_ref-45>[46]</SUP> โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเป็นประกาศสำนักสังฆนายก กำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาพร้อมทั้งกำหนดพิธีอาสาฬหบูชาขึ้น เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_3-2>[4]</SUP>
    ไม่ปรากฏหลักฐานในประเทศไทยว่าในสมัยก่อน พ.ศ. 2501 เคยมีการประกอบพิธีอาสาฬหบูชามาก่อน ทำให้การกำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของสำนักสังฆนายกในครั้งนี้ เป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดแบบแผนการประกอบพิธีนี้อย่างเป็นทางการ โดยหลังจากปี พ.ศ. 2501 ซึ่งเป็นปีแรกที่เริ่มมีการรณรงค์ให้มีการประกอบพิธีอาสาฬหบูชา พุทธศาสนิกชนชาวไทยได้ร่วมใจกันประกอบพิธีนี้กันอย่างกว้างขวางและแพร่หลายไปทุกจังหวัด จนกลายเป็นพิธีสำคัญของพุทธศาสนิกชนไทยตั้งแต่นั้นมา ดังนั้นในวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2505 คณะรัฐมนตรีนำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น จึงได้ลงมติให้ประกาศกำหนดเพิ่มให้วันอาสาฬหบูชา หรือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีไม่มีอธิกมาส) และวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 หลัง (ในปีมีอธิกมาส) เป็นวันหยุดราชการประจำปีอีก 1 วัน<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94_0-1>[1]</SUP> เพื่อเป็นการให้ความสำคัญกับวันสำคัญยิ่งของชาวพุทธนี้และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชนที่จะไปประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาด้วยอีกประการหนึ่ง

    [แก้] วันอาสาฬหบูชาในปฏิทินสุริยคติไทย

    อย่างไรก็ตาม บางประเทศที่นับถือพุทธศาสนาอาจกำหนดวันไม่ตรงกับของไทยในบางปี เนื่องจากประเทศเหล่านั้นอยู่ในตำแหน่งบนโลกที่ต่างไปจากประเทศไทย ทำให้วันเวลาคลาดเคลื่อนไป<SUP class=reference id=cite_ref-46>[47]</SUP>
    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TH width=50>ปี</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH></TR><TR><TH>ปีชวด</TH><TD>29 กรกฎาคม พ.ศ. 2539</TD><TD>17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551</TD><TD>5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</TD></TR><TR><TH>ปีฉลู</TH><TD>19 กรกฎาคม พ.ศ. 2540</TD><TD>7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</TD><TD>24 กรกฎาคม พ.ศ. 2564</TD></TR><TR><TH>ปีขาล</TH><TD>8 กรกฎาคม พ.ศ. 2541</TD><TD>26 กรกฎาคม พ.ศ. 2553</TD><TD>13 กรกฎาคม พ.ศ. 2565</TD></TR><TR><TH>ปีเถาะ</TH><TD>27 กรกฎาคม พ.ศ. 2542</TD><TD>15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</TD><TD>1 สิงหาคม พ.ศ. 2566</TD></TR><TR><TH>ปีมะโรง</TH><TD>16 กรกฎาคม พ.ศ. 2543</TD><TD>2 สิงหาคม พ.ศ. 2555</TD><TD>20 กรกฎาคม พ.ศ. 2567</TD></TR><TR><TH>ปีมะเส็ง</TH><TD>5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544</TD><TD>22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556</TD><TD>10 กรกฎาคม พ.ศ. 2568</TD></TR><TR><TH>ปีมะเมีย</TH><TD>24 กรกฎาคม พ.ศ. 2545</TD><TD>11 กรกฎาคม พ.ศ. 2557</TD><TD>29 มิถุนายน พ.ศ. 2569</TD></TR><TR><TH>ปีมะแม</TH><TD>13 กรกฎาคม พ.ศ. 2546</TD><TD>30 กรกฎาคม พ.ศ. 2558</TD><TD>18 กรกฎาคม พ.ศ. 2570</TD></TR><TR><TH>ปีวอก</TH><TD>31 กรกฎาคม พ.ศ. 2547</TD><TD>19 กรกฎาคม พ.ศ. 2559</TD><TD>6 กรกฎาคม พ.ศ. 2571</TD></TR><TR><TH>ปีระกา</TH><TD>21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548</TD><TD>8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560</TD><TD>25 มิถุนายน พ.ศ. 2572</TD></TR><TR><TH>ปีจอ</TH><TD>10 กรกฎาคม พ.ศ. 2549</TD><TD>27 กรกฎาคม พ.ศ. 2561</TD><TD>15 กรกฎาคม พ.ศ. 2573</TD></TR><TR><TH>ปีกุน</TH><TD>29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550</TD><TD>16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562</TD><TD>4 กรกฎาคม พ.ศ. 2574</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] การประกอบพิธีทางศาสนาในวันอาสาฬหบูชาในประเทศไทย


    [แก้] พระราชพิธี

    [​IMG] [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม


    การพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชานี้มีชื่อเรียกเป็นทางการว่า พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา<SUP class=reference id=cite_ref-47>[48]</SUP> ซึ่งเดิมก่อน พ.ศ. 2501 เรียกเพียง การพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันเข้าพรรษา<SUP class=reference id=cite_ref-48>[49]</SUP> แต่หลังจากมีการกำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในปี พ.ศ. 2501 แล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_3-3>[4]</SUP> สำนักพระราชวังจึงได้กำหนดเพิ่มวันอาสฬหบูชาเพิ่มเติมขึ้นมา<SUP class=reference id=cite_ref-49>[50]</SUP> การพระราชพิธีนี้โดยปกติมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นองค์ประธานในการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศล<SUP class=reference id=cite_ref-50>[51]</SUP> และบางครั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทน<SUP class=reference id=cite_ref-51>[52]</SUP> โดยสถานที่ประกอบพระราชพิธีหลักจะจัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดบวรนิเวศวิหาร และภายในพระบรมมหาราชวัง การสำคัญของพระราชพิธีคือการถวายพุ่มเทียนเครื่องบูชาแก่พระพุทธปฏิมาและพระราชาคณะ รวมทั้งการพระราชทานภัตตาหารแก่พระราชาคณะ ฐานานุกรม เปรียญ ซึ่งรับอาราธานามารับบิณฑบาตในพระบรมมหาราชวังจำนวน 150 รูป ทุกปี<SUP class=reference id=cite_ref-52>[53]</SUP> เป็นต้น ซึ่งการพระราชพิธีนี้เป็นการแสดงออกถึงพระราชศรัทธาอันแน่นแฟ้นในพระพุทธศาสนา ขององค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

    [แก้] พิธีสามัญ

    [​IMG] [​IMG]
    ชาวพุทธนิยมเวียนเทียนในวันอาสาฬหบูชา เพื่อเป็นการปฏิบัติภาวนารำลึกถึงคุณที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระธรรมที่ทรงตรัสรู้แก่ชาวโลกเป็นครั้งแรกในวันนี้


    การประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาเนื่องในวันอาสาฬหบูชาของประชาชนทั่วไปนี้ พุทธศาสนิกชนชาวไทยโดยทั่วไปนิยมทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา เวียนเทียนรอบอุโบสถหรือสถูปเจดีย์พุทธสถานต่าง ๆ ภายในวัด เพื่อเป็นการระลึกถึงวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนาในวัน ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
    โดยแนวปฏิบัติในการประกอบพิธีในวันอาสาฬหบูชาตามประกาศสำนักสังฆนายก<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_3-4>[4]</SUP> ที่คณะสงฆ์ไทยได้ถือเป็นแบบแผนมาจนถึงปัจจุบันนี้คือ ให้คณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนจัดเตรียมสถานที่ก่อนถึงวันอาสาฬหบูชา โดยมีการทำความสะอาดวัด และเสนาสนะต่าง ๆ จัดตั้งเครื่องพุทธบูชา ประดับธงธรรมจักร และเมื่อถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ก็ให้จัดการแสดงพระธรรมเทศนาตลอดทั้งวัน เมื่อถึงเวลาค่ำให้มีการทำวัตรสวดมนต์และสวดบทพระธรรมจักกัปปวัตตนสูตร มีการแสดงพระธรรมเทศนาในเนื้อหาเรื่องในพระธรรมจักกัปปวัตตนสูตร นำสวดบทสรภัญญะบูชาคุณพระรัตนตรัย และให้พระสงฆ์นำเวียนเทียนบูชาพระพุทธปฏิมา อุโบสถ หรือสถูปเจดีย์ เมื่อเสร็จการเวียนเทียนอาจให้มีการเจริญจิตตภาวนา สนทนาธรรม แต่กิจกรรมทั้งหมดนี้ควรให้เสร็จสิ้นก่อนเวลา 24.00 น. ของวันนั้น เพื่อพักผ่อนเตรียมตัวก่อนเริ่มกิจกรรมวันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) ในวันรุ่งขึ้นต่อไป
    การประกอบพิธีวันอาสาฬหบูชาในปัจจุบันนี้นอกจากการเวียนเทียน ทำบุญตักบาตรฯ ในวันสำคัญแล้ว ยังมีหน่วยงานภาครัฐ องค์กรทางศาสนา และภาคประชาชน ร่วมกันจัดกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้นมากมาย เพื่อเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ ให้แก่ประชาชน เช่น กิจกรรมสัปดาห์เผยแผ่พระพุทธศาสนาวันอาสาฬหบูชา เป็นต้น

    [แก้] การจัดสร้างตราไปรษณียากรที่ระลึกวันอาสาฬหบูชาในประเทศไทย

    นอกจากภาครัฐจะประกาศให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันหยุดราชการและให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในวันอาสาฬหบูชาแล้ว ยังได้เคยมีการจัดพิมพ์จำหน่ายตราไปรษณียกรที่ระลึกในวันอาสาฬหบูชาอีกด้วย โดยจะให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันเริ่มจำหน่ายตราไปรษณียกร ซึ่งรูปแบบที่จัดพิมพ์ลงในตราไปรษณียกรที่ระลึกวันอาสาฬหบูชานั้น ส่วนใหญ่จะจัดพิมพ์เป็นรูปพระพุทธประวัติ<SUP class=reference id=cite_ref-53>[54]</SUP> หรือพระพุทธรูป<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.8A.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88.E0.B8.88.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.90.E0.B8.A1.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A1.E0.B8.9B.E0.B9.8C.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.AC_54-0>[55]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-55>[56]</SUP> มีบ้างที่จัดพิมพ์เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องชาดก<SUP class=reference id=cite_ref-56>[57]</SUP>
    โดยตราไปรษณียากรชุดวันอาสาฬหบูชานี้ รัฐบาลไทยได้เริ่มจัดพิมพ์เพื่อเป็นที่ระลึกและร่วมเฉลิมฉลองในฐานะวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.8A.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88.E0.B8.88.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.90.E0.B8.A1.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A1.E0.B8.9B.E0.B9.8C.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.AC_54-1>[55]</SUP> แต่ไม่ได้มีการจัดพิมพ์ออกจำหน่ายทุกปีดังเช่นวันวิสาขบูชา<SUP class=reference id=cite_ref-57>[58]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-58>[59]</SUP> และปรากฏว่าภาพที่นำมาตีพิมพ์ส่วนใหญ่ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับวันอาสาฬหบูชาแต่อย่างใด เช่น ตีพิมพ์เป็นภาพพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร นิทานมโหสถชาดก เป็นต้น โดยปรากฏภาพที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับวันอาสาฬหบูชาในไปรษณียากรที่ออกจำหน่ายเนื่องในโอกาสอื่นแทน เช่น วันเด็กแห่งชาติ<SUP class=reference id=cite_ref-59>[60]</SUP> เป็นต้น
    ตราไปรษณียากรที่ตีพิมพ์ภาพที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับวันอาสาฬหบูชาเท่าที่ปรากฏในประเทศไทย คือตราไปรษณียากรที่ระลึกชุดวันเด็กแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2539 โดยในครั้งนั้นตีพิมพ์เป็น 1 ราคา มี 3 แบบ ด้วยกัน โดยแต่ละแบบเป็นรูปภาพเกี่ยวกับวันสำคัญทางพุทธศาสนาในประเทศไทย คือ ภาพวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา ซึ่งภาพที่ตีพิมพ์รูปภาพวันอาสาฬหบูชาในครั้งนั้น เป็นตราไปรษณียากรราคาจำหน่าย 2 บาท เป็นรูปวาดผลงานของเด็กนักเรียนที่ชนะการประกวด โดยเป็นรูปวาดพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่เหล่าปัญจวัคคีย์ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี มีรูปพระพุทธเจ้าประทับนั่งอยู่ด้านซ้ายของรูปบนพระแท่นดอกบัวใต้ร่มไม้ใหญ่ ข้าง ๆ มีรูปกวางแสดงถึงสวนป่าสารนาถตามตำนานป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ด้านขวาล่างมีรูปฤๅษีเบญจวัคคีย์ในชุดฤๅษี 4 ท่าน และรูปพระโกณฑัญญะในชุดพระสงฆ์ 1 องค์ นั่งพนมมือสดับพระปฐมเทศนา แสดงถึงการอุบัติของพระสงฆ์องค์แรกในโลกครบเป็นองค์พระรัตนตรัย ด้านบนกลางภาพเป็นรูปพระธรรมจักรเปล่งรัศมี แสดงถึงการเริ่มประกาศพระสัจจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในขอบด้านซ้ายมีคำว่า "วันเด็กแห่งชาติ ๒๕๓๙ CHILDREN'S DAT 1996" มุมขวาล่างมีคำว่า "2 บาท BAHT" ทั้งหมดพิมพ์เป็นชนิดราคา 2 บาท มีราคาเดียวเท่านั้น ซึ่งกล่าวได้ว่าแม้ตราไปรษณียากรดังกล่าวจะไม่ใช่ตราไปรษณียากรที่ตีพิมพ์เนื่องในวันอาสาฬหบูชาโดยตรง แต่ก็เป็นตราไปรษณียากรไทยรูปแบบเดียวที่ตีพิมพ์ภาพที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับวันอาสาฬหบูชามากที่สุดเท่าที่ปรากฏในปัจจุบัน

    <CENTER><TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    ตราไปรษณียากร
    วันอาสาฬหบูชา ประจำปี 2540
    ภาพวาดทศชาติชาดก เรื่องมหาชนกชาดก



    </TD><TD>[​IMG]


    <CENTER>ตราไปรษณียากร
    วันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2539
    ภาพวาดพระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาแก่ปัญวัคคีย์ในวันอาสาฬหบูชา</CENTER>


    </TD><TD>[​IMG]

    ตราไปรษณียากร
    วันอาสาฬหบูชา ประจำปี 2540
    ภาพวาดทศชาติชาดก เรื่องมโหสถชาดก



    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [แก้] การจัดงานเฉลิมฉลองอาสาฬหบูชาในต่างประเทศ

    [​IMG] [​IMG]
    ในต่างประเทศไม่ได้ให้ความสำคัญกับการจัดงานวันอาสาฬหบูชามากนัก โดยกิจกรรมส่วนใหญ่จะจัดขึ้นที่วัดไทย (จากภาพ: งานเวียนเทียนวันอาสาฬหบูชา ณ วัดพุทธาราม ประเทศฟินแลนด์)


    การที่วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางศาสนาที่พึ่งถูกกำหนดมาไม่นานนัก และถูกกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะสงฆ์ไทยเท่านั้น ความนิยมอย่างกว้างขวางของพุทธศาสนิกชนในการให้ความสำคัญกับการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาในวันนี้จึงยังคงมีจำกัดเฉพาะอยู่ในประเทศไทย
    ส่วนในประเทศที่มีประชากรนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็นศาสนาหลักอื่น ๆ เช่น ศรีลังกา พม่า ลาว กัมพูชา ไม่ได้ให้ความสำคัญกับวันอาสาฬหบูชาในฐานะวันสำคัญของรัฐหรือวันหยุดราชการของประเทศ<SUP class=reference id=cite_ref-60>[61]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-61>[62]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-62>[63]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-63>[64]</SUP> และไม่นิยมปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาในวันนี้โดยให้ความสำคัญเทียบเท่ากับวันวิสาขบูชาเลย แต่พุทธศาสนิกชนในประเทศเหล่านั้นก็ได้ถือวันนี้เป็นวันทางพระพุทธศาสนาตามปกติอยู่แล้ว เนื่องจากวันอาสาฬหบูชาเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 อันเป็นวันอุโบสถ หรือวันพระใหญ่ตามปกติของนิกายเถรวาท และโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้เป็นวันสุดท้ายก่อนวันเริ่มต้นเทศกาลเข้าพรรษาตามปฏิทินจันทรคติของพระสงฆ์เถรวาท พิธีปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนเถรวาทในประเทศเหล่านั้นจึงให้ความสำคัญในวันนี้ไปกับการเตรียมตัวเข้าจำพรรษาของพระสงฆ์ เช่น ในประเทศลาว วันนี้จะเป็นวันสำคัญที่พุทธศาสนิกชนจะไปทำบุญตักบาตรและมีการถวายเทียนพรรษาผ้าอาบน้ำฝนเป็นพิเศษ ซึ่งต่างจากประเทศไทยที่พุทธศาสนิกชนจะจัดงานถวายเทียนพรรษาและผ้าอาบน้ำฝนแก่พระสงฆ์ในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือวันเข้าพรรษาโดยตรง
    แม้ว่าชาวพุทธในประเทศอื่นจะไม่ให้ความสำคัญกับการจัดงานวันอาสาฬหบูชาในฐานะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเริ่มประกาศพระศาสนาและเป็นวันที่เกิดพระรัตนตรัยครบองค์ 3 แต่ปรากฏว่าในปัจจุบันการจัดพิธีเฉลิมฉลองวันอาสาฬหบูชาในต่างประเทศ ก็มีการจัดขึ้นบ้างตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วโลก โดยส่วนใหญ่จะจัดโดยคนไทยในวัดไทย ซึ่งจะจัดต่อเนื่องกันไปสองวัน คืองานวันอาสาฬหบูชาต่อด้วยงานวันเข้าพรรษาเช่นเดียวกับในประเทศไทย<SUP class=reference id=cite_ref-64>[65]</SUP> การจัดงานจะมีการทำบุญใส่บาตร และมีการเวียนเทียนรอบศาสนสถานสำคัญของวัดเหมือนประเทศไทย แต่การเวียนเทียนส่วนใหญ่จะจัดในเวลากลางวันของวันอาสาฬหบูชา ซึ่งโดยส่วนใหญ่ตามวัดไทยที่ยังไม่มีเจดีย์สถานหรืออุโบสถ วิหารภายในวัดก็จะจัดพิธีเวียนเทียนรอบพระพุทธรูป หรือเดินเวียนรอบวัดหรือที่พักสงฆ์แทน<SUP class=reference id=cite_ref-65>[66]</SUP> และอาจกล่าวได้ว่าการจัดงานดังกล่าวตามวัดไทยในต่างประเทศส่วนใหญ่เป็นเพียงการจัดโดยคนไทยที่จัดขึ้นเพื่ออนุรักษ์ประเพณีและไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกว้างขวางมากนักในหมู่ชาวต่างประเทศ และผู้ร่วมพิธีจะเป็นกลุ่มชาวไทยและพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัดเท่านั้น

    [แก้] เชิงอรรถ

    <CITE id=fn_1>หมายเหตุ 1:</CITE> พระสงฆ์ที่อุปสมบทในช่วงแรกหลังพระพุทธเจ้าประกาศปฐมเทศนา นอกจากท่านพระโกณฑัญญะเถระที่เป็นพระสงฆ์องค์แรกแล้ว คือ กลุ่มปัญจวัคคีย์ที่เหลือ ได้แก่พระวัปปะเถระ พระภัททิยะเถระ พระมหานามะเถระ และพระอัสสชิเถระ และนอกจากนี้ยังมีท่านพระยสะเถระ บุตรแห่งตระกูลมหาเศรษฐีเมืองพาราณสี<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A2.E0.B8.AA.E0.B8.B0_38-1>[39]</SUP> และบรรดาสหายของท่านที่เป็นบุตรแห่งมหาเศรษฐีอีก 45 ท่าน ในจำนวนนั้นทราบชื่อ 4 ท่าน<SUP class=reference id=cite_ref-66>[67]</SUP> คือ พระวิมละเถระ, พระสุพาหุเถระ, พระปุณณชิเถระ และพระควัมปติเถระ ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์รุ่นแรกในพระพุทธศาสนา รวมช่วงแรกแห่งการเผยแพร่ศาสนาของพระพุทธองค์ มีพระอรหันต์ (รวมพระพุทธเจ้า) อุบัติขึ้นในโลกทั้งสิ้น 61 องค์<SUP class=reference id=cite_ref-67>[68]</SUP>
    [​IMG]


    <CITE id=fn_2>หมายเหตุ 2:</CITE> คาถาพรหมอาราธนาดังกล่าว เป็นคาถาพระพุทธพจน์ที่มาจากพระโอษฐ์โดยตรง ที่ปรากฏความในพระไตรปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เป็นคาถาที่เป็นที่มาของพิธีกล่าวคำอาราธนาธรรมของทายกก่อนพระสงฆ์เทศนาธรรมในปัจจุบัน ซึ่งคาถาของพระพรหมจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าจะมีความยาวของคาถามากกว่าคาถาอาราธนาธรรมที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน (บทบาลีที่ขึ้นต้นด้วย: พฺรหฺมา จ โลกาธิปตี สหมฺปติ ฯเปฯ|ฟัง) โดยคาถาอาราธนาธรรมที่แพร่หลายและใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันนั้นเป็นคาถาที่ปรากฏในคัมภีร์พุทธวงศ์ ในพระไตรปิฎก เล่มที่ 33<SUP class=reference id=cite_ref-68>[69]</SUP>มีความยาวโดยย่อกว่าและเป็นคำกล่าวโดยคาถาประพันธ์ของพระสาวกในชั้นหลัง ซึ่งส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าคาถาอาราธนาธรรมที่รู้จักกันทั่วไปนี้เป็นคาถาของพระพรหม แต่ที่จริงแล้วเป็นคาถาที่พระสาวกพรรณาการอาราธนาธรรมของพระพรหมเท่านั้น หาใช่คำจากโอษฐ์ของท้าวสหัมบดีพรหมแต่อย่างใด

    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AB.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.94-0>^ <SUP>1.0</SUP> <SUP>1.1</SUP> ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดเวลาทำงานและวันหยุดราชการ (ฉบับที่ ๑๔ ) พ.ศ. ๒๕๐๕, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๒, ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๕, หน้า ๑๓๗๕ <LI id=cite_note-1>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-2>^ การถือปฏิบัติวันอาสาฬหบูชาในประเทศไทย. เว็บไซต์กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา​ธรรมจักรดอตเน็ต <LI id=cite_note-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81-3>^ <SUP>4.0</SUP> <SUP>4.1</SUP> <SUP>4.2</SUP> <SUP>4.3</SUP> <SUP>4.4</SUP> ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักสังฆนายก เรื่อง กำหนดพิธีอาสาฬหบูชา, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๗, ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๒๑๖๙ <LI id=cite_note-4>^ สุรีย์ มีผลกิจและวิเชียร มีผลกิจ. พระพุทธกิจ ๔๕ พรรษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คอมฟอร์ม, ๒๕๒๕. <LI id=cite_note-.E0.B8.A3.E0.B8.B3.E0.B8.9E.E0.B8.B6.E0.B8.87.E0.B8.9B.E0.B8.B1.E0.B8.88.E0.B9.80.E0.B8.88.E0.B8.81-5>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงมีความขวนขวายน้อย. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [2]. เข้าถึงเมื่อ 24-6-52 <LI id=cite_note-.E0.B8.97.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B8.AA.E0.B8.AB.E0.B8.B1.E0.B8.A1.E0.B8.9A.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.97.E0.B8.B9.E0.B8.A5.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.98.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.94.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1-6>^ <SUP>7.0</SUP> <SUP>7.1</SUP> พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ท้าวสหัมบดีพรหมทูลอาราธนา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [3]. เข้าถึงเมื่อ 24-6-52 <LI id=cite_note-7>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [4]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52 <LI id=cite_note-8>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต คิลานสูตร สูตรที่ ๒. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [5]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52 <LI id=cite_note-9>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงปรารภถึงคนที่จะทรงแสดงธรรมก่อน. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [6]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52 <LI id=cite_note-10>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เสด็จเข้าไปหาพระปัญจวัคคีย์. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [7]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52 <LI id=cite_note-11>^ อิสิปตนมฤคทายวัน สมัยหลังพุทธกาล. ห้องสมุดคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [ออนไลน์]. เรียกข้อมูลเมื่อ 12-6-52 <LI id=cite_note-12>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ปาสราสิสูตร (ม.มู. ๑๒/๓๒๖). พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [8]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-13>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ปฐมเทศนา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [9]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-14>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ (ว่าด้วยพระประวัติพระโคตมพุทธเจ้า). พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [10]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-15>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สัจจวิภังคสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [11]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-16>^ อรรถกถาพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย อุทาน จูฬวรรคที่ ๗ ตัณหักขยสูตร อรรถกถาตัณหักขยสูตรที่ ๖. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [12]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-17>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ธัมมจักกัปปวัตตนวรรคที่ ๒ ตถาคตสูตรที่ ๑ (ทรงแสดงพระธรรมจักร). พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [13]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-18>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ปัญจวัคคีย์ทูลขอบรรพชาอุปสมบท. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [14]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-.E0.B8.A7..E0.B8.9B..E0.B8.A7.E0.B8.B5.E0.B8.A3.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.97.E0.B9.82.E0.B8.98-19>^ <SUP>20.0</SUP> <SUP>20.1</SUP> พระราชรัตนรังสี (ว.ป.วีรยุทโธ).สู่แดนพระพุทธองค์ อินเดีย-เนปาล.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,____. <LI id=cite_note-20>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต สังเวชนียสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [15]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-21>^ ไพโรจน์ คุ้มไพโรจน์.ตามรอยบาทพระศาสดา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2539. <LI id=cite_note-22>^ ศรีกิตติโสภณ (สุกิตติ) , พระ. มหาชนบท 16 แคว้นในชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล และจดหมายเล่าเรื่องอนาคาริกธรรมปาละ. กรุงเทพมหานคร : ไม่ปรากฏชื่อสถานที่พิมพ์, ๒๕๓๙ <LI id=cite_note-23>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [16]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-24>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ เรื่องยสกุลบุตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [17]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-25>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [18]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-26>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ มารดาและภรรยาเก่าของพระยสได้ธรรมจักษุ. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [19]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-27>^ อรรถกถา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค มารสังยุต ปฐมวรรคที่ ๑ ทุติยปาสสูตรที่ ๕. อรรถกถาพระไตรปิฎก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [20]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-28>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ทุติยปาสสูตรที่ ๕. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [21]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-29>^ เสฐียร พันธรังษี. พุทธสถานในชมพูทวีป. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ยูไนเต็ด โปรดั๊กชั่น, ๒๕๒๘ <LI id=cite_note-30>^ Description of Sarnath - บันทึกการเดินทางในสารนาถ บันทึกการจาริกแสวงบุญของสมณะฟาเหียน Faxian (399-414 AC). เรียกข้อมูลเมื่อ 10-6-52 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-31>^ อมตานันทะ,พระ และคณะ.เอกสารโครงการค้นคว้าพุทธสถานในแดนพุทธองค์ทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : เอกสารตีพิมพ์ถ่ายสำเนาจากต้นฉบับ, ม.ป.ป. <LI id=cite_note-32>^ สมัย สิงห์ศิริ (ผู้แปล). พระพุทธศาสนาในชมพูทวีป. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ประพาสต้น, 2504. <LI id=cite_note-33>^ ไพโรจน์ คุ้มไพโรจน์.ตามรอยบาทพระศาสดา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2539. <LI id=cite_note-34>^ "History : Indian Freedom Struggle (1857–1947)". National Informatics Centre (NIC). Indian Freedom Struggle (1857-1947) - Culture and Heritage - Know India: National Portal of India. Retrieved on 2007-10-03. "And by 1856, the British conquest and its authority were firmly established." (อังกฤษ) <LI id=cite_note-35>^ Cunningham, A. (1848) Essay on the Aryan Order of Architecture, as exhibited in the Temples of Kashmir, Calcutta <LI id=cite_note-36>^ พระราชธรรมมุนี (เกียรติ สุกิตฺติ). จดหมายเล่าเรื่องอนาคาริกธรรมปาละ. กรุงเทพ 2543 <LI id=cite_note-37>^ พระราชรัตนรังสี (ว.ป.วีรยุทโธ).สู่แดนพระพุทธองค์ อินเดีย-เนปาล.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,____. <LI id=cite_note-.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A2.E0.B8.AA.E0.B8.B0-38>^ <SUP>39.0</SUP> <SUP>39.1</SUP> พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ยสบรรพชา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [22]. เข้าถึงเมื่อ 26-6-52 <LI id=cite_note-39>^ "State Emblem -Inscription". National Informatics Centre (NIC). State Emblem - National Symbols - Know India: National Portal of India. Retrieved on 2007-06-17. <LI id=cite_note-40>^ ที.ดับบลิว.ริส.เดวิสส์ แต่ง, สมัย สิงหศิริ แปลและเรียบเรียง, “พระพุทธศาสนา ในชมพูทวีป”. กรุงเทพ: สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัย. พ.ศ. 2515 <LI id=cite_note-41>^ เคงเหลียน สีบุญเรือง. “พระถังซัมจั๋ง”. มูลนิธิอภิธรรมมหาธาตุวิทยาลัยวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์. กรุงเทพฯ: ไม่ทราบสำนักพิมพ์. พ.ศ. 2484 <LI id=cite_note-42>^ วันสำคัญของเรา, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2520, หน้า 6 <LI id=cite_note-43>^ วันอาสาฬหบูชากับแนวปฏิบัติตามคุณธรรมศาสนา. เว็บไซต์สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 <LI id=cite_note-44>^ เทวประภาส ญาณเมธี. พุทธพจน์บรมธรรมปฐมภาค (ภาค ๑). กรุงเทพ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ. 2551 <LI id=cite_note-45>^ การถือปฏิบัติวันอาสาฬหบูชาในประเทศไทย. เว็บไซต์กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา​ธรรมจักรดอตเน็ต <LI id=cite_note-46>^ ปัณณวัฒน์. ปฏิทิน 100 ปี พ.ศ. 2468-2568 คัมภีร์พยากรณ์คู่บ้าน. กรุงเทพฯ : ไพลิน, 2550. ISBN 974-455-535-1 <LI id=cite_note-47>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๑/๒๕๔๕ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๕, เล่ม ๑๑๙, ตอน พิเศษ ๖๗ ง , ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕, หน้า ๓๐ <LI id=cite_note-48>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ พระราชกุศลเข้าวรรษา ๒๔๙๙, เล่ม ๗๓, ตอน ๕๗, ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๙, หน้า ๒๐๖๗ <LI id=cite_note-49>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๒/๒๕๐๑ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศการเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๐๑, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๘ ง ฉบับพิเศษ, ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๑ <LI id=cite_note-50>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๔/๒๕๓๙ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๙, เล่ม ๑๑๔, ตอน พิเศษ ๖๑ ง, ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๘๙ <LI id=cite_note-51>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๗/๑/๒๕๕๑ หมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับเปลี่ยนแปลง), เล่ม ๑๒๕, ตอน ๑๔ ข , ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑, หน้า ๑๙๓ <LI id=cite_note-52>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๓/๒๕๔๖ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๖, เล่ม ๑๒๐, ตอน พิเศษ ๗๖ ง, ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, หน้า ๗๘ <LI id=cite_note-53>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรชุดวันอาสาฬหบูชา, เล่ม ๑๑๑, ตอน ๖๒ ง, ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๑๕๓๗, หน้า ๔ <LI id=cite_note-.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.8A.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88.E0.B8.88.E0.B8.B2.E0.B8.9B.E0.B8.90.E0.B8.A1.E0.B9.81.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A1.E0.B8.9B.E0.B9.8C.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.AC-54>^ <SUP>55.0</SUP> <SUP>55.1</SUP> ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันอาสาฬหบูชา), เล่ม ๑๑๗, ตอน ๗๒ ง, ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓, หน้า ๑๔ <LI id=cite_note-55>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันอาสาฬหบูชา), เล่ม ๑๒๐, ตอน ๕๖ ง, ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, หน้า ๑๘ <LI id=cite_note-56>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันอาสาฬหบูชา), เล่ม ๑๑๔, ตอน ๖๐ ง , ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๕ <LI id=cite_note-57>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา), เล่ม ๑๑๕, ตอน ๔๐ ง, ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๑, หน้า ๑๓ <LI id=cite_note-58>^ ตราไปรษณียากรชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา) ประจำปี 2552. เว็บไซต์บริษัทไปรษณีย์ไทย. เรียกข้อมูลเมื่อ 12-5-52 <LI id=cite_note-59>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง สร้างและจำหน่ายตราไปรษณียากรที่ระลึกชุดวันเด็กแห่งชาติ, เล่ม ๑๑๓, ตอน ๑ ง, ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๑๐ <LI id=cite_note-60>^ Sri Lanka Public Holidays 2009. The Professional Source of World Public Holidays. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52 <LI id=cite_note-61>^ Burma Public Holidays 2009. The Professional Source of World Public Holidays. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52 <LI id=cite_note-62>^ Burma Public Holidays 2009. The Professional Source of World Public Holidays. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52 <LI id=cite_note-63>^ Cambodia Public Holidays 2009. The Professional Source of World Public Holidays. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-5-52 <LI id=cite_note-64>^ ขอเชิญร่วมทำบุญวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา. เว็บไซต์ Wat Rattanavanaram : วัดรัตนวนาราม สหรัฐอเมริกา. เรียกข้อมูลเมื่อ 24-6-52 <LI id=cite_note-65>^ งานวันอาสาฬหบูชา พ.ศ. 2550. เว็บไซต์วัดไทยมินเนโซต้า สหรัฐอเมริกา. เรียกข้อมูลเมื่อ 24-6-52 <LI id=cite_note-66>^ แม่กองธรรมสนามหลวง. ธรรมศึกษาชั้นโท ฉบับปรับปรุงใหม่ที่ประกาศใช้ในปัจจุบัน. กรุงเทพ. สำนักพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (สำนักพิมพ์กรมการศาสนา), พ.ศ. ๒๕๕๐ <LI id=cite_note-67>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยสออกบรรพชา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [23]. เข้าถึงเมื่อ 26-6-52
    2. ^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ พุทธวงศ์ รัตนะจงกรมกัณฑ์ ว่าด้วยพระพุทธองค์ทรงเนรมิตที่จงกรมแก้ว. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [24]. เข้าถึงเมื่อ 26-6-52

    [แก้] หนังสืออ่านเพิ่มเติม

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=9 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>
    • พระธรรมโกศาจารย์. ธรรมโฆษณ์ของพุทธทาส-พุทธประวัติจากพระโอษฐ์. กรุงเทพฯ : ธรรมทานมูลนิธิ, 2529. พิมพ์ครั้งที่ 11. ISBN 974-497-908-9
    • ปัณณวัฒน์. ปฏิทิน 100 ปี พ.ศ. 2468-2568 คัมภีร์พยากรณ์คู่บ้าน. กรุงเทพฯ : ไพลิน, 2550. ISBN 974-455-535-1
    • เสถียร โพธินันทะ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บรรณาคาร, 2522. ISBN 974-580-954-3
    • พุทธทาสภิกขุ. พุทธประวัติสำหรับยุวชน. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : ธรรมทานมูลนิธิ, 2525. ISBN 978-9741-617-500
    • สุรีย์ มีผลกิจและวิเชียร มีผลกิจ. พระพุทธกิจ 45 พรรษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คอมฟอร์ม, 2525. ISBN 978-9742-585-303
    </TD><TD>
    • พระธรรมกิตติวงศ์, (ทองดี สุรเตโช). คำวัด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง, 2546. ISBN 974-4936-673
    • พระพรหมคุณาภรณ์, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พุทธศาสนากับสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2532
    • พระอุดรคณาธิการ, (ชวินทร์ สระคำ). ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534.
    • พระราชธรรมนิเทศ, (ระแบบ ฐิตญาโณ). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ. มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.
    • ไพโรจน์ คุ้มไพโรจน์.ตามรอยบาทพระศาสดา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2539. ISBN 974-893-835-2
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] ดูเพิ่ม

    • วันมาฆบูชา (วันสำคัญทางพุทธศาสนา และวันหยุดราชการในประเทศไทย)
    • วันวิสาขบูชา (วันสำคัญทางพุทธศาสนา และวันหยุดราชการในประเทศไทย)
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    [​IMG]

    คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
    วันอาสาฬหบูชา

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND-COLOR: #ffd068" colSpan=3>


    วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    </TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญปกติ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กลุ่มวันธรรมสวนะ-
    วันธรรมสวนะ (วันพระ, วันอุโบสถศีล) (!) • วันโกน (วันก่อนวันพระหนึ่งวัน)
    ประเภทวันธรรมสวนะ-
    วันอัฏฐมี (วันพระธรรมดา 8 ค่ำ) (!) • วันจาตุทสี (วันพระใหญ่ 14 ค่ำ) (!) • วันปัณรสี (วันพระใหญ่ 15 ค่ำ) (!)

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=9>[​IMG]</TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญพิเศษ
    (วันเวียนเทียน)
    </TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันมาฆบูชา (⁂) • วันวิสาขบูชา (⁂) • วันอาสาฬหบูชา (⁂) • อัฏฐมีบูชา (!)

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญพิเศษอื่น ๆ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันเข้าพรรษา (⁂) • ออกพรรษา (!) • วันเทโวโหรณะ

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญตามพระวินัย</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันลงอุโบสถ (วันที่พระสงฆ์ประชุมแสดงปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือน) (!)
    วันเข้าพรรษา (⁂) • วันมหาปวารณา (วันออกพรรษา) • วันทอดกฐิน (ภายใน 1 เดือนหลังออกพรรษา) (*)

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">ดูเพิ่ม</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• การทำบุญตักบาตร (กิจกรรมที่นิยมปฏิบัติในวันสำคัญทางพุทธศาสนา) • การเวียนเทียน

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: #ffd068" colSpan=3>(⁂) วันหยุดราชการ, (!) เคยเป็นวันหยุดราชการ, (*) ไม่มีกำหนดวันแน่นอนตามปฏิทินจันทรคติ</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 2232/1000000Post-expand include size: 92930/2048000 bytesTemplate argument size: 53993/2048000 bytesExpensive parser function count: 2/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:32647-0!1!0!!th!2 and timestamp 20090705024119 -->
    ดึงข้อมูลจาก "วันอาสาฬหบูชา - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย | วันสำคัญทางศาสนาที่นับโดยปฏิทินจันทรคติ | วันสำคัญทางพุทธศาสนา | วันเวียนเทียน | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันเข้าพรรษา

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    วันเข้าพรรษา - วิกิพีเดีย

    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->เว็บย่อ: th.wikipedia.org/wiki/Vassa

    <TABLE class=toccolours id=WSerie_Buddhism style="BORDER-RIGHT: #060 1px solid; BORDER-TOP: #060 1px solid; FLOAT: right; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; BORDER-LEFT: #060 1px solid; BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center" cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG]

    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ไตรสรณะ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล · ธรรม
    ศีลห้า · เบญจธรรม
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TH colSpan=2>[​IMG] สถานีย่อย</TH></TR></TBODY></TABLE><DL><DD>บทความนี้เกี่ยวกับวันสำคัญทางพุทธศาสนา สำหรับเข้าพรรษาความหมายอื่น ดูที่ เข้าพรรษา

    </DD></DL>[​IMG] [​IMG]
    ในสมัยก่อน การเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ ในฤดูฝน มีความยากลำบาก และเป็นช่วงฤดูทำไร่นาของชาวบ้าน พระพุทธเจ้าจึงวางระเบียบให้พระสงฆ์หยุดการเดินทางเพื่อประจำอยู่ ณ สถานที่ใดที่หนึ่งในช่วงฤดูฝน


    <TABLE><TBODY><TR vAlign=center><TD style="FONT-SIZE: 300%">[​IMG]</TD><TD>บทความนี้ใช้ระบบปีพุทธศักราช เพราะเป็นส่วนหนึ่งของบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ พ.ศ. และ/หรือมีการอ้างอิงไปยังพุทธศตวรรษ
    สำหรับก่อนปี พ.ศ. 2484 นับให้วันที่ 1 เมษายนเป็นวันแรกของปี

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, อังกฤษ: Vassa, เขมร:​​​​ វស្សា, พม่า:​​​​ ဝါဆိုး) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่ง ที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) พิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม<SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP> การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา
    วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือได้ว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย
    สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
    ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา"
    นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น "วันงดดื่มสุราแห่งชาติ"<SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP> โดยในปีถัดมา ยังได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักร<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> ทั้งนี้เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษาและในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้แก่สังคมไทย<SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP>
    สำหรับในปี พ.ศ. 2552 นี้ วันเข้าพรรษาจะตรงกับ วันพุธที่ 8 กรกฎาคม ตามปฏิทินสุริยคติ

    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ความสำคัญ


    ความสำคัญและประโยชน์ของการเข้าพรรษา
    1. ช่วงเข้าพรรษานั้นเป็นช่วงเวลาที่ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่นา ดังนั้นการกำหนดให้ภิกษุสงฆ์หยุดการเดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ ก็จะช่วยให้พันธุ์พืชของต้นกล้า หรือสัตว์เล็กสัตว์น้อย ไม่ได้รับความเสียหายจากการเดินธุดงค์
    2. หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 - 9 เดือน ช่วงเข้าพรรษาเป็นช่วงที่ให้พระภิกษุสงฆ์ได้หยุดพักผ่อน
    3. เป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึง วันออกพรรษา
    4. เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป
    5. เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา
    [แก้] มูลเหตุที่พระพุทธเจ้าอนุญาตการจำพรรษาแก่พระสงฆ์

    [​IMG] [​IMG]
    วันเข้าพรรษา หรือ การเข้าพรรษา เป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ ซึ่งพุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมเพื่อละเว้นสิ่งไม่ดีเพื่อพยายามประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย


    ในสมัยต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงวางระเบียบเรื่องการเข้าพรรษาไว้ แต่การเข้าพรรษานั้นเป็นสิ่งที่พระพุทธองค์และพระสงฆ์สาวกปฏิบัติกันมาโดยปกติเนื่องด้วยพุทธจริยาวัตรในอันที่จะไม่ออกไปจาริกตามสถานที่ต่าง ๆ ในช่วงฤดูฝนอยู่แล้ว เพราะการคมนาคมมีความลำบาก และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพระสงฆ์ในช่วงต้นพุทธกาลมีจำนวนน้อยและส่วนใหญ่เป็นพระอริยะบุคคล จึงทราบดีว่าสิ่งใดที่พระสงฆ์ควรหรือไม่ควรกระทำ
    ต่อมาเมื่อมีพระสงฆ์มากขึ้น และด้วยพระพุทธจริยาที่พระพุทธเจ้าจะไม่ทรงบัญญัติพระวินัยล่วงหน้า ทำให้พระพุทธเจ้าจึงไม่ได้ทรงบัญญัติเรื่องให้พระสงฆ์สาวกอยู่ประจำพรรษาไว้ด้วย จึงเกิดเหตุการณ์กลุ่มพระสงฆ์ฉัพพัคคีย์พากันออกเดินทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาในที่ต่าง ๆ โดยไม่ย่อท้อทั้งในฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ทำให้ชาวบ้านได้พากันติเตียนว่า พวกพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาไม่ยอมหยุดพักสัญจรแม้ในฤดูฝน ในขณะที่นักบวชในศาสนาอื่น พากันหยุดเดินทางในช่วงฤดูฝน การที่พระภิกษุสงฆ์จาริกไปในที่ต่างๆ แม้ในฤดูฝน อาจเหยียบย่ำข้าวกล้าของชาวบ้านได้รับความเสียหาย หรืออาจไปเหยียบย่ำโดนสัตว์เล็กสัตว์น้อยที่ออกหากินจนถึงแก่ความตาย เมื่อพระพุทธเจ้าทราบเรื่อง จึงได้วางระเบียบให้ภิกษุประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง เป็นเวลา 3 เดือนดังกล่าว<SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>

    [แก้] การเข้าพรรษาของพระสงฆ์ตามพระวินัยปิฎก

    ตามพระวินัย พระสงฆ์รูปใดไม่เข้าจำพรรษาอยู่ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงปรับอาบัติแก่พระสงฆ์รูปนั้นด้วยอาบัติทุกกฏ<SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP>
    และพระสงฆ์ที่อธิษฐานรับคำเข้าจำพรรษาแล้วจะไปค้างแรมที่อื่นไม่ได้ แต่ถ้าหากเดินทางออกไปแล้วและไม่สามารถกลับมาในเวลาที่กำหนด คือ ก่อนรุ่งสว่าง ก็จะถือว่าพระภิกษุรูปนั้น"ขาดพรรษา" และต้องอาบัติทุกกฏเพราะรับคำนั้น รวมทั้งพระสงฆ์รูปนั้นจะไม่ได้รับอานิสงส์พรรษา ไม่ได้อานิสงส์กฐินตามพระวินัย และทั้งยังห้ามไม่ให้นับพรรษาที่ขาดนั้นอีกด้วย<SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP>

    [แก้] ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์


    การเข้าพรรษาตามพระวินัยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท <SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-8>[9]</SUP> คือ
    1. ปุริมพรรษา (เขียนอีกอย่างว่า บุริมพรรษา) คือ การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12
    1. ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน
    [แก้] ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์


    แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม<SUP class=reference id=cite_ref-9>[10]</SUP> แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า "สัตตาหกรณียะ" ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น
    1. การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา
    2. การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5
    3. การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น
    4. หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้.
    ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฏเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้)
    ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฏดังกล่าวแล้ว

    [แก้] อานิสงส์การจำพรรษาของพระสงฆ์ที่จำครบพรรษา


    เมื่อพระสงฆ์จำพรรษาครบไตรมาสได้ปวารณาออกพรรษาและได้กรานกฐินแล้ว ย่อมได้รับอานิสงส์ หรือข้อยกเว้นพระวินัย 5 ข้อ<SUP class=reference id=cite_ref-10>[11]</SUP> คือ
    1. เที่ยวไปไหนไม่ต้องบอกลา (ออกจากวัดไปโดยไม่จำเป็นต้องแจ้งเจ้าอาวาสหรือพระสงฆ์รูปอื่นก่อนได้)
    2. เที่ยวไปไม่ต้องถือไตรจีวรครบสำรับ 3 ผืน
    3. ฉันคณะโภชน์ได้ (ล้อมวงฉันได้)
    4. เก็บอดิเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา (ยกเว้นสิกขาบทข้อนิสสัคคิยปาจิตตีย์บางข้อ)
    5. จีวรลาภอันเกิดในที่นั้นเป็นของภิกษุ (เมื่อมีผู้มาถวายจีวรเกินกว่าไตรครองสามารถเก็บไว้ได้โดยไม่ต้องสละเข้ากองกลาง)
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การถือปฏิบัติการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ไทยในปัจจุบัน
    การเข้าพรรษานั้นปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท ซึ่งพระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการปฏิบัติการเข้าจำพรรษาเหมือนกัน (แต่อาจมีความแตกต่างกันบ้างในการให้ความสำคัญและรายละเอียดประเพณีปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น)

    [แก้] การเตรียมตัวเข้าจำพรรษาของพระสงฆ์ในปัจจุบัน

    [​IMG] [​IMG]
    เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พระสงฆ์ในวัดจะรวมตัวกันอธิษฐานจำพรรษาภายในวิหารหรืออุโบสถของวัด


    การเข้าจำพรรษาคือการตั้งใจเพื่ออยู่จำ ณ อาวาสใดอาวาสหนึ่งหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเป็นประจำตลอดพรรษา 3 เดือน ดังนั้นก่อนเข้าจำพรรษาพระสงฆ์ในวัดจะเตรียมตัวโดยการซ่อมแซมเสนาสนะปัดกวาดเช็ดถูให้เรียบร้อยก่อนถึงวันเข้าพรรษา

    เมื่อถึงวันเข้าพรรษา ส่วนใหญ่พระสงฆ์จะลงประกอบพิธีอธิษฐานจำพรรษาหลังสวดมนต์ทำวัตรเย็นเป็นพิธีเฉพาะของพระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่จะลงประกอบพิธี ณ อุโบสถ หรือสถานที่ใดตามแต่จะสมควรภายในอาวาสที่จะจำพรรษา โดยเมื่อทำวัตรเย็นประจำวันเสร็จแล้วเจ้าอาวาสจะประกาศเรื่อง วัสสูปนายิกา คือการกำหนดบอกให้ให้พระสงฆ์ทั้งปวงรู้ถึงข้อกำหนดในการเข้าพรรษา โดยมีสาระสำคัญดังนี้
    1. แจ้งให้ทราบเรื่องการเข้าจำพรรษาแก่พระสงฆ์ในอาราม
    2. แสดงความเป็นมาและเนื้อหาของวัสสูปนายิกาตามพระวินัยปิฏก
    3. กำหนดบอกอาณาเขตของวัด ที่พระสงฆ์จะรักษาอรุณ หรือรักษาพรรษาให้ชัดเจน (รักษาอรุณคือต้องอยู่ในอาวาสที่กำหนดก่อนอรุณขึ้น จึงจะไม่ขาดพรรษา)
    4. หากมีภิกษุผู้เป็นเสนาสนคาหาปกะ ก็ทำการสมมุติเสนาสนคาหาปกะ (เจ้าหน้าที่สงฆ์) เพื่อให้เป็นผู้กำหนดให้พระสงฆ์รูปใดจำพรรษา ณ สถานที่ใดในวัด
    เมื่อแจ้งเรื่องดังกล่าวเสร็จแล้ว อาจจะมีการทำสามีจิกรรม คือกล่าวขอขมาโทษซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างพระเถระและพระผู้น้อย และเป็นการสร้างสามัคคีกันในหมู่คณะด้วย
    จากนั้นจึงทำการอธิษฐานพรรษา เป็นพิธีกรรมที่สำคัญที่สุด โดยการเปล่งวาจาว่าจะอยู่จำพรรษาตลอดไตรมาส โดยพระสงฆ์สามเณรทั้งอารามกราบพระประธาน 3 ครั้งแล้ว เจ้าอาวาสจะนำตั้งนโม 3 จบ และนำเปล่งคำอธิษฐานพรรษาพร้อมกันเป็นภาษาบาลีว่า
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">อิมสฺมึ อาวาเส อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ
    (ถ้ากล่าวหลายคนใช้: อุเปม)
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE>
    หลังจากนี้ ในแต่ละวัดจะมีข้อปฏิบัติแตกต่างกันไป บางวัดอาจจะมีการเจริญพระพุทธมนต์ต่อ และเมื่อเสร็จแล้วอาจจะมีการสักการะสถูปเจดีย์ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ภายในวัดอีกตามแต่จะเห็นสมควร
    เมื่อพระสงฆ์สามเณรกลับเสนาสนะของตนแล้ว อาจจะอธิษฐานพรรษาซ้ำอีกเฉพาะเสนาสนะของตนก็ได้ โดยกล่าววาจาอธิษฐานเป็นภาษาบาลีว่า
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">อิมสฺมึ วิหาเร อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ
    (ถ้ากล่าวหลายคนใช้: อุเปม)
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG] [​IMG]
    การสอบธรรมสนามหลวงจะจัดขึ้นในช่วงหลังออกพรรษา เพื่อวัดความรู้นักธรรมที่พระสงฆ์เล่าเรียนมาตลอดพรรษากาล


    เป็นอันเสร็จพิธีอธิษฐานเข้าจำพรรษาสำหรับพระสงฆ์ และพระสงฆ์จะต้องรักษาอรุณไม่ให้ขาดตลอด 3 เดือนนับจากนี้ โดยจะต้องรักษาผ้าไตรจีวรตลอดพรรษากาล คือ ต้องอยู่กับผ้าครองจนกว่าจะรุ่งอรุณด้วย

    [แก้] การศึกษาพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษาในปัจจุบัน

    ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน
    มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์ ในหลักสูตร พระธรรม จะเรียกว่า ธรรมวิภาค พระวินัย เรียกว่า วินัยมุข รวมเรียกว่า "นักธรรม" ชั้นต่าง ๆ โดยจะมีการสอบไล่ความรู้พระปริยัติธรรมในช่วงออกพรรษา เรียกว่า การสอบธรรมสนามหลวง ในช่วงวันขึ้น 9 - 12 ค่ำ เดือน 11 (จัดสอบนักธรรมชั้นตรีสำหรับพระภิกษุสามเณร) และช่วงวันแรม 2 - 5 ค่ำ เดือน 12 (จัดสอบนักธรรมชั้นโทและเอก สำหรับพระภิกษุสามเณร)<SUP class=reference id=cite_ref-11>[12]</SUP>
    ปัจจุบันการศึกษาเฉพาะในชั้นนักธรรมตรีสำหรับพระนวกะ หรือพระบวชใหม่ จะจัดสอบในช่วงปลายฤดูเข้าพรรษา เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่จะลาสิกขาบทหลังออกพรรษา จะได้ตั้งใจเรียนพระธรมวินัยเพื่อสอบไล่ให้ได้นักธรรมในชั้นนี้ด้วย

    [แก้] การถือปฏิบัติประเพณีการบำเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย

    [​IMG] [​IMG]
    สำเนาศิลาจารึกหลักที่ ๑ (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช)


    การถือปฏิบัติประเพณีการบำเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย สันนิษฐานว่าเริ่มมีมาแต่แรกที่รับพระพุทธศาสนาเถรวาทเข้ามาในดินแดนประเทศไทย ซึ่งอาจมีปฏิบัติประเพณีนี้มาตั้งแต่สมัยทวาราวดี แต่มาปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าชาวไทยได้ถือปฏิบัติในการบำเพ็ญกุศลในเทศกาลเข้าพรรษาในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ดังปรากฏความในศิลาจารึกหลักที่ 1 (ด้านที่ 2) ดังนี้
    <TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-TOP: 10px">... คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มันโอยทาน พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทังชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทังสิ้นทังหลายทังผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน เมื่อโอกพรรษากรานกฐินเดือนณื่งจี่งแล้ว เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้ มีหมอนนั่งหมอนโนน บริพารกฐิน โอยทานแล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัตกฐินเถิงอไรญิกพู้น เมื่อจักเข้ามาเวียง เรียงกันแต่อไรญิกพู้นเท้าหัวลาน ดมบังคมกลองด้วยเสียงพาทย์เสียงพีณ เสียงเลื้อนเสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน เมืองสุโขทัยนี้มีสี่ปากปตูหลวง เที้ยรย่อมคนเสียดกัน เข้ามาดูท่านเผาเทียนท่านเล่นไฟ เมืองสุโขทัยนี้มีดั่งจักแตก ...</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px; FONT-SIZE: 90%; PADDING-BOTTOM: 10px; TEXT-ALIGN: right" colSpan=3>— คำอ่านศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ ๒<SUP class=reference id=cite_ref-12>[13]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-13>[14]</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE>
    นอกจากนี้ในหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ยังได้กล่าวถึงการเทศกาลเข้าพรรษาในสมัยสุโขทัยไว้อีกว่า "เมื่อถึงวันขึ้น ๑๔ ค่ำ ทั้งทหารบก และทหารเรือก็จัดขบวนแห่เทียนจำนำพรรษา ทั้งใส่คานหาบไปและลงเรือ ประดิษฐานอยู่ในบุษบกทองคำ ประดับ ธงทิว ตีกลอง เป่าแตรสังข์ แห่ไป ครั้นถึงพระอารามแล้วก็ยกต้นเทียนนั้นเข้าไปถวายในพระอุโบสถ หอพระธรรมและพระวิหาร จุดตามให้สว่างไสวในที่นั้น ๆ ตลอด ๓ เดือน ดังนี้ทุกพระอาราม" ซึ่งตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์นั้นสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์โดยมี ตามความที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับเค้าโครงของหนังสือนี้ว่าแม้มีเค้าโครงมาจากสมัยสุโขทัย แต่รายละเอียดมีการแต่งเสริมกันขึ้นมาในสมัยอยุธยาหรือรัตนโกสินทร์ตอนต้น<SUP class=reference id=cite_ref-14>[15]</SUP>
    อย่างไรก็ตาม การเทศกาลเข้าพรรษามีคู่กับสังคมไทยทั้งสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนมาช้านาน ดังปรากฏว่าชาวพุทธในชนบทส่วนใหญ่นิยมเข้าวัดเพื่อบำเพ็ญบุญกุศลฟังพระธรรมเทศนาเป็นจำนวนมากในช่วงเข้าพรรษา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความศรัทธาของชาวพุทธในประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ที่ได้ร่วมใจกันสืบทอดประเพณีนี้มาจนปัจจุบัน

    [แก้] ประเพณีเนื่องด้วยการเข้าพรรษาในประเทศไทย

    ในประเทศไทยมีประเพณีมากมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าจำพรรษาของพระสงฆ์ไทยมาช้านาน ดังปรากฏประเพณีมากมายที่เกี่ยวกับการเข้าจำพรรษา เช่น ประเพณีถวายเทียนพรรษา แก่พระสงฆ์เพื่อจุดบูชาตามอารามและเพื่อถวายให้พระสงฆ์สามเณรนำไปจุดเพื่ออ่านคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาในระหว่างเข้าจำพรรษา ประเพณีการถวายผ้าอาบน้ำฝน หรือผ้าวัสสิกสาฏก แก่พระสงฆ์ก่อนเข้าพรรษา เพื่อให้พระสงฆ์นำไปใช้สรงน้ำฝนในพรรษา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่พุทธศาสนิกชนไทยถือว่าเป็นงานบุญใหญ่ประจำปีคือ ประเพณีถวายผ้ากฐิน ที่จัดหลังพระสงฆ์ปวารณาออกพรรษา เพื่อถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์ที่จำครบพรรษาจะได้กรานและได้รับอานิสงส์กฐิน เป็นต้น

    [แก้] ประเพณีถวายเทียนพรรษา

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    คำถวายเทียนพรรษา

    [​IMG] [​IMG]
    เทียนพรรษาในปัจจุบันใช้ประโยชน์เพียงจุดบูชาพระพุทธปฏิมา ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาพระธรรมเหมือนในอดีตอีกแล้ว จึงทำให้ในปัจจุบันเริ่มมีชาวพุทธนำอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างไปถวายแก่พระสงฆ์แทนเทียนพรรษาซึ่งจะให้ประโยชน์มากกว่าใช้จุดบูชาเท่านั้น


    มีประเพณีหนึ่งที่เนื่องด้วยวันเข้าพรรษาและจัดเป็นประเพณีที่สำคัญและสืบทอดกันเรื่อยมา ก็คือ ประเพณีหล่อเทียนพรรษา สำหรับให้พระภิกษุและพุทธศาสนิกชนทั่วไปได้จุดบูชาพระประธานในโบสถ์ซึ่งเทียนพรรษาสามารถอยู่ได้ตลอด 3 เดือน และเป็นกุศลทานอย่างหนึ่งในการให้ทานด้วยแสงสว่าง ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนามาเป็นงานประเพณี "ประกวดเทียนพรรษา" ของแต่ละจังหวัดโดยจัดเป็นขบวนแห่ทั้งทางบกและทางน้ำ
    การถวายเทียนเพื่อจุดตามประทีปเป็นพุทธบูชานั้น มาจากอานิสงส์การถวายเทียนเพื่อจุดเป็นพุทธบูชา ที่ปรากฏความในพระไตรปิฎก<SUP class=reference id=cite_ref-15>[16]</SUP>และในคัมภีร์อรรถกถา ว่าพระอนุรุทธะเถระ เคยถวายเทียนบูชาทำให้ได้รับอานิสงส์มากมาย รวมถึงได้เป็นผู้มีจักษุทิพย์ (ตาทิพย์) ด้วย<SUP class=reference id=cite_ref-16>[17]</SUP> ด้วยการพรรณาอานิสงส์ดังกล่าว อาจทำให้ชาวพุทธนิยมจุดประทีปเป็นพุทธบูชามานานแล้ว แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าการทำเทียนพรรษาในประเทศไทยถวายเริ่มมีมาแต่สมัยใด แต่ปรากฏความในตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ที่พรรณาการบำเพ็ญกุศลในช่วงเข้าพรรษาว่ามีการถวายเทียนพรรษาด้วย
    ในประเทศไทย การถวายเทียนเข้าพรรษาจัดเป็นพิธีใหญ่มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในสมัยรัตนโกสินทร์การถวายเทียนเข้าพรรษาถือเป็นพระราชกรณียกิจสำคัญ โดยจะเรียกว่าพุ่มเทียน<SUP class=reference id=cite_ref-17>[18]</SUP> มีการพระราชทานถวายพุ่มเทียนรวมพึงโคมเพื่อจุดบูชาตามอารามต่าง ๆ ทั้งในพระนครและหัวเมือง ซึ่งพิธีนี้ยังคงมีมาจนปัจจุบัน
    การถวายเทียนพรรษาโดยแกะสลักเป็นลวดลายต่าง ๆ นั้น มีมาแต่โบราณ เดิมเป็นประเพณีราชสำนักดังที่ปรากฏในเทียนรุ่งเทียนหลวงตามพระอารามต่าง ๆ สำหรับเทียนแกะสลักที่ปรากฏว่ามีการจัดทำประกวดกันเป็นเรื่องราวใหญ่โตในปัจจุบันนั้น พึ่งเริ่มมีเมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยนายโพธิ์ ส่งศรี ได้เริ่มทำแม่พิมพ์ปูนซีเมนต์เพื่อหล่อขี้ผึ้งเป็นทำลวดลายไทยไปประดับติดพิมพ์บนเทียนพรรษา นับเป็นการจัดทำเทียนพรรษาแกะสลักของช่างราษฏร์เป็นครั้งแรก และนายสวน คูณผล ได้ทำลวดลายนูนสลับสีต่าง ๆ เข้าประกวดจนชนะเลิศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 จึงเริ่มมีการทำเทียนพรรษาติดพิมพ์ประกวดแบบพิศดารโดยนายประดับ ก้อนแก้ว คือทำเป็นรูปพุทธประวัติติดพิมพ์จนได้รับรางวัลชนะเลิศติดต่อกันมาหลายปี จนปี พ.ศ. 2502 นายคำหมา แสงงาม ช่างแกะสลัก ได้ทำเทียนพรรษาแบบแกะสลักมาประกวดเป็นครั้งแรกจนได้รับรางวัลชนะเลิศ จากนั้นจึงได้มีการแยกประเภทการประกวดต้นเทียนเป็นสองแบบคือ ประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก จนในช่วงหลังปี พ.ศ. 2511 นายอุตสาห์ และนายสมัยแสงวิจิตร ได้เริ่มมีการจัดทำเทียนพรรษาขนาดใหญ่โต ทำเป็นหุ่นและเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของเทียนพรรษาขนาดใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบัน<SUP class=reference id=cite_ref-18>[19]</SUP>
    ในอดีต การหล่อเทียนเข้าพรรษาถือเป็นพิธีสำคัญที่ชาวพุทธจะมารวมตัวกันนำขี้ผึ้งมาหลอมรวมเป็นแท่งเทียนเพื่อถวายแก่พระสงฆ์ แต่ในปัจจุบันชาวพุทธส่วนใหญ่จะนิยมการซื้อหาเทียนพรรษาจากร้านสังฆภัณฑ์ โดยบางส่วนมีการปรับเปลี่ยนไปซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างถวายแก่พระสงฆ์แทนด้วย ซึ่งนับเป็นการปรับเปลี่ยนที่ได้ประโยชน์แก่พระสงฆ์โดยตรง เพราะปัจจุบันไม่ได้มีการนำเทียนมาจุดเพื่ออ่านหนังสืออีกแล้ว พระสงฆ์คงนำเทียนไปจุดบูชาตามอุโบสถวิหารเท่านั้น

    [แก้] ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน (ก่อนเข้าพรรษา)

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    คำถวายผ้าอาบน้ำฝน

    ผ้าอาบน้ำฝน หรือ ผ้าวัสสิกสาฏก คือผ้าเปลี่ยนสำหรับสรงน้ำฝนของพระสงฆ์ เป็นผ้าลักษณะเดียวกับผ้าสบง โดยปรกติเครื่องใช้สอยของพระภิกษุตามพุทธานุญาตที่ให้มีประจำตัวนั้น มีเพียง อัฏฐบริขาร ซึ่งได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองน้ำ และมีดโกน แต่ช่วงหน้าฝนของการจำพรรษาในสมัยก่อนนั้น พระสงฆ์ที่มีเพียงสบงผืนเดียวจะอาบน้ำฝนจำเป็นต้องเปลือยกาย ทำให้ดูไม่งามและเหมือนนักบวชนอกศาสนา นางวิสาขามหาอุบาสิกาจึงคิดถวาย "ผ้าวัสสิกสาฏก" หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ผ้าอาบน้ำฝน เพื่อให้พระสงฆ์ได้ผลัดเปลี่ยนกับผ้าสบงปกติ จนเป็นประเพณีทำบุญสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยปรากฏสาเหตุความเป็นมาของการถวายผ้าอาบน้ำฝนในพระไตรปิฎกดังนี้
    ครั้งหนึ่งสมัยพุทธกาล พระศาสดาประทับ ณ พระเชตวันมหาวิหาร นางวิสาขาได้มาฟังธรรม แล้วทูลอาราธนาพระศาสดาและหมู่สงฆ์ไปฉันที่บ้านของนางในวันรุ่งขึ้น เช้าวันนั้น เกิดฝนตกครั้งใหญ่ ตกในทวีปทั้ง 4 พระศาสดาจึงรับสั่งให้ภิกษุทั้งหลายสรงสนานกาย พระสงฆ์ทั้งหลายที่ไม่มีผ้าอาบน้ำฝนจึงออกมาสรงน้ำฝนโดยร่างเปลือยกายอยู่
    พอดีกับนางวิสาขามหาอุบสิกาสั่งให้นางทาสีไปนิมนต์ภิกษุมารับภัตตาหารที่บ้านของตน เมื่อนางทาสีไปถึงที่วัดเห็นภิกษุเปลื้องผ้าสรงสนานกาย ก็เข้าใจว่า ในอารามมีแต่พวกชีเปลือย (อาชีวกนอกพระพุทธศาสนา) ไม่มีภิกษุอยู่จึงกลับบ้าน ส่วนนางวิสาขานั้นเป็นสตรีที่ฉลาดรู้แจ้งในเหตุการณ์ทั้งปวง เมื่อถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขในวันนั้นแล้ว จึงได้โอกาสอันควรทูลขอพร 8 ประการต่อพระศาสดา
    พระศาสดาทรงอนุญาตพร 8 ประการคือ<SUP class=reference id=cite_ref-19>[20]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-20>[21]</SUP>
    [​IMG] [​IMG]
    ผ้าอาบน้ำฝนมีเพื่อใช้ผลัดกับผ้าสบงปกติ เพื่อปกปิดความเปลือยกายในเวลาสรงน้ำฝนของพระสงฆ์ (ปกติตามพระวินัย พระสงฆ์จะมีไตรจีวรได้เพียงรูปละ 1 สำรับเท่านั้น)


    1. ขอถวายผ้าวัสสิกสาฎก (ผ้าอาบน้ำ) แก่พระสงฆ์เพื่อปกปิดความเปลือยกาย
    2. ขอถวายภัตแต่พระอาคันตุกะ เนื่องจากพระอาคันตุกะไม่ชำนาญหนทาง
    3. ขอถวายคมิกภัตแก่พระผู้เตรียมตัวเดินทาง เพื่อจะได้ไม่พลัดจากหมู่เกวียน
    4. ขอถวายคิลานภัตแก่พระอาพาธ เพื่อไม่ให้อาการอาพาธกำเริบ
    5. ขอถวายภัตแก่พระผู้พยาบาลพระอาพาธ เพื่อให้ท่านนำคิลานภัตไปถวายพระอาพาธได้ตามเวลา และพระผู้พยาบาลจะได้ไม่อดอาหาร
    6. ขอถวายคิลานเภสัชแก่พระอาพาธ เพื่อให้อาการอาพาธทุเลาลง
    7. ขอถวายยาคูเป็นประจำแก่สงฆ์
    8. ขอถวายผ้าอุทกสาฎก (ผ้าอาบน้ำ) แก่ภิกษุณีสงฆ์เพื่อปกปิดความไม่งามและไม่ให้ถูกเย้ยยัน
    โดยนางวิสาขาได้ให้เหตุผลการถวายผ้าอาบน้ำฝนว่า เพื่อให้ใช้ปกปิดความเปลือยกายในเวลาสรงน้ำฝนของพระสงฆ์ที่ดูไม่งามดังกล่าว ดังนั้น นางวิสาขาจึงเป็นอุบาสิกาคนแรกที่ได้รับอนุญาตให้ถวายผ้าอาบน้ำฝน (วัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์
    ผ้าอาบน้ำฝน จึงถือเป็นบริขารพิเศษที่พระพุทธเจ้าอนุญาตให้พระสงฆ์ได้ใช้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำให้ถูกต้องตามพระวินัยปิฎก มิเช่นนั้นพระสงฆ์จะต้องอาบัตินิคสัคคิยปาจิตตีย์ คือ ต้องทำผ้ากว้างยาวให้ถูกขนาดตามพระวินัย คือ ยาว 6 คืบพระสุคต กว้าง 2 คืบครึ่ง ตามมาตราปัจจุบันคือ ยาว 4 ศอก 3 กระเบียด กว้าง 1 ศอก 1 คืบ 4 นิ้ว 1 กระเบียดเศษ ถ้าหากมีขนาดใหญ่กว่านี้ พระสงฆ์ต้องตัดให้ได้ขนาด จึงจะปลงอาบัติได้

    นอกจากนี้ พระพุทธเจ้าได้ทรงวางกรอบเวลาในการแสวงหาผ้าอาบน้ำฝนไว้ด้วย หากพระสงฆ์แสวงหาผ้าอาบน้ำฝนมาได้ภายนอกกำหนดเวลาดังกล่าว จะต้องอาบัติ โดยพระพุทธเจ้ายังได้ทรงวางกรอบเวลาในการแสวงหาผ้าอาบน้ำฝนไว้ว่า หากพระสงฆ์แสวงหาผ้าอาบน้ำฝนมาใช้ได้ภายนอกกำหนดเวลาดังกล่าว จะต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ กล่าวคือ ทรงวางกรอบเวลาหรือเขตกาลไว้ 3 เขตกาล<SUP class=reference id=cite_ref-21>[22]</SUP> คือ
    • เขตกาลที่จะแสวงหา ช่วงปลายฤดูร้อน ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 7 ถึงวันเพ็ญเดือน 8 รวมเวลา 1 เดือน
    • เขตกาลที่จะทำนุ่งห่ม ช่วงกึ่งเดือนปลายฤดูร้อน ตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันเพ็ญเดือน 8 รวมเวลาประมาณ 15 วัน
    • เขตกาลที่จะอธิษฐานใช้สอย ช่วงเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันเพ็ญเดือน 12 รวมเวลา 4 เดือน
    ด้วยกรอบพระพุทธานุญาตและกรอบเวลาตามพระวินัยดังกล่าว เมื่อถึงเวลาที่พระสงฆ์ต้องแสวงหาผ้าอาบน้ำฝน พุทธศานิกชนจึงถือโอกาสบำเพ็ญกุศลด้วยการจัดหาผ้าอาบน้ำฝนมาถวายแก่พระสงฆ์ จนเป็นประเพณีสำคัญเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษามาจนปัจจุบัน

    [แก้] ประเพณีถวายผ้าจำนำพรรษา (หลังออกพรรษา)

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    คำถวายผ้าจำนำพรรษา

    ผ้าจำนำพรรษา หรือ ผ้าวัสสาวาสิกสาฎก<SUP class=reference id=cite_ref-22>[23]</SUP> เป็นผ้าไตรจีวรที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ที่ผ่านวันปวารณาไปแล้ว หรือที่ผ่านวันปวารณาและได้กรานและอนุโมทนากฐินแล้ว ซึ่งผ้าจำนำพรรษานี้พระสงฆ์สามารถรับได้ภายในกำหนด 5 เดือน ที่เป็นเขตอานิสงส์กฐิน คือ ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4
    แต่สำหรับพระสงฆ์ที่จำพรรษาครบ 3 เดือน และผ่านวันปวารณาไปแล้ว ซึ่งไม่ได้กรานและอนุโมทนากฐิน ก็สามารถรับและใช้ผ้าจำนำพรรษาได้เช่นกัน แต่สามารถรับได้ในช่วงกำหนดเพียง 1 เดือน ในเขตจีวรกาลสำหรับผู้ไม่ได้กรานกฐินเท่านั้น
    การถวายผ้าจำนำพรรษาในช่วงดังกล่าว เพื่ออนุเคราะห์แก่พระสงฆ์ที่ต้องการจีวรมาเปลี่ยนของเก่าที่ชำรุด พุทธศาสนิกชนจึงนิยมถวายผ้าจำนำพรรษามาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ในประเทศไทยก็ปรากฏว่ามีพระราชประเพณีการถวายผ้าจำนำพรรษาแก่พระสงฆ์มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ตามความที่ปรากฏในหนังสือพระราชนิพนธ์พระราชพิธี 12 เดือน ซึ่งปัจจุบันแม้ทางราชสำนักได้งดประเพณีนี้ไปแล้ว แต่ประเพณีนี้ก็ยังคงมีอยู่สำหรับชาวบ้านทั่วไป โดยนิยมถวายเป็นผ้าไตรแก่พระสงฆ์หลังพิธีงานกฐิน แต่เป็นที่สังเกตว่าปัจจุบันจะเข้าใจผิดว่าผ้าจำนำพรรษาคือผ้าอาบน้ำฝน ซึ่งความจริงแล้วมีความเป็นมาและพระวินัยที่แตกต่างกันสิ้นเชิง<SUP class=reference id=cite_ref-23>[24]</SUP>

    [แก้] ประเพณีถวายผ้าอัจเจกจีวร (ระหว่างเข้าพรรษา)

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    คำถวายผ้าอัจเจกจีวร

    ผ้าอัจเจกจีวร แปลว่า จีวรรีบร้อน หรือผ้าด่วน<SUP class=reference id=cite_ref-24>[25]</SUP> คือผ้าจำนำพรรษาที่ถวายล่วงหน้าในช่วงเข้าพรรษา ก่อนกำหนดจีวรกาลปกติ ด้วยเหตุรีบร้อนของผู้ถวาย เช่น ผู้ถวายจะไปรบทัพหรือเจ็บไข้ไม่ไว้ใจว่าจะมีชีวิตรอดหรือไม่ชีวิต หรือเป็นบุคคลที่พึ่งเกิดศรัทธาในพระพุทธศาสนา ควรรับไว้ฉลองศรัทธา
    อัจเจกจีวรเช่นนี้ พระวินัยอนุญาตให้พระสงฆ์รับเก็บไว้ได้ แต่ต้องรับก่อนวันปวารณาไม่เกิน 10 วัน (คือตั้งแต่ขึ้น 6 ค่ำ ถึง 15 ค่ำเดือน 11) และต้องนำมาใช้ภายในช่วงจีวรกาล<SUP class=reference id=cite_ref-25>[26]</SUP>
    ผ้าอัจเจกจีวรนี้ เป็นผ้าที่มีความมุ่งหมายเดียวกับผ้าจำนำพรรษา เพียงแต่ถวายก่อนฤดูจีวรกาลด้วยวัตถุประสงค์รีบด่วนด้วยความไม่แน่ใจในชีวิต ซึ่งประเพณีนี้คงมีสืบมาแต่สมัยพุทธกาล ปัจจุบันไม่ปรากฏเป็นพิธีใหญ่ เพราะเป็นการถวายด้วยสาเหตุส่วนตัวเฉพาะรายไป ส่วนมากจะมีเจ้าภาพผู้ถวายเพียงคนเดียวและเป็นคนป่วยหนักที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันเข้าพรรษาในปฏิทินสุริยคติไทย
    อย่างไรก็ตาม บางประเทศที่นับถือพุทธศาสนาอาจกำหนดวันไม่ตรงกับของไทยในบางปี เนื่องจากประเทศเหล่านั้นอยู่ในตำแหน่งบนโลกที่ต่างไปจากประเทศไทย ทำให้วันเวลาคลาดเคลื่อนไป
    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TH width=50>ปี</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH><TH width=150>วันที่</TH></TR><TR><TH>ปีชวด</TH><TD>30 กรกฎาคม พ.ศ. 2539</TD><TD>18 กรกฎาคม พ.ศ. 2551</TD><TD>6 กรกฎาคม พ.ศ. 2563</TD></TR><TR><TH>ปีฉลู</TH><TD>20 กรกฎาคม พ.ศ. 2540</TD><TD>8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552</TD><TD>25 กรกฎาคม พ.ศ. 2564</TD></TR><TR><TH>ปีขาล</TH><TD>9 กรกฎาคม พ.ศ. 2541</TD><TD>27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553</TD><TD>14 กรกฎาคม พ.ศ. 2565</TD></TR><TR><TH>ปีเถาะ</TH><TD>28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542</TD><TD>16 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</TD><TD>2 สิงหาคม พ.ศ. 2566</TD></TR><TR><TH>ปีมะโรง</TH><TD>17 กรกฎาคม พ.ศ. 2543</TD><TD>3 สิงหาคม พ.ศ. 2555</TD><TD>21 กรกฎาคม พ.ศ. 2567</TD></TR><TR><TH>ปีมะเส็ง</TH><TD>6 กรกฎาคม พ.ศ. 2544</TD><TD>23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556</TD><TD>11 กรกฎาคม พ.ศ. 2568</TD></TR><TR><TH>ปีมะเมีย</TH><TD>25 กรกฎาคม พ.ศ. 2545</TD><TD>12 กรกฎาคม พ.ศ. 2557</TD><TD>30 มิถุนายน พ.ศ. 2569</TD></TR><TR><TH>ปีมะแม</TH><TD>14 กรกฎาคม พ.ศ. 2546</TD><TD>31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558</TD><TD>19 กรกฎาคม พ.ศ. 2570</TD></TR><TR><TH>ปีวอก</TH><TD>1 สิงหาคม พ.ศ. 2547</TD><TD>20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559</TD><TD>7 กรกฎาคม พ.ศ. 2571</TD></TR><TR><TH>ปีระกา</TH><TD>22 กรกฎาคม พ.ศ. 2548</TD><TD>9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560</TD><TD>26 มิถุนายน พ.ศ. 2572</TD></TR><TR><TH>ปีจอ</TH><TD>11 กรกฎาคม พ.ศ. 2549</TD><TD>28 กรกฎาคม พ.ศ. 2561</TD><TD>16 กรกฎาคม พ.ศ. 2573</TD></TR><TR><TH>ปีกุน</TH><TD>30 กรกฎาคม พ.ศ. 2550</TD><TD>17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562</TD><TD>5 กรกฎาคม พ.ศ. 2574</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] การประกอบพิธีทางศาสนาในช่วงพรรษากาลในประเทศไทย

    <TABLE id=links style="BORDER-RIGHT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-RIGHT: 1px; BORDER-TOP: #f8f8f8 1px solid; PADDING-LEFT: 1px; PADDING-BOTTOM: 1px; BORDER-LEFT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-TOP: 1px; BORDER-BOTTOM: #f8f8f8 1px solid; TEXT-ALIGN: left; text-valign: middle"><TBODY><TR><TD>[​IMG] ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้</TD></TR></TBODY></TABLE>
    แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรื่องของภิกษุ แต่พุทธศาสนิกชนก็ถือเป็นโอกาสดีที่จะได้ทำบุญ รักษาศีล และชำระจิตใจให้ผ่องใส โดยการจัดเตรียมสิ่งของเพื่อนำไปถวายแก่พระสงฆ์ที่จะจำพรรษา การตั้งใจรักษาศีล 5 หรือศีล 8 และตั้งใจบำเพ็ญความดี เข้าวัดฟังธรรมตลอดพรรษากาล ซึ่งไม่เฉพาะแต่ชาวบ้านทั่วไปเท่านั้น สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ให้ความสำคัญกับการเข้าพรรษาของพระสงฆ์เป็นอย่างมากเช่นกัน

    [แก้] พระราชพิธี

    [​IMG] [​IMG]
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเจิมเทียนพรรษาและเครื่องประกอบ ที่จะนำไปถวายบูชาพระปฏิมายังพระอารามหลวงในฤดูพรรษากาล


    การพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันเข้าพรรษานี้มีชื่อเรียกเป็นทางการว่า พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา<SUP class=reference id=cite_ref-26>[27]</SUP> ซึ่งเดิมก่อน พ.ศ. 2501 เรียกเพียง การพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันเข้าพรรษา<SUP class=reference id=cite_ref-27>[28]</SUP> แต่หลังจากที่ทางคณะสงฆ์มีการกำหนดให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง (ก่อนหน้าวันเข้าพรรษา 1 วัน) ในปี พ.ศ. 2501 แล้ว<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81_28-0>[29]</SUP> สำนักพระราชวังจึงได้กำหนดเพิ่มการบำเพ็ญพระราชกุศลในวันอาสฬหบูชาเพิ่มเติมขึ้นมาด้วยอีกวันหนึ่ง<SUP class=reference id=cite_ref-29>[30]</SUP> รวมเป็นสองวัน
    การพระราชพิธีนี้โดยปกติมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นองค์ประธานในการพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศล<SUP class=reference id=cite_ref-30>[31]</SUP> และบางครั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทน<SUP class=reference id=cite_ref-31>[32]</SUP> โดยสถานที่ประกอบพระราชพิธีหลักจะจัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดบวรนิเวศวิหาร และภายในพระบรมมหาราชวัง การสำคัญของพระราชพิธีคือการถวายพุ่มเทียนเครื่องบูชาแก่พระพุทธปฏิมาและพระราชาคณะ รวมทั้งการพระราชทานภัตตาหารแก่พระราชาคณะ ฐานานุกรม เปรียญ ซึ่งรับอาราธานามารับบิณฑบาตในพระบรมมหาราชวังจำนวน 150 รูป ในวันเข้าพรรษาทุกปี<SUP class=reference id=cite_ref-32>[33]</SUP> เป็นต้น ซึ่งการพระราชพิธีนี้เป็นการแสดงออกถึงพระราชศรัทธาอันแน่นแฟ้นในพระพุทธศาสนา ขององค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

    [แก้] พิธีสามัญ

    [​IMG] [​IMG]
    ประเพณีแห่เทียนพรรษา อุบลราชธานี



    เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พุทธศาสนิกชนนิยมไปทำบุญตักบาตร ถวายเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน โดยมักจะจัดเครื่องสักการะเช่น ดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟัน เป็นต้น มาถวายพระภิกษุ สามเณร หรือมีการช่วยพระทำความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกุฏิวิหารและอื่นๆ โดยนิยมไปร่วมทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรมและรักษาอุโบสถศีลกันที่วัด บางคนอาจตั้งใจงดเว้นอบายมุขต่างๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งดเสพสุรา งดฆ่าสัตว์ เป็นต้น ซึ่งพอสรุปกิจที่พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติในพรรษากาลได้ดังนี้
    1. ร่วมกิจกรรมทำเทียนพรรษาหรือหลอดไฟถวายแก่พระสงฆ์
    2. ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัย แก่ภิกษุสามเณร
    3. ร่วมทำบุญ ตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล ตลอดพรรษากาล
    4. อธิษฐานตั้งใจทำความดี หรืองดการทำชั่วอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น งดเว้นอบายมุขต่าง ๆ เป็นต้น
    [แก้] การรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา

    <TABLE id=links style="BORDER-RIGHT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-RIGHT: 1px; BORDER-TOP: #f8f8f8 1px solid; PADDING-LEFT: 1px; PADDING-BOTTOM: 1px; BORDER-LEFT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-TOP: 1px; BORDER-BOTTOM: #f8f8f8 1px solid; TEXT-ALIGN: left; text-valign: middle"><TBODY><TR><TD>[​IMG] ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการเรียกเทียนพรรษา,ผ้าจำนำพรรษาและผ้าอาบน้ำฝน

    <TABLE id=links style="BORDER-RIGHT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-RIGHT: 1px; BORDER-TOP: #f8f8f8 1px solid; PADDING-LEFT: 1px; PADDING-BOTTOM: 1px; BORDER-LEFT: #f8f8f8 1px solid; PADDING-TOP: 1px; BORDER-BOTTOM: #f8f8f8 1px solid; TEXT-ALIGN: left; text-valign: middle"><TBODY><TR><TD>[​IMG] ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-1>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง วันงดดื่มสุราแหงชาติ, เล่ม ๑๒๕, ตอนพิเศษ ๑๔๒ ง, ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๑, หน้า ๑๓ <LI id=cite_note-2>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, เล่ม ๑๒๖, ตอนพิเศษ ๙๕ ง, ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๖ <LI id=cite_note-3>^ โครงการรณรงค์ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. เว็บไซต์ stopdrink. เรียกข้อมูลเมื่อ 22-6-52 <LI id=cite_note-4>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ - เรื่องภิกษุหลายรูป. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [2]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-5>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ ทรงปรับอาบัติแก่พระผู้ไม่จำพรรษา. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [3]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-6>^ เทศนาเรื่องกฐิน-พระราชสุทธิญาณมงคล. เว็บไซต์จรัญ jarun.org. เรียกข้อมูลเมื่อ 17-6-52 <LI id=cite_note-7>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ - การจำพรรษา 2 อย่าง. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [4]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-8>^ ศ.พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ, ปุริมพรรษา, อ้างอิงจากหน้าเว็บเมื่อ 2 กรกฎาคม 2549 <LI id=cite_note-9>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [5]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-10>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ หัวข้อประจำขันธกะ. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [6]. เข้าถึงเมื่อ 17-6-52 <LI id=cite_note-11>^ กำหนดการสอบธรรมสนามหลวง. สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง. เรียกข้อมูลเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-12>^ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดทำเนื่องในโอกาส ๗๐๐ ปี ลายสือไทย กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.๒๕๒๗ <LI id=cite_note-13>^ คุณค่าและภาษาในศิลาจารึกหลักที่ ๑ - อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์ . มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. เรียกข้อมูลเมื่อ 17-6-52 <LI id=cite_note-14>^ คำบรรยายรายวิชาแนวคิดทางจริยศาสตร์ในสังคมไทย (SHES 531 History of Ethical Thoughts in Thai Society). ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. เรียกข้อมูลเมื่อ 4-5-52 <LI id=cite_note-15>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ อนุรุทธเถราปทานที่ ๖. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [7]. เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-16>^ อรรถกถาพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน อนุรุทธเถราปทาน. อรรถกถาพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [8]. เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-17>^ ราชกิจจานุเบกษา. การพระราชกุศลถวายพุ่มเข้าพรรษา. เล่มที่ ๑๙ ตอนที่ ๑๗ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๕ หน้าที่ ๓๓๑ <LI id=cite_note-18>^ สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. การหล่อเทียนพรรษา. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2547 <LI id=cite_note-19>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ เรื่องนางวิสาขา มิคารมาตา-พระพุทธานุญาตผ้าวัสสิกสาฎก. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [9]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-20>^ อรรถกถาพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ สุรุจิชาดก. อรรถกถาพระไตรปิฏก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [10]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52 <LI id=cite_note-21>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๔-ทรงบัญญัติสิกขาบท. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [11]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-22>^ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [12]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-23>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๘ ทรงอนุญาตอัจเจกจีวร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [13]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-24>^ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [14]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-25>^ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ สิกขาบทที่ ๒ แห่งปัตตวรรค นิสสัคคิยปาจิตตีย์. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [15]. เข้าถึงเมื่อ 1-7-52 <LI id=cite_note-26>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๑/๒๕๔๕ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๕, เล่ม ๑๑๙, ตอน พิเศษ ๖๗ ง , ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕, หน้า ๓๐ <LI id=cite_note-27>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ พระราชกุศลเข้าวรรษา ๒๔๙๙, เล่ม ๗๓, ตอน ๕๗, ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๙, หน้า ๒๐๖๗ <LI id=cite_note-.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.AC.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.86.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.81-28>^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักสังฆนายก เรื่อง กำหนดพิธีอาสาฬหบูชา, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๗, ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๒๑๖๙ <LI id=cite_note-29>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๒/๒๕๐๑ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศการเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๐๑, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๘ ง ฉบับพิเศษ, ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๑ <LI id=cite_note-30>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๔/๒๕๓๙ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๓๙, เล่ม ๑๑๔, ตอน พิเศษ ๖๑ ง, ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๘๙ <LI id=cite_note-31>^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๗/๑/๒๕๕๑ หมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับเปลี่ยนแปลง), เล่ม ๑๒๕, ตอน ๑๔ ข , ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑, หน้า ๑๙๓
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, หมายกำหนดการ ที่ ๑๓/๒๕๔๖ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๖, เล่ม ๑๒๐, ตอน พิเศษ ๗๖ ง, ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, หน้า ๗๘
    • ปัณณวัฒน์. ปฏิทิน 100 ปี พ.ศ. 2468-2568 คัมภีร์พยากรณ์คู่บ้าน. กรุงเทพฯ : ไพลิน, 2550. ISBN 974-455-535-1
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    [​IMG]

    คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
    วันเข้าพรรษา

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND-COLOR: #ffd068" colSpan=3>


    วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    </TH></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญปกติ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">กลุ่มวันธรรมสวนะ-
    วันธรรมสวนะ (วันพระ, วันอุโบสถศีล) (!) • วันโกน (วันก่อนวันพระหนึ่งวัน)
    ประเภทวันธรรมสวนะ-
    วันอัฏฐมี (วันพระธรรมดา 8 ค่ำ) (!) • วันจาตุทสี (วันพระใหญ่ 14 ค่ำ) (!) • วันปัณรสี (วันพระใหญ่ 15 ค่ำ) (!)

    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=9>[​IMG]</TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญพิเศษ
    (วันเวียนเทียน)
    </TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันมาฆบูชา (⁂) • วันวิสาขบูชา (⁂) • วันอาสาฬหบูชา (⁂) • อัฏฐมีบูชา (!)

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญพิเศษอื่น ๆ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันเข้าพรรษา (⁂) • ออกพรรษา (!) • วันเทโวโหรณะ

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">วันสำคัญตามพระวินัย</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• วันลงอุโบสถ (วันที่พระสงฆ์ประชุมแสดงปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือน) (!)
    วันเข้าพรรษา (⁂) • วันมหาปวารณา (วันออกพรรษา) • วันทอดกฐิน (ภายใน 1 เดือนหลังออกพรรษา) (*)

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap; BACKGROUND-COLOR: #ffd068">ดูเพิ่ม</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">• การทำบุญตักบาตร (กิจกรรมที่นิยมปฏิบัติในวันสำคัญทางพุทธศาสนา) • การเวียนเทียน

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR><TH class=navbox-abovebelow style="BACKGROUND-COLOR: #ffd068" colSpan=3>(⁂) วันหยุดราชการ, (!) เคยเป็นวันหยุดราชการ, (*) ไม่มีกำหนดวันแน่นอนตามปฏิทินจันทรคติ</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>วันเข้าพรรษา เป็นบทความเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ วันเข้าพรรษา ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:พระพุทธศาสนา</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 1415/1000000Post-expand include size: 49869/2048000 bytesTemplate argument size: 18666/2048000 bytesExpensive parser function count: 1/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:40830-0!1!0!!th!2 and timestamp 20090704201042 -->
    ดึงข้อมูลจาก "วันเข้าพรรษา - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย | วันสำคัญทางศาสนาที่นับโดยปฏิทินจันทรคติ | วันสำคัญทางพุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | บทความเกี่ยวกับ พุทธศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่เนื้อหาบางส่วนรอเพิ่มเติม
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เก๋งซิงไล่ซัลโว-สาวถูกลูกหลงตายอนาถ

    ขับปิกอัพ ผ่านพอดี เข้าเต็มหัว



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    เคราะห์ร้าย - รอยกระสุนบริเวณหน้า ต่างรถปิกอัพ ที่นางจิตภาดา อิวาฮาชิ (ภาพเล็ก) ขับพาสามีและลูกผ่านมาทางถนนปทุมฯ-รังสิต อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ถูกกระสุนลูกหลงของรถเก๋งซิ่งไล่ยิงกัน จนเสียชีวิตคารถ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>สาวส่งนมโรงเรียนโชคร้าย ขับรถอยู่ดีๆ ถูกลูกปืนมรณะยิงทะลุกระจกเข้าศีรษะเสียชีวิตต่อหน้าสามีและลูก สามีสุดช็อกเผยพาลูกกับแม่ยายไปงานบวช ขากลับใช้เส้นทางถนนปทุม-รังสิต โดยเมียเป็นคนขับ จู่ๆ ได้ยินเสียงปืนและเมียก็ฟุบหน้ากับพวงมาลัย เลือดท่วมตัว รีบพาส่งร.พ.แต่สิ้นใจระหว่างทาง พยานแฉลูกปืนปลิวจากรถเก๋ง 2 คันที่ขับไล่ยิงกันมา ตร.ควานหาดูวงจรปิดละแวกใกล้เคียง หาเบาะแสรถซิ่งมหาภัย

    เมื่อเวลา 16.00 น. วันที่ 4 ก.ค. พ.ต.ท.สมาน ลอมเศรษฐี สารวัตรเวรสอบสวน สภ.ประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ ได้รับแจ้งเหตุมีคนถูกยิงที่หน้าหมู่บ้านรัตนโกสินทร์สองร้อยปี ถนนปทุม-รังสิต ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี จึงนำกำลังเดินทางไปตรวจสอบพบรถปิกอัพยี่ห้อนิสสัน รุ่นนาวาร่า แบบ 4 ประตู สีบรอนซ์ทอง หมายเลขทะเบียน ชอ 2116 กทม. จอดอยู่ริมถนน บริเวณกระจกประตูคนขับมีรอยถูกกระสุนยิงทะลุ 1 นัด ภายในพบกองเลือดจำนวนมากที่พวงมาลัยรถ และเบาะนั่ง ทราบว่าผู้บาดเจ็บนำส่งร.พ.ปทุมเวชไปก่อนแล้ว เจ้าหน้าที่จึงตามไปตรวจสอบพบว่าผู้บาดเจ็บเสียชีวิตแล้ว ทราบชื่อคือนางจิตภาดา อิวาฮาชิ อายุ 37 ปี พักอยู่บ้านเลขที่ 3/2207 ซ.แยกหมู่ 6 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กทม. ถูกอาวุธปืนไม่ทราบชนิดเข้าที่ศีรษะด้านขวาทะลุด้านซ้าย 1 นัด

    นายพงษ์ศักดิ์ อิวาฮาชิ อายุ 43 ปี สามีผู้ตายและอยู่ในเหตุการณ์ให้การว่าตนและภรรยามีอาชีพส่งนมให้กับโรงเรียน ก่อนเกิดเหตุพานางวันดี นิสัยดี แม่ยาย และเด็กหญิงปอย ลูกสาววัย 2 ขวบ เดินทางไปร่วมงานบวชญาติที่อ.ลาด หลุมแก้ว ในช่วงเช้าและเดินทางกลับมาในตอนบ่ายโดยภรรยาเป็นคนขับ ตนนั่งคู่ตอนหน้า ส่วนแม่ยายและลูกสาวนั่งอยู่เบาะหลัง

    "เมื่อรถวิ่งมาถึงจุดเกิดเหตุรถเคลื่อนตัวได้ช้าๆ เนื่องจากมีรถเป็นจำนวนมาก ระหว่างนั้นได้ยินเสียงปืนดังขึ้น 1 นัด กระจกรถตรงประตูแตกเป็นรู ส่วนภรรยาก็ฟุบลงกับพวงมาลัยรถ ผมประคองรถเข้าข้างทางและเห็นว่าภรรยามีเลือดออกจำนวนมากที่ศีรษะ จึงออกมาขอความช่วยเหลือกระทั่งมีรถช่วยนำส่งโรงพยาบาล แต่ภรรยาก็สิ้นใจระหว่างทาง" นายพงษ์ศักดิ์ ให้การด้วยใบหน้าเศร้าหมอง

    ด้านตำรวจสอบปากคำพยานทราบว่าช่วงเกิดเหตุมีรถเก๋ง 2 คันขับไล่ตามกันมาและใช้อาวุธปืนตอบโต้กัน ก่อนแล่นผ่านรถของนางจิตภาดา คาดว่ากระสุนที่รถทั้ง 2 คันยิงสู้กันคงพลาดมาถูกนางจิตภาดา จนเสียชีวิต เบื้องต้นตำรวจประสานหาภาพจากกล้องวงจรปิดตามร้านค้า และจุดตรวจจราจรใกล้เคียง เพื่อหาเบาะแสรถซิ่งทั้ง 2 คัน









    ---------------------------------------------------------------

    ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวด้วยครับ

    ผมขอนำมาเป็นอุทาหรณ์

    ตัวเราเอง ไม่รู้ว่าจะตายเมื่อไหร่ ดังนั้น ขอให้ท่านผู้อ่านทุกๆท่าน ทำแต่ความดีกันให้มากๆ ง่ายที่สุดก็คือ ศีล 5

    ศีล 5 ช่วยทุกๆท่านได้ครับ

    แต่สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และ คณะพระวังหน้า ไว้วันประชุมชมรมรักษ์พระวังหน้า ผมจะเล่าให้ฟังเรื่องของศีล 5 ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม..... ได้เคยตรัสไว้กับ..... ครับ


    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

แชร์หน้านี้

Loading...